จักรพรรดิฮาดริอานุส

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จักรพรรดิฮาดริอานุส
จักรพรรดิ แห่ง จักรวรรดิโรมัน
Bust Hadrian Musei Capitolini MC817.jpg

รูปแกะสลักหินอ่อนครึ่งตัวของจักรพรรดิฮาดริอานุส
พระนามเต็ม ปูบลิอุส เอลิอุส ฮาดริอานุส
เกิด-ครองราชย์ซีซาร์ ปูบลิอุส เอลิอุส ทราเอียนุส ฮาดริอานุส เอากัสตุส
ครองราชย์
ราชวงศ์ เนอร์วัน-อันโตเนียน
สมัย 10 สิงหาคม ค.ศ. 11710 กรกฎาคม ค.ศ. 138
รัชกาลก่อนหน้า จักรพรรดิทราจัน
รัชกาลถัดไป จักรพรรดิอันโตนีนุส ปิอุส
บทบาท/งาน กำแพงฮาดริอานุส
ข้อมูลส่วนพระองค์
เกิด 24 มกราคม ค.ศ. 76, กรุงโรม
หรือ อิตาลิคาในสเปน
เสียชีวิต 10 กรกฎาคม ค.ศ. 138, Baiae
บิดา ปูบลิอุส เอลิอุส ฮาดริอานุส อาเฟอร์
มารดา โดมีเตีย เปาลีนา
ภรรยา วิเบีย ซาบินา
บุตร/ธิดา ลูกิอุส เอลิอุส
จักรพรรดิอันโตนีนุส ปิอุส
หมวดหมู่: จักรพรรดิโรมัน
จักรพรรดิโรมันตะวันตก - จักรพรรดิไบแซนไทน์

จักรพรรดิฮาดริอานุส หรือ ปูบลิอุส เอลิอุส ฮาดริอานุส (อังกฤษ: Hadrian; ชื่อเต็ม: Publius Aelius Hadrianus[1]) (24 มกราคม ค.ศ. 7610 กรกฎาคม ค.ศ. 138) ฮาดริอานุสเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันของราชวงศ์เนอร์วัน-อันโตเนียนระหว่างวันที่ 10 สิงหาคม ค.ศ. 117 ถึงวันที่ 10 กรกฎาคม ค.ศ. 138 พระนามเมื่อเป็นจักรพรรดิคือ “Imperator Caesar Divi Traiani filius Traianus Hadrianus Augustus” และ “Divus Hadrianus” หลังจากได้รับการแต่งตั้งให้เป็นเทพ ฮาดริอานุสเป็นจักรพรรดิองค์ที่สามในบรรดา “จักรพรรดิโรมันผู้ทรงคุณธรรมห้าพระองค์” (Five Good Emperors) หรือองค์ที่สองของข้อเสนอของราชวงศ์อัลปิโอ-เอเลียนเมื่อไม่นานมานี้ นอกจากนั้นก็ยังทรงเป็นนักปรัชญาลัทธิสโตอิก (Stoicism) และ ลัทธิเอพิคิวเรียน (Epicureanism) ฮาดริอานุสมาจากตระกูลเอลิอุส (Aelius) ซึ่งเป็นตระกูลโรมันโบราณ[2]

อ้างอิง[แก้]

  1. Inscription in Athens, year 112 AD: CIL III, 550 = InscrAtt 3 = IG II, 3286 = Dessau 308 = IDRE 2, 365: P(ublio) Aelio P(ubli) f(ilio) Serg(ia) Hadriano / co(n)s(uli) VIIviro epulonum sodali Augustali leg(ato) pro pr(aetore) Imp(eratoris) Nervae Traiani / Caesaris Aug(usti) Germanici Dacici Pannoniae inferioris praetori eodemque / tempore leg(ato) leg(ionis) I Minerviae P(iae) F(idelis) bello Dacico item trib(uno) pleb(is) quaestori Imperatoris / Traiani et comiti expeditionis Dacicae donis militaribus ab eo donato bis trib(uno) leg(ionis) II / Adiutricis P(iae) F(idelis) item legionis V Macedonicae item legionis XXII Primigeniae P(iae) F(idelis) seviro / turmae eq(uitum) R(omanorum) praef(ecto) feriarum Latinarum Xviro s(tlitibus) i(udicandis) //...(text in greek)
  2. Alicia M. Canto, «Saeculum Aelium, saeculum Hispanum: Promoción y poder de los hispanos en Roma», en: Hispania. El Legado de Roma. En el año de Trajano, Madrid-Zaragoza, Ministerio de Cultura, 1998, págs. 209-224, y Madrid-Mérida, 1999, 234-251 esta edición ahora en Academia.edu y, con más detalle, en «La dinastía Ulpio-Aelia (96-192 d. C.): ni tan 'Buenos', ni tan 'Adoptivos' ni tan 'Antoninos'», Gerión 21.1, 2003, pp. 263-305 (http://www.ucm.es/BUCM/revistas/ghi/02130181/articulos/GERI0303120305A.PDF); see later http://www.fondazionecanussio.org/palaestra/blazquez.pdf, p.13 (2005) or http://dialnet.unirioja.es/servlet/articulo?codigo=2251672 (2006)

ข้อมูลเพิ่มเติม[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ จักรพรรดิฮาดริอานุส