ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tktoo (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Good dharma (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความ
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{กล่องข้อมูล มหาวิทยาลัย
{{กล่องข้อมูล มหาวิทยาลัย
| ภาพ = ไฟล์:Bunditpatanasilpa Institute Logo.png
| name = สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์
| image_size = 180px
| native_language =
| ชื่อ = สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์
| native_name =
| ชื่ออังกฤษ = Bunditpatanasilpa Institute
| ชื่ออังกฤษ = Bunditpatanasilpa Institute
| ชื่อย่อ = BPI
| image = [[ไฟล์:Logo-BPI.png|180px]]
| คำขวัญ =
| caption =
| established = {{วันเกิดและอายุ|2541|11|2}}<ref name="พระราชบัญญัติ การจัดการศึกษาระดับปริญญาตรีในสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ พ.ศ. ๒๕๔๑">[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2541/A/079/13.PDF พระราชบัญญัติ การจัดการศึกษาระดับปริญญาตรีในสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ พ.ศ. ๒๕๔๑], ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๑๕ ตอนที่ ๗๙ ก หน้า ๑๓ ๒ พฤศจิกายน ๒๕๔๑</ref>
| ที่ตั้ง = ถนนราชินี แขวงพระบรมมหาราชวัง [[เขตพระนคร]] [[กรุงเทพฯ]] 10200
| ประเภท = [[มหาวิทยาลัยรัฐ|สถาบันอุดมศึกษาของรัฐ]]
| abbr=
| establish_date = [[พ.ศ. 2541]]
| founder =
| type = [[มหาวิทยาลัยรัฐ|รัฐ]]
| group =
| head_label = นายกสภาฯ
| head_label = นายกสภาฯ
| head = [[วิษณุ เครืองาม|ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร.วิษณุ เครืองาม]]<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2559/E/224/7.PDF ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งนายกสภาสถาบันและกรรมการสภาสถาบันผู้ทรงคุณวุฒิของสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์], ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๓ ตอนพิเศษ ๒๒๔ ง หน้า ๗ ๕ ตุลาคม ๒๕๕๙</ref>
| head = [[วิษณุ เครืองาม|ศ.(กิตติคุณ) ดร.วิษณุ เครืองาม]]
| ตำแหน่งหัวหน้า = อธิการบดี
| ตำแหน่งหัวหน้า = อธิการบดี
| อธิการบดี = อ.นิภา โสภาสัมฤทธิ์<ref>http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2560/E/220/22.PDF</ref>
| อธิการบดี = [[นิภา โสภาสัมฤทธิ์]]<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2560/E/220/22.PDF ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งอธิการบดีสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์], ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๒๒๐ ง หน้า ๒๒ ๖ กันยายน ๒๕๖๐</ref>
| motto =
| students =
| colours = {{แถบสี|Green}} [[สีเขียว]]
| song =
| tree =
| เพลง =
| ต้นไม้ =
| campus =
| branch =
| campus =
| ที่ตั้ง = '''สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์''' ถนนราชินี แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร 10200
| website = [http://www.bpi.ac.th/ www.bpi.ac.th]

| footnote =
'''สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ สำนักงานอธิการบดี''' เลขที่ 119/19 หมู่ 3 ตำบลศาลายา อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม 73170
| มาสคอต =
| เครือข่าย =
| เว็บไซต์ = [http://www.bpi.ac.th/ www.bpi.ac.th]
| facebook = [https://www.facebook.com/สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์-702529716568735/ www.facebook.com/สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์-702529716568735]
| logo = [[ไฟล์:Logo88.png|260px]]
| logo = [[ไฟล์:Logo88.png|260px]]
}}
|colours={{color box|green}} สีเขียว}}

'''สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์''' เป็นหน่วยงานในสังกัด[[กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)|กระทรวงวัฒนธรรม]] โดย[[สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี]]เป็นผู้พระราชทานนามสถาบัน ซึ่งหมายถึง สถาบันผลิตบัณฑิตทางศิลปะแห่งความเจริญ โดยมีหน้าที่จัดการศึกษาระดับปริญญาตรีทางด้านช่างศิลป์ นาฏศิลป์ ดุริยางคศิลป์ และคีตศิลป์ ทั้งไทยและสากล รวมถึงศิลปวัฒนธรรมด้วย <ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2541/A/078/22.PDF พระราชกฤษฎีกาแบ่งส่วนราชการกรมศิลปากร กระทรวงศึกษาธิการ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๑]</ref>
'''สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์''' ({{lang-en|Bunditpatanasilpa Institute}}; [[อักษรย่อ|ชื่อย่อ]]: BPI) เป็นหน่วยงานในสังกัด[[กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)|กระทรวงวัฒนธรรม]] โดย[[สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี]]เป็นผู้พระราชทานนามสถาบัน ซึ่งหมายถึง "สถาบันผลิตบัณฑิตทางศิลปะแห่งความเจริญ" โดยมีหน้าที่จัดการศึกษาระดับปริญญาตรีทางด้านช่างศิลป์ นาฏศิลป์ ดุริยางคศิลป์ และคีตศิลป์ ทั้งไทยและสากล รวมถึงศิลปวัฒนธรรม<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2541/A/078/22.PDF พระราชกฤษฎีกา แบ่งส่วนราชการกรมศิลปากร กระทรวงศึกษาธิการ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๑], ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๑๕ ตอนที่ ๗๕ ก หน้า ๒๒ ๓๐ ตุลาคม ๒๕๔๑</ref>


== ประวัติ ==
== ประวัติ ==
นาม "บัณฑิตพัฒนศิลป์" เป็นนามที่[[สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี]] องค์อุปถัมภ์มรดกศิลปวัฒนธรรมไทย โปรดเกล้าฯ พระราชทานเมื่อวันที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2540 ซึ่งหมายถึง "สถาบันผลิตบัณฑิตทางศิลปะแห่งความเจริญ" เป็นการยกระดับการศึกษาด้านดุริยางคศิลป์และช่างศิลป์ เพื่อนำศิลปะมาพัฒนาตนเอง สังคม และประเทศชาติ
สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ เป็นสถานศึกษาเฉพาะทางในด้านนาฏดุริยางค์ และช่างศิลป ก่อตั้งขึ้นมาเมื่อ [[พ.ศ. 2541]]<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2541/A/078/22.PDF พระราชกฤษฎีกาแบ่งส่วนราชการกรมศิลปากร กระทรวงศึกษาธิการ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๑ (กำหนดให้สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์เป็นส่วนราชการในกรมศิลปากร และกำหนดอำนาจหน้าที่ของสถาบันนาฏดุริยางคศิลป์ สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ และสถาบันศิลปกรรมเสียใหม่)]ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 115 ตอนที่ 78 ก วันที่ 30 ตุลาคม 2541</ref> ในสังกัด[[กรมศิลปากร]] เพื่อดูแลด้านศิลปวัฒนธรรมของประเทศ โดยแบ่งออกเป็น
:* สถานศึกษาทางด้านนาฏดุริยางค์ ได้แก่ โรงเรียนศิลปากร แผนกนาฏดุริยางค์ ซึ่งได้พัฒนาขึ้นเป็น โรงเรียนสังคีตศิลป์ โรงเรียนนาฏศิลป และ[[วิทยาลัยนาฏศิลป์]] ในปัจจุบัน
:* สถานศึกษาทางด้านช่างศิลป ได้แก่ โรงเรียนศิลปศึกษา และได้รับการยกฐานะขึ้นเป็น[[วิทยาลัยช่างศิลป]]
ต่อมา [[พ.ศ. 2545]] จึงมีการจัดตั้ง "สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์" ขึ้นเพื่อทำหน้าที่ในการจัดการศึกษาทางด้านศิลปและวัฒนธรรมโดยตรง ในสังกัดกรมศิลปากร และปัจจุบันแยกออกมาเป็นหน่วยงานที่เทียบเท่ากรมในสังกัดกระทรวงวัฒนธรรม<ref>[http://www.center.bpi.ac.th/hitory.htm ประวัติสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์]</ref> และในปี พ.ศ. 2550 ได้รับการจัดตั้งเป็นสถาบันอุดมศึกษานิติบุคคล<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2550/A/032/1.PDF พระราชบัญญัติสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ พ.ศ. ๒๕๕๐]ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 124 ตอนที่ 32ก วันที่ 9 กรกฎาคม 2550</ref>
[[ไฟล์:พระราชทานปริญญาบัตรพัฒนศิลป์.jpg|thumb|[[พิธีพระราชทานปริญญาบัตรในประเทศไทย|พิธีพระราชทานปริญญาบัตร]]แก่ผู้สำเร็จการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2552]]


สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ เดิมเป็นสถาบัน[[อุดมศึกษา]]ในสังกัด[[กรมศิลปากร]] [[กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)|กระทรวงศึกษาธิการ]] (และต่อมาได้โอนมาสังกัด [[กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)|กระทรวงวัฒนธรรม]]) ได้รับการสถาปนาขึ้นตามพระราชบัญญัติการจัดการศึกษาระดับปริญญาตรีในสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ พ.ศ. 2541<ref name="พระราชบัญญัติ การจัดการศึกษาระดับปริญญาตรีในสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ พ.ศ. ๒๕๔๑" /> โดยมีบทบาทหน้าที่ในการจัดการศึกษาระดับปริญญาตรีด้านนาฏศิลป์ ดุริยางคศิลป์ คีตศิลป์ และช่างศิลป์ทั้งไทยและสากล ในการดำเนินการจัดตั้งสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์นั้นได้เริ่มตั้งแต่ พ.ศ. 2541 โดยกรมศิลปากร ได้พยายามผลักดันเรื่องการยกระดับการศึกษาวิชาชีพพิเศษด้านนี้ขึ้น จนกระทั่งเมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2541 มีการประกาศจัดตั้งสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ในราชกิจจานุเบกษา และมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2541 เป็นต้นมา โดยให้สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ เป็นสถาบันอุดมศึกษาในสังกัดกรมศิลปากร ตามพระราชบัญญัติการจัดการศึกษาระดับปริญญาตรีในสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ พ.ศ. 2541 อันเป็นการยกระดับการศึกษาวิชาเฉพาะด้านศิลปวัฒนธรรมให้สูงขึ้นถึงระดับปริญญา โดยเปิดดำเนินการสอนครั้งแรกใน 3 คณะวิชา คือ คณะศิลปวิจิตร คณะศิลปนาฏดุริยางค์ และคณะศิลปศึกษา ตั้งแต่วันที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2542 เป็นหลักสูตรปริญญาตรี (ต่อเนื่อง 2 ปี) สำหรับผู้ที่สำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรนาฏศิลป์ชั้นสูง (ปนส.) จาก[[วิทยาลัยนาฏศิลป]]ทุกแห่ง และผู้ที่สำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรศิลปกรรมวิชาชีพชั้นสูง (ศ.ปวส.) จาก[[วิทยาลัยช่างศิลป]]ทุกแห่ง
== การพระราชทานปริญญาบัตร ==
ผู้ที่สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา จากสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ จะได้เข้ารับ[[พิธีพระราชทานปริญญาบัตรในประเทศไทย|พระราชทานปริญญาบัตร]]จากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ณ [[โรงละครแห่งชาติ]] [[กรุงเทพมหานคร]]


ในปีการศึกษา 2547 ได้ขยายการผลิตบัณฑิต โดยเปิดสอนหลักสูตรปริญญาตรี (4 ปี) ในคณะศิลปวิจิตรและคณะศิลปนาฏดุริยางค์ เปิดหลักสูตรปริญญาตรี (5 ปี) ในคณะศิลปศึกษา และเปิดห้องเรียนเครือข่ายคณะศิลปศึกษาในวิทยาลัยนาฏศิลปทุกแห่งในภูมิภาค ในปีการศึกษา 2548 คณะศิลปวิจิตรได้ขยายการผลิตบัณฑิต และเปิดห้องเรียนเครือข่ายในวิทยาลัยช่างศิลปสุพรรณบุรี และปีการศึกษา 2554 เปิดห้องเรียนเครือข่ายเพิ่มขึ้นที่วิทยาลัยช่างศิลป และในปีการศึกษา 2550 คณะศิลปนาฏดุริยางค์ ได้ขยายการผลิตบัณฑิตและห้องเรียนเครือข่ายใน[[วิทยาลัยนาฏศิลปกาฬสินธุ์ สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์|วิทยาลัยนาฏศิลปกาฬสินธุ์]] และวิทยาลัยนาฏศิลปร้อยเอ็ด
== สัญลักษณ์ประจำสถาบัน ==

* ตราประจำสถาบัน ได้แก่ [[พระพิฆเณศวร์]]ประทับนั่งในกรอบวงกลม ด้านบนมีลวดลายไทยยกสูง ด้านล่างกรอบเป็นแถบริบบิ้น ภายในมีชื่อ สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ <ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2543/E/131/25.PDF ข้อบังคับสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ว่าด้วยเครื่องหมายสถาบัน เครื่องแบบ เครื่องหมาย และเครื่องแต่งกายนักศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๓]</ref>
ปัจจุบัน สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ เป็นสถานศึกษาในสังกัดกระทรวงวัฒนธรรม ดำเนินการตามพระราชบัญญัติสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ พ.ศ. 2550 ซึ่งประกาศใน[[ราชกิจจานุเบกษา]] เล่ม 124 ตอนที่ 32 วันที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2550 โดยมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2550<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2550/A/032/1.PDF พระราชบัญญัติ สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ พ.ศ. ๒๕๕๐], ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๔ ตอนที่ ๓๒ ก หน้า ๑ ๙ กรกฎาคม ๒๕๕๐</ref> ส่งผลให้สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์เปลี่ยนสถานะเป็นนิติบุคคล สามารถจัดการเรียนการสอนได้ตั้งแต่ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานวิชาชีพเฉพาะถึงระดับปริญญาเอก และมีอำนาจหน้าที่ตามที่ระบุในวัตถุประสงค์ของสถาบัน มาตรา 8 แห่งพระราชบัญญัติสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ พ.ศ. 2550 ที่ว่า "การศึกษาและส่งเสริมวิชาการ ตั้งแต่ระดับพื้นฐานวิชาชีพ ถึงวิชาชีพชั้นสูงด้านนาฏศิลป์ ดุริยางคศิลป์ คีตศิลป์ และทัศนศิลป์ทั้งไทยและสากล รวมทั้งศิลปวัฒนธรรมระดับท้องถิ่นและระดับชาติ ทำการสอนการแสดง การวิจัย และให้บริการทางวิชาการ ตลอดจนอนุรักษ์ สืบสาน สร้างสรรค์ ส่งเสริม ทำนุบำรุง และเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมอันเป็นเอกลักษณ์ของชาติ และศิลปวัฒนธรรมที่หลากหลายของชุมชนในท้องถิ่น" ดังนั้น สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ จึงมีภารกิจสำคัญในการจัดการเรียนการสอนทั้งในหลักสูตรปริญญาตรี (ต่อเนื่อง) ปริญญาตรี (4 ปี) และปริญญาตรี (5 ปี) ในคณะวิชา ในห้องเรียนเครือข่ายภูมิภาค และการจัดการศึกษาระดับพื้นฐานวิชาชีพเฉพาะด้านและระดับต่ำกว่าปริญญาตรีในวิทยาลัยนาฏศิลปและวิทยาลัยช่างศิลปรวม 15 แห่งด้วย โดยมีส่วนราชการที่จัดการศึกษาในสังกัดจำนวน 18 แห่ง ตามกฎกระทรวงจัดตั้งส่วนราชการในสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ กระทรวงวัฒนธรรม พ.ศ. 2551 วันที่ 11 เมษายน พ.ศ. 2551<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2551/A/059/1.PDF กฎกระทรวง จัดตั้งส่วนราชการในสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ กระทรวงวัฒนธรรม พ.ศ. ๒๕๕๑], ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ ๑๒๕ ตอนที่ ๕๙ ก หน้า ๑ ๒๓ เมษายน ๒๕๕๑</ref>
* สีประจำสถาบัน ได้แก่ [[สีเขียว]]

ต่อมา สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ได้มีนโยบายขยายโอกาสให้แก่บัณฑิตจากสถาบันฯ และสถาบันอื่นที่จะเลือกศึกษาต่อในระดับปริญญามหาบัณฑิตเฉพาะด้านนาฏศิลป์ ดุริยางคศิลป์ คีตศิลป์ และช่างศิลป์ และพัฒนาบุคลากรของสถาบันให้มีความรู้ความเชี่ยวชาญในศาสตร์ด้านศิลปะเพิ่มมากขึ้น เพื่อที่จะได้นำความรู้ที่ได้รับจากการศึกษาต่อไปพัฒนาการจัดการศึกษาแก่หน่วยงานให้มีคุณภาพมากยิ่งขึ้น จึงได้ดำเนินการโครงการจัดตั้งบัณฑิตวิทยาลัยและเริ่มจัดทำหลักสูตรระดับปริญญาโทมาตั้งแต่ปีการศึกษา 2550 ต่อมาในปีการศึกษา 2552 การจัดหลักสูตรศิลปมหาบัณฑิต สาขานาฏศิลป์ไทย และหลักสูตรศิลปมหาบัณฑิต สาขาดุริยางคศิลป์ไทย ได้รับความเห็นชอบจากสภาสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ในการประชุมครั้งที่ 7/2552 วันที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2552 และได้รับคำรับรองจากคณะกรรมการการอุดมศึกษาว่าเป็นหลักสูตรที่สอดคล้องกับเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2548 ตามหนังสือที่ ศธ 0506(2)/2249 และในปีการศึกษา 2553 จึงได้เริ่มเปิดรับนักศึกษาระดับปริญญาโท 2 สาขาวิชา คือ สาขานาฏศิลป์ไทยและสาขาดุริยางคศิลป์ไทย

== สัญลักษณ์ ==
"สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์" เป็นนามพระราชทานที่[[สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี]] พระราชทานแก่สถาบัน ซึ่งหมายถึง "สถาบันผลิตบัณฑิตทางศิลปะแห่งความเจริญ" เป็นการยกระดับการศึกษาด้านดุริยางคศิลป์และช่างศิลป์ เพื่อนำศิลปะมาพัฒนาตนเอง สังคม และประเทศไทย เครื่องหมายของสถาบันฯ เป็นรูป[[พระพิฆเนศ]]ประทับนั่งในลักษณะเฉียงเล็กน้อยในกรอบวงกลม ด้านบนมีลวดลายไทยยกสูง ด้านล่างกรอบเป็นแถบริบบิ้น ภายในมีชื่อ '''สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์'''

* สีประจำสถาบัน {{แถบสี|Green}} [[สีเขียว]]
* สีประจำคณะศิลปนาฏดุริยางค์ {{แถบสี|Orange}} [[สีส้ม|สีแสด]]
* สีประจำคณะศิลปศึกษา {{แถบสี|Blue}} [[สีน้ำเงิน|สีฟ้า]]
* สีประจำคณะศิลปวิจิตร {{แถบสี|Pink}} [[สีชมพู]]

ความหมายของตราประจำสถาบัน [[พระพิฆเนศ]]เป็นเทพเจ้าของอินเดีย นับถือกันว่าเป็นเทพเจ้าแห่งศิลปวิทยาการทั้งปวง ซึ่งหมายรวมถึงความเป็นเจ้าแห่งสติปัญญา ความรู้ ความสามารถ ความกล้าหาญ ตลอดจนเป็นผู้พิทักษ์ไว้ซึ่งความยุติธรรม นอกจากนี้ชาวฮินดูยังคงให้ความสำคัญกับพระพิฆเนศในฐานะเป็นเทพประจำความขัดข้องและเป็นผู้อำนวยความสำเร็จให้แก่กิจการต่าง ๆ อีกด้วย ดังนั้นพระพิฆเนศจึงได้นามเฉพาะว่า "วิฆเนศวร" หมายถึงผู้เป็นใหญ่ในความขัดข้องหรืออุปสรรค และ "สิทธิดา" หมายถึงผู้อำนวยความสำเร็จผล ด้วยเหตุที่พระพิฆเนศมีคุณสมบัติและความสำคัญดังกล่าว ชาวฮินดูจึงคติเชื่อกันว่าเมื่อจะประกอบพิธีกรรมในลัทธิศาสนาหรือศึกษาเล่าเรียนศิลปวิทยาการ ต้องกล่าวคำไหว้บูชาต่อพระพิฆเนศก่อน เพื่อให้ปลอดภัยรอดพ้นจากความขัดข้องหรืออุปสรรคทั้งปวง ตลอดจนอำนวยพรให้เกิดความสำเร็จลุล่วงด้วยดีในกิจการต่าง ๆ

ลักษณะของพระพิฆเนศ มีรูปกายเป็นมนุษย์ มีเศียรเป็นช้าง มีงาเดียว (บางรูปงาหักข้างขวาหรือซ้ายก็มี) เตี้ย พุงพลุ้ย หูยาน สีกายแดง (บางตำราว่าผิวเหลือง นุ่งห่มแดง ตามปกติมี 4 กร บางตำราว่ามี 6 หรือ 8) ถืองาช้าง บ่วงบาศ งาหัก และขนมโมทก (ขนมต้ม) บางตำราว่าถืออาวุธ และวัตถุแตกต่างกัน เช่น ถือชาม ขนมโมทก หม้อน้ำ ดอกบัว ผลส้ม สังข์ จักร หลาว ธนู คฑา ขวาน ลูกประคำ งู ผลทับทิม หัวผักกาด เหล็กจาร และสมุดหนังสือ เป็นต้น


== หน่วยงาน ==
== หน่วยงาน ==
==== คณะ ====
=== คณะวิชา ===
* [http://fda.bpi.ac.th/ คณะศิลปนาฏดุริยางค์]
* [[คณะศิลปวิจิตร สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์|คณะศิลปวิจิตร]]
* [http://fed.bpi.ac.th/ คณะศิลปศึกษา]
* [[คณะศิลปนาฏดุริยางค์ สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์|คณะศิลปนาฏดุริยางค์]]
* [http://ffa.bpi.ac.th/ คณะศิลปวิจิตร]
* [[คณะศิลปศึกษา สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์|คณะศิลปศึกษา]]


==== วิทยาลัยนาฏศิลป ====
=== วิทยาลัยนาฏศิลป ===
* [[วิทยาลัยนาฏศิลป]]
{{บน}}
* [[วิทยาลัยนาฏศิลป]]
* [http://cdask.bpi.ac.th/ วิทยาลัยนาฏศิลปสุโขทัย]
* [http://cdare.bpi.ac.th/ วิทยาล้ยนาฏศิลปร้อยเอ็ด]
* [[วิทยาลัยนาฏศิลปสุพรรณบุรี]][http://www.cdasp.bpi.ac.th/]
* [[วิทยาลัยนาฏศิลปอ่างทอง]][http://www.cdaat.bpi.ac.th/]
* [[วิทยาลัยนาฏศิลปกาฬสินธุ์ สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์|วิทยาลัยนาฏศิลปกาฬสินธุ์]]
* [http://cdalb.bpi.ac.th/ วิทยาลัยนาฏศิลปลพบุรี]
* [[วิทยาลัยนาฏศิลปลพบุรี ]][http://www.cdalb.bpi.ac.th/]
* [[วิทยาลัยนาฏศิลปจันทบุรี]][http://www.cdacb.bpi.ac.th/]
* [[วิทยาลัยนาฏศิลปนครราชสีมา สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์|วิทยาลัยนาฏศิลปนครราชสีมา]]
* [http://cdacb.bpi.ac.th/ วิทยาลัยนาฏศิลปจันทบุรี]
* [[วิทยาลัยนาฏศิลปสุโขทัย ]][http://www.cdask.bpi.ac.th/]
* [http://cdasp.bpi.ac.th/ วิทยาลัยนาฏศิลปสุพรรณบุรี]
{{กลาง}}
* [http://164.115.32.158/index.php/th/home-cdaat วิทยาลัยนาฏศิลปอ่างทอง]
* [[วิทยาลัยนาฏศิลปเชียงใหม่]][http://www.cdacm.bpi.ac.th/]
* [[ วิทยาลัยนาฏศิลปนครราชสีมา]]
* [http://cdapt.bpi.ac.th/ วิทยาลัยนาฏศิลปพัทลุง]
* [http://cdans.bpi.ac.th/ วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช]
* [[วิทยาลัยนาฏศิลปร้อยเอ็ด]][http://www.cdare.bpi.ac.th/]
* [[วิทยาลัยนาฏศิลปกาฬสินธุ์]]
* [http://cdacm.bpi.ac.th/index/first.html วิทยาลัยนาฏศิลปเชียงใหม่]
* [[วิทยาลัยนาฏศิลปพัทลุง]] [http://www.cdapt.bpi.ac.th/]
* [[วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช]][http://www.cdans.bpi.ac.th/]
{{ล่าง}}


==== วิทยาลัยช่างศิลป ====
=== วิทยาลัยช่างศิลป ===
* [[วิทยาลัยช่างศิลป]] [http://cfa.bpi.ac.th/]
* [[วิทยาลัยช่างศิลป]]
* [http://cfasp.bpi.ac.th/ วิทยาลัยช่างศิลปสุพรรณบุรี]
* [[วิทยาลัยช่างศิลปสุพรรณบุรี]]<ref>http://cfasp.bpi.ac.th/</ref>
* [http://cfans.bpi.ac.th/ วิทยาลัยช่างศิลปนครศรีธรรมราช]
* [[วิทยาลัยช่างศิลปนครศรีธรรมราช]]<ref>http://cfans.bpi.ac.th/</ref>


== หน่วยงานและหลักสูตร ==
== หลักสูตร ==
{| class="toccolours" width = 100%
<br clear="all"/>
{| class="toccolours" width=100%
|-
|-
! style="background: Darkred; color: white; "| หน่วยงาน
! style="background: Green; color: White; "| <center>หน่วยงาน</center>
! style="background: Darkred; color: white; "| ระดับปริญญาตรี
! style="background: Green; color: White; "| <center>ปริญญาตรี</center>
! style="background: Darkred; color: white; "| ระดับปริญญาโท
! style="background: Green; color: White; "| <center>ปริญญาโท</center>
! style="background: Darkred; color: white; "| ระดับปริญญาเอก
|-
|-
| valign = "top" | '''คณะศิลปวิจิตร'''
| valign = "top" |
| valign = "top" |
'''หลักสูตรศิลปบัณฑิต'''
'''คณะศิลปนาฏดุริยางค์'''
* สาขา[[ศิลปะไทย]]
* สาขา[[หลักสูตรออกแบบตกแต่งภายในในประเทศไทย|การออกแบบตกแต่งภายใน]]
* สาขา[[จิตรกรรม]]
* สาขา[[เครื่องเคลือบดินเผา]]
* สาขา[[ภาพพิมพ์]]
* สาขา[[ประติมากรรม]]
| valign = "top" |
| valign = "top" |
'''หลักสูตรศิลปบัณฑิต'''

* สาขาวิชานาฏศิลป์ไทย
* สาขาวิชาดนตรีไทย
* สาขาวิชาคีตศิลป์ไทย
* สาขาวิชาศิลปะดนตรีและการแสดงพื้นบ้าน
| valign = "top" |
| valign = "top" |

|-
| valign = "left" style="background: Pink " | '''คณะศิลปนาฎดุริยางค์'''
| valign = "top" style="background: Pink " |
'''หลักสูตรศิลปบัณฑิต'''
* สาขา[[นาฏศิลป์ไทย]]
* สาขา[[ดนตรีไทย]]
* สาขา[[คีตศิลป์ไทย]]
* สาขา[[ศิลปะดนตรีและการแสดงพื้นบ้าน]]
| valign = "top" style="background: Pink " |
'''หลักสูตรศิลปมหาบัณฑิต'''
'''หลักสูตรศิลปมหาบัณฑิต'''
* สาขา[[นาฏศิลป์ไทย]]
* สาขาวิชานาฏศิลป์ไทย
* สาขาวิชาดุริยางคศิลป์ไทย
* สาขา[[ดุริยงคศิลป์ไทย]]
| valign = "top" style="background: Pink " |

|-
|-
| valign = "left" | '''คณะศิลปศึกษา'''
| valign = "top" |
'''คณะศิลปศึกษา'''
| valign = "top" |
| valign = "top" |
'''หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต (ศษ.บ.)'''
'''หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต''' (5 ปี)
* สาขา[[ดนตรีคีตศิลป์ไทยศึกษา]]
* สาขาวิชานาฏศิลป์ไทยศึกษา
* สาขา[[ดนตรีคีตศิลป์สากลศึกษา]]
* สาขาวิชานาฏศิลป์สากลศึกษา
* สาขา[[นาฏศิลป์ไทยศึกษา]]
* สาขาวิชาดนตรีคีตศิลป์ไทยศึกษา
* สาขา[[นาฏศิลป์สากลศึกษา]]
* สาขาวิชาดนตรีคีตศิลป์สากลศึกษา
| valign = "top" |
| valign = "top" |
|-

| valign = "top" |
| valign = "top" |
'''คณะศิลปวิจิตร'''

| valign = "top" |
'''หลักสูตรศิลปบัณฑิต'''
* สาขาวิชาศิลปะไทย
* สาขาวิชาจิตรกรรม
* สาขาวิชาประติมากรรม
* สาขาวิชาภาพพิมพ์
* สาขาวิชาเครื่องเคลือบดินเผา
* สาขาวิชาออกแบบตกแต่งภายใน
| valign = "top" |
|-
|-
|}
|}


== พิธีพระราชทานปริญญาบัตร ==
== บุคคลที่มีชื่อเสียงจากสถาบัน ==
{{ดูเพิ่มที่||พิธีสำเร็จการศึกษา}}
* [[ยุวธิดา สุรัสวดี]] พระมารดา ของ[[พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าสิริวัณณวรีนารีรัตน์]]
[[ไฟล์:พระราชทานปริญญาบัตรพัฒนศิลป์.jpg|thumb|พิธีพระราชทานปริญญาบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษาจากสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ประจำปีการศึกษา 2552]]
* [[วิษณุ เครืองาม|ดร.วิษณุ เครืองาม]] นายกสภาสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์
ผู้ที่สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาจากสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ จะได้เข้ารับ[[พิธีสำเร็จการศึกษา|พิธีพระราชทานปริญญาบัตร]]จาก[[สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี]] ณ [[โรงละครแห่งชาติ (ประเทศไทย)|โรงละครแห่งชาติ]] [[กรุงเทพมหานคร]]
* [[ตุ๊กกี้ ชิงร้อยชิงล้าน|สุดารัตน์ บุตรพรหม]] (ตุ๊กกี้ ชิงร้อยชิงล้าน)
* [[วรนุช ภิรมย์ภักดี|วรนุช วงษ์สวรรค์]] นักแสดง
* [[สุวีระ บุญรอด]] นักร้องนำวง[[ฟลัวร์]]
* [[จุ๊บจิ๊บ เชิญยิ้ม]] ศิลปินตลก
* [[ทิสานาฏ ศรศึก]] นักแสดง
* [[ภูศิลป์ วารินรักษ์]] นักร้อง
* [[มยุรา เศวตศิลา]]
* [[ณหทัย พิจิตรา]]
* [[พิศมัย วิไลศักดิ์]]
* [[โย่ง อาร์มแชร์]]
* [[ติ๊ก กลิ่นสี]]
* [[ธนวรรธน์ วรรธนะภูติ]]
* [[กลศ อัทธเสรี]]
* [[จาตุรงค์ โกลิมาศ]]
* [[ยลดา รองหานาม]]


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
บรรทัด 145: บรรทัด 130:


== ดูเพิ่ม ==
== ดูเพิ่ม ==
{{สถานีย่อย2|สถาบันอุดมศึกษาไทย}}
* [[วิทยาลัยนาฏศิลป]]
* [[รายชื่อสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย]]
* [[วิทยาลัยช่างศิลป]]


== แหล่งข้อมูลอื่น ==
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* [http://www.bpi.ac.th/ สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์]
* [http://www.bpi.ac.th/ เว็บไซต์สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์]
* [https://www.facebook.com/สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์-702529716568735/ เฟซบุ๊กสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์]
* [http://ffa.bpi.ac.th/ คณะศิลปวิจิตร]
* [http://fda.bpi.ac.th/ คณะศิลปนาฏดุริยางค์]
* [http://fed.bpi.ac.th/ คณะศิลปศึกษา]


{{สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์}}
{{สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์}}
{{สถาบันอุดมศึกษาไทย}}
{{กระทรวงวัฒนธรรมของไทย}}
{{กระทรวงวัฒนธรรมของไทย}}
{{พระราชวังบวรสถานมงคล}}
{{สถาบันอุดมศึกษา}}
{{สถานศึกษาในเขตพระนคร}}


{{เรียงลำดับ|บัณฑิตพัฒนศิลป์}}
[[หมวดหมู่:กระทรวงวัฒนธรรม]]
[[หมวดหมู่:สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์| ]]
[[หมวดหมู่:สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์|บัณฑิตพัฒนศิลป์]]
[[หมวดหมู่:สถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย|บัณฑิตพัฒนศิลป์]]
[[หมวดหมู่:สถาบันอุดมศึกษาในกรุงเทพมหานคร|บัณฑิตพัฒนศิลป์]]
[[หมวดหมู่:สถาบันอุดมศึกษาในกรุงเทพมหานคร|บัณฑิตพัฒนศิลป์]]
[[หมวดหมู่:สถาบันอุดมศึกษาในจังหวัดสุพรรณบุรี|บัณฑิตพัฒนศิลป์]]
[[หมวดหมู่:สถาบันอุดมศึกษาในจังหวัดนครปฐม|บัณฑิตพัฒนศิลป์]]
[[หมวดหมู่:สถาบันอุดมศึกษาในจังหวัดอ่างทอง|บัณฑิตพัฒนศิลป์]]
[[หมวดหมู่:สถาบันการศึกษาศิลปะ|บัณฑิตพัฒนศิลป์]]
[[หมวดหมู่:สถาบันอุดมศึกษาในจังหวัดลพบุรี|บัณฑิตพัฒนศิลป์]]
[[หมวดหมู่:การศึกษาในประเทศไทย|บัณฑิตพัฒนศิลป์]]
[[หมวดหมู่:สถาบันอุดมศึกษาในจังหวัดจันทบุรี|บัณฑิตพัฒนศิลป์]]
[[หมวดหมู่:เขตพระนคร|บัณฑิตพัฒนศิลป์]]
[[หมวดหมู่:สถาบันอุดมศึกษาในจังหวัดสุโขทัย|บัณฑิตพัฒนศิลป์]]
[[หมวดหมู่:กระทรวงวัฒนธรรม|บัณฑิตพัฒนศิลป์]]
[[หมวดหมู่:สถาบันอุดมศึกษาในจังหวัดเชียงใหม่|บัณฑิตพัฒนศิลป์]]
[[หมวดหมู่:สถาบันอุดมศึกษาในจังหวัดร้อยเอ็ด|บัณฑิตพัฒนศิลป์]]
[[หมวดหมู่:สถาบันอุดมศึกษาในจังหวัดพัทลุง|บัณฑิตพัฒนศิลป์]]
[[หมวดหมู่:สถาบันอุดมศึกษาในจังหวัดนครศรีธรรมราช|บัณฑิตพัฒนศิลป์]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 02:56, 20 ตุลาคม 2560

สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์
ชื่อย่อBPI
ประเภทสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ
สถาปนา2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2541 (25 ปี)[1]
อธิการบดีนิภา โสภาสัมฤทธิ์[2]
อธิการบดีนิภา โสภาสัมฤทธิ์[2]
นายกสภาฯศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร.วิษณุ เครืองาม[3]
ที่ตั้ง
สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ถนนราชินี แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร 10200 สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ สำนักงานอธิการบดี เลขที่ 119/19 หมู่ 3 ตำบลศาลายา อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม 73170
สี██ สีเขียว
เว็บไซต์www.bpi.ac.th

สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ (อังกฤษ: Bunditpatanasilpa Institute; ชื่อย่อ: BPI) เป็นหน่วยงานในสังกัดกระทรวงวัฒนธรรม โดยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีเป็นผู้พระราชทานนามสถาบัน ซึ่งหมายถึง "สถาบันผลิตบัณฑิตทางศิลปะแห่งความเจริญ" โดยมีหน้าที่จัดการศึกษาระดับปริญญาตรีทางด้านช่างศิลป์ นาฏศิลป์ ดุริยางคศิลป์ และคีตศิลป์ ทั้งไทยและสากล รวมถึงศิลปวัฒนธรรม[4]

ประวัติ

นาม "บัณฑิตพัฒนศิลป์" เป็นนามที่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี องค์อุปถัมภ์มรดกศิลปวัฒนธรรมไทย โปรดเกล้าฯ พระราชทานเมื่อวันที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2540 ซึ่งหมายถึง "สถาบันผลิตบัณฑิตทางศิลปะแห่งความเจริญ" เป็นการยกระดับการศึกษาด้านดุริยางคศิลป์และช่างศิลป์ เพื่อนำศิลปะมาพัฒนาตนเอง สังคม และประเทศชาติ

สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ เดิมเป็นสถาบันอุดมศึกษาในสังกัดกรมศิลปากร กระทรวงศึกษาธิการ (และต่อมาได้โอนมาสังกัด กระทรวงวัฒนธรรม) ได้รับการสถาปนาขึ้นตามพระราชบัญญัติการจัดการศึกษาระดับปริญญาตรีในสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ พ.ศ. 2541[1] โดยมีบทบาทหน้าที่ในการจัดการศึกษาระดับปริญญาตรีด้านนาฏศิลป์ ดุริยางคศิลป์ คีตศิลป์ และช่างศิลป์ทั้งไทยและสากล ในการดำเนินการจัดตั้งสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์นั้นได้เริ่มตั้งแต่ พ.ศ. 2541 โดยกรมศิลปากร ได้พยายามผลักดันเรื่องการยกระดับการศึกษาวิชาชีพพิเศษด้านนี้ขึ้น จนกระทั่งเมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2541 มีการประกาศจัดตั้งสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ในราชกิจจานุเบกษา และมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2541 เป็นต้นมา โดยให้สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ เป็นสถาบันอุดมศึกษาในสังกัดกรมศิลปากร ตามพระราชบัญญัติการจัดการศึกษาระดับปริญญาตรีในสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ พ.ศ. 2541 อันเป็นการยกระดับการศึกษาวิชาเฉพาะด้านศิลปวัฒนธรรมให้สูงขึ้นถึงระดับปริญญา โดยเปิดดำเนินการสอนครั้งแรกใน 3 คณะวิชา คือ คณะศิลปวิจิตร คณะศิลปนาฏดุริยางค์ และคณะศิลปศึกษา ตั้งแต่วันที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2542 เป็นหลักสูตรปริญญาตรี (ต่อเนื่อง 2 ปี) สำหรับผู้ที่สำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรนาฏศิลป์ชั้นสูง (ปนส.) จากวิทยาลัยนาฏศิลปทุกแห่ง และผู้ที่สำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรศิลปกรรมวิชาชีพชั้นสูง (ศ.ปวส.) จากวิทยาลัยช่างศิลปทุกแห่ง

ในปีการศึกษา 2547 ได้ขยายการผลิตบัณฑิต โดยเปิดสอนหลักสูตรปริญญาตรี (4 ปี) ในคณะศิลปวิจิตรและคณะศิลปนาฏดุริยางค์ เปิดหลักสูตรปริญญาตรี (5 ปี) ในคณะศิลปศึกษา และเปิดห้องเรียนเครือข่ายคณะศิลปศึกษาในวิทยาลัยนาฏศิลปทุกแห่งในภูมิภาค ในปีการศึกษา 2548 คณะศิลปวิจิตรได้ขยายการผลิตบัณฑิต และเปิดห้องเรียนเครือข่ายในวิทยาลัยช่างศิลปสุพรรณบุรี และปีการศึกษา 2554 เปิดห้องเรียนเครือข่ายเพิ่มขึ้นที่วิทยาลัยช่างศิลป และในปีการศึกษา 2550 คณะศิลปนาฏดุริยางค์ ได้ขยายการผลิตบัณฑิตและห้องเรียนเครือข่ายในวิทยาลัยนาฏศิลปกาฬสินธุ์ และวิทยาลัยนาฏศิลปร้อยเอ็ด

ปัจจุบัน สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ เป็นสถานศึกษาในสังกัดกระทรวงวัฒนธรรม ดำเนินการตามพระราชบัญญัติสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ พ.ศ. 2550 ซึ่งประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 124 ตอนที่ 32 วันที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2550 โดยมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2550[5] ส่งผลให้สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์เปลี่ยนสถานะเป็นนิติบุคคล สามารถจัดการเรียนการสอนได้ตั้งแต่ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานวิชาชีพเฉพาะถึงระดับปริญญาเอก และมีอำนาจหน้าที่ตามที่ระบุในวัตถุประสงค์ของสถาบัน มาตรา 8 แห่งพระราชบัญญัติสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ พ.ศ. 2550 ที่ว่า "การศึกษาและส่งเสริมวิชาการ ตั้งแต่ระดับพื้นฐานวิชาชีพ ถึงวิชาชีพชั้นสูงด้านนาฏศิลป์ ดุริยางคศิลป์ คีตศิลป์ และทัศนศิลป์ทั้งไทยและสากล รวมทั้งศิลปวัฒนธรรมระดับท้องถิ่นและระดับชาติ ทำการสอนการแสดง การวิจัย และให้บริการทางวิชาการ ตลอดจนอนุรักษ์ สืบสาน สร้างสรรค์ ส่งเสริม ทำนุบำรุง และเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมอันเป็นเอกลักษณ์ของชาติ และศิลปวัฒนธรรมที่หลากหลายของชุมชนในท้องถิ่น" ดังนั้น สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ จึงมีภารกิจสำคัญในการจัดการเรียนการสอนทั้งในหลักสูตรปริญญาตรี (ต่อเนื่อง) ปริญญาตรี (4 ปี) และปริญญาตรี (5 ปี) ในคณะวิชา ในห้องเรียนเครือข่ายภูมิภาค และการจัดการศึกษาระดับพื้นฐานวิชาชีพเฉพาะด้านและระดับต่ำกว่าปริญญาตรีในวิทยาลัยนาฏศิลปและวิทยาลัยช่างศิลปรวม 15 แห่งด้วย โดยมีส่วนราชการที่จัดการศึกษาในสังกัดจำนวน 18 แห่ง ตามกฎกระทรวงจัดตั้งส่วนราชการในสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ กระทรวงวัฒนธรรม พ.ศ. 2551 วันที่ 11 เมษายน พ.ศ. 2551[6]

ต่อมา สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ได้มีนโยบายขยายโอกาสให้แก่บัณฑิตจากสถาบันฯ และสถาบันอื่นที่จะเลือกศึกษาต่อในระดับปริญญามหาบัณฑิตเฉพาะด้านนาฏศิลป์ ดุริยางคศิลป์ คีตศิลป์ และช่างศิลป์ และพัฒนาบุคลากรของสถาบันให้มีความรู้ความเชี่ยวชาญในศาสตร์ด้านศิลปะเพิ่มมากขึ้น เพื่อที่จะได้นำความรู้ที่ได้รับจากการศึกษาต่อไปพัฒนาการจัดการศึกษาแก่หน่วยงานให้มีคุณภาพมากยิ่งขึ้น จึงได้ดำเนินการโครงการจัดตั้งบัณฑิตวิทยาลัยและเริ่มจัดทำหลักสูตรระดับปริญญาโทมาตั้งแต่ปีการศึกษา 2550 ต่อมาในปีการศึกษา 2552 การจัดหลักสูตรศิลปมหาบัณฑิต สาขานาฏศิลป์ไทย และหลักสูตรศิลปมหาบัณฑิต สาขาดุริยางคศิลป์ไทย ได้รับความเห็นชอบจากสภาสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ในการประชุมครั้งที่ 7/2552 วันที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2552 และได้รับคำรับรองจากคณะกรรมการการอุดมศึกษาว่าเป็นหลักสูตรที่สอดคล้องกับเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2548 ตามหนังสือที่ ศธ 0506(2)/2249 และในปีการศึกษา 2553 จึงได้เริ่มเปิดรับนักศึกษาระดับปริญญาโท 2 สาขาวิชา คือ สาขานาฏศิลป์ไทยและสาขาดุริยางคศิลป์ไทย

