สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงราย
หน้าตา
เขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร | |
---|---|
จังหวัดเชียงราย | |
เขตเลือกตั้งในปัจจุบัน | |
จำนวนเขต | 7 |
คะแนนเสียง | 239,628 (เพื่อไทย) 202,655 (ก้าวไกล) |
เขตเลือกตั้งปัจจุบัน | |
ก่อตั้ง | พ.ศ. 2476 |
ที่นั่ง | เพื่อไทย (4) ประชาชน (3) |
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร | ดูในบทความ |
จังหวัดเชียงราย มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 7 เขต (สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ. 2566)[1] และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 7 คน จากทั้งหมด 400 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ประวัติศาสตร์
[แก้]หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยจังหวัดเชียงรายมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนแรก คือ พระดุลยธรรมปรีชาไวท์ (ยม สุขานุศาสน์)[2]
- นักการเมืองที่ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมากครั้งที่สุด คือ 9 สมัย ได้แก่ นายวิสาร เตชะธีราวัฒน์
- สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสตรีคนแรกของจังหวัดเชียงราย คือ นางอำไพ ปัญญาดี (จากการเลือกตั้ง พ.ศ. 2526)
- ตระกูลการเมืองที่ได้รับเลือกตั้งมากที่สุด คือ
- เตชะธีราวัฒน์ (3 คน) ได้แก่ นายวิสาร เตชะธีราวัฒน์, นางสาววิสาระดี เตชะธีราวัฒน์ และนายวิสิษฐ์ เตชะธีราวัฒน์
- ติยะไพรัช (3 คน) ได้แก่ นายยงยุทธ ติยะไพรัช นางสาวละออง ติยะไพรัช และนางสาวปิยะรัฐชย์ ติยะไพรัช
เขตเลือกตั้ง
[แก้]การเลือกตั้ง | เขตเลือกตั้ง | แผนที่ | จำนวน ส.ส. |
พ.ศ. 2476 | เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด | 1 คน (เขตละ 1 คน) | |
พ.ศ. 2480 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองเชียงราย, อำเภอเชียงคำ, อำเภอเชียงแสน, อำเภอเชียงของ และอำเภอเทิง · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอพะเยา, อำเภอพาน, อำเภอเวียงป่าเป้า และอำเภอแม่สรวย |
2 คน (เขตละ 2 คน) | |
พ.ศ. 2481 | |||
พ.ศ. 2489 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองเชียงราย, อำเภอเชียงของ และอำเภอแม่จัน · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอพะเยา, อำเภอเทิง และอำเภอเชียงคำ · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอแม่สรวย, อำเภอเวียงป่าเป้า และอำเภอพาน |
||
พ.ศ. 2491 | เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด | ||