ปาร์เมนีแดส
หน้าตา
ปาร์เมนีแดส | |
---|---|
เกิด | ป. 515 ปีก่อนค.ศ.[2] เวเลีย, แมกนากรีเชีย |
อาชีพทางวิทยาศาสตร์ | |
มีอิทธิพลต่อ | นักปราชญ์ในโลกตะวันตก, โดยเฉพาะ ซีโน, เมลิสซุสแห่งซาโมส, เพลโต, บารุค สปิโนซา, ก็อทฟรีท วิลเฮ็ล์ม ไลบ์นิทซ์, ฟรีดริช นีทเชอ, มาร์ติน ไฮเด็กเกอร์, เอ็มมานูเอล เซเวริโน, Meinong |
ได้รับอิทธิพลจาก | พีทาโกรัส, เซนอฟะนีส, เฮราคลิตุส |
ปาร์เมนีแดส (กรีก: Παρμενίδης, Parmenídēs, [par.me.ní.dɛːs]) หรือ พาร์เมนิดีส (อังกฤษ: Parmenides) เป็นนักปรัชญาชาวกรีกเกิดที่เมืองอีเลียเมื่อ พ.ศ. 29 แต่ไม่ทราบปีที่เสียชีวิต เขาเคยศึกษาปรัชญากลุ่มพีทาโกรัส ก่อนที่จะแยกมาตั้งปรัชญาของตนเองขึ้น มีลักษณะใกล้เคียงกับปรัชญาของเซนอฟะนีส โดยแบ่งแยกความจริงเป็นสองแบบคือความจริงแท้เรียกภวันต์ เป็นสิ่งที่เป็นหนึ่งเดียว แบ่งแยกไม่ได้ ไม่เกิดไม่ดับ กับความจริงเทียมซึ่งเป็นมายาและความหลอกลวง
อ้างอิง
[แก้]- ฟื้น ดอกบัว. ปวงปรัชญากรีก. กทม. ศยาม. 2555 หน้า 65 – 70
- ↑ Sheila Dillon (2006). "Ancient Greek Portrait Sculpture: Contexts, Subjects, and Styles". Cambridge University Press.
- ↑ Curd, Patricia (2011). A Presocratics Reader. Selected Fragments and Testimonia (2nd ed.). Indianapolis/Cambridge: Hackett Publishing. pp. 53–63. ISBN 978-1603843058.
- ↑ DK fragment B 6: "χρὴ τὸ λέγειν τε νοεῖν τ᾿ ἐὸν ἔμμεναι"; cf. DK B 3 "τὸ γὰρ αὐτὸ νοεῖν ἐστίν τε καὶ εἶναι [It is the same thing that can be thought and that can be]."