สัญลักษณ์

"สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์" เป็นนามพระราชทานที่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พระราชทานแก่สถาบัน ซึ่งหมายถึง "สถาบันผลิตบัณฑิตทางศิลปะแห่งความเจริญ" เป็นการยกระดับการศึกษาด้านดุริยางคศิลป์และช่างศิลป์ เพื่อนำศิลปะมาพัฒนาตนเอง สังคม และประเทศไทย เครื่องหมายของสถาบันฯ เป็นรูปพระพิฆเนศประทับนั่งในลักษณะเฉียงเล็กน้อยในกรอบวงกลม ด้านบนมีลวดลายไทยยกสูง ด้านล่างกรอบเป็นแถบริบบิ้น ภายในมีชื่อ สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์

ความหมายของตราประจำสถาบัน พระพิฆเนศเป็นเทพเจ้าของอินเดีย นับถือกันว่าเป็นเทพเจ้าแห่งศิลปวิทยาการทั้งปวง ซึ่งหมายรวมถึงความเป็นเจ้าแห่งสติปัญญา ความรู้ ความสามารถ ความกล้าหาญ ตลอดจนเป็นผู้พิทักษ์ไว้ซึ่งความยุติธรรม นอกจากนี้ชาวฮินดูยังคงให้ความสำคัญกับพระพิฆเนศในฐานะเป็นเทพประจำความขัดข้องและเป็นผู้อำนวยความสำเร็จให้แก่กิจการต่าง ๆ อีกด้วย ดังนั้นพระพิฆเนศจึงได้นามเฉพาะว่า "วิฆเนศวร" หมายถึงผู้เป็นใหญ่ในความขัดข้องหรืออุปสรรค และ "สิทธิดา" หมายถึงผู้อำนวยความสำเร็จผล ด้วยเหตุที่พระพิฆเนศมีคุณสมบัติและความสำคัญดังกล่าว ชาวฮินดูจึงคติเชื่อกันว่าเมื่อจะประกอบพิธีกรรมในลัทธิศาสนาหรือศึกษาเล่าเรียนศิลปวิทยาการ ต้องกล่าวคำไหว้บูชาต่อพระพิฆเนศก่อน เพื่อให้ปลอดภัยรอดพ้นจากความขัดข้องหรืออุปสรรคทั้งปวง ตลอดจนอำนวยพรให้เกิดความสำเร็จลุล่วงด้วยดีในกิจการต่าง ๆ

ลักษณะของพระพิฆเนศ มีรูปกายเป็นมนุษย์ มีเศียรเป็นช้าง มีงาเดียว (บางรูปงาหักข้างขวาหรือซ้ายก็มี) เตี้ย พุงพลุ้ย หูยาน สีกายแดง (บางตำราว่าผิวเหลือง นุ่งห่มแดง ตามปกติมี 4 กร บางตำราว่ามี 6 หรือ 8) ถืองาช้าง บ่วงบาศ งาหัก และขนมโมทก (ขนมต้ม) บางตำราว่าถืออาวุธ และวัตถุแตกต่างกัน เช่น ถือชาม ขนมโมทก หม้อน้ำ ดอกบัว ผลส้ม สังข์ จักร หลาว ธนู คฑา ขวาน ลูกประคำ งู ผลทับทิม หัวผักกาด เหล็กจาร และสมุดหนังสือ เป็นต้น

หน่วยงาน

คณะวิชา

วิทยาลัยนาฏศิลป

วิทยาลัยช่างศิลป

หลักสูตร

หน่วยงาน
ปริญญาตรี
ปริญญาโท

คณะศิลปนาฏดุริยางค์

หลักสูตรศิลปบัณฑิต

  • สาขาวิชานาฏศิลป์ไทย
  • สาขาวิชาดนตรีไทย
  • สาขาวิชาคีตศิลป์ไทย
  • สาขาวิชาศิลปะดนตรีและการแสดงพื้นบ้าน

หลักสูตรศิลปมหาบัณฑิต

  • สาขาวิชานาฏศิลป์ไทย
  • สาขาวิชาดุริยางคศิลป์ไทย

คณะศิลปศึกษา

หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต (5 ปี)

  • สาขาวิชานาฏศิลป์ไทยศึกษา
  • สาขาวิชานาฏศิลป์สากลศึกษา
  • สาขาวิชาดนตรีคีตศิลป์ไทยศึกษา
  • สาขาวิชาดนตรีคีตศิลป์สากลศึกษา

คณะศิลปวิจิตร

หลักสูตรศิลปบัณฑิต

  • สาขาวิชาศิลปะไทย
  • สาขาวิชาจิตรกรรม
  • สาขาวิชาประติมากรรม
  • สาขาวิชาภาพพิมพ์
  • สาขาวิชาเครื่องเคลือบดินเผา
  • สาขาวิชาออกแบบตกแต่งภายใน

พิธีพระราชทานปริญญาบัตร

ไฟล์:พระราชทานปริญญาบัตรพัฒนศิลป์.jpg
พิธีพระราชทานปริญญาบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษาจากสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ประจำปีการศึกษา 2552

ผู้ที่สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาจากสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ จะได้เข้ารับพิธีพระราชทานปริญญาบัตรจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีโรงละครแห่งชาติ กรุงเทพมหานคร

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 พระราชบัญญัติ การจัดการศึกษาระดับปริญญาตรีในสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ พ.ศ. ๒๕๔๑, ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๑๕ ตอนที่ ๗๙ ก หน้า ๑๓ ๒ พฤศจิกายน ๒๕๔๑
  2. ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งอธิการบดีสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์, ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๒๒๐ ง หน้า ๒๒ ๖ กันยายน ๒๕๖๐
  3. ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งนายกสภาสถาบันและกรรมการสภาสถาบันผู้ทรงคุณวุฒิของสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์, ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๓ ตอนพิเศษ ๒๒๔ ง หน้า ๗ ๕ ตุลาคม ๒๕๕๙
  4. พระราชกฤษฎีกา แบ่งส่วนราชการกรมศิลปากร กระทรวงศึกษาธิการ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๑, ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๑๕ ตอนที่ ๗๕ ก หน้า ๒๒ ๓๐ ตุลาคม ๒๕๔๑
  5. พระราชบัญญัติ สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ พ.ศ. ๒๕๕๐, ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๔ ตอนที่ ๓๒ ก หน้า ๑ ๙ กรกฎาคม ๒๕๕๐
  6. กฎกระทรวง จัดตั้งส่วนราชการในสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ กระทรวงวัฒนธรรม พ.ศ. ๒๕๕๑, ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ ๑๒๕ ตอนที่ ๕๙ ก หน้า ๑ ๒๓ เมษายน ๒๕๕๑

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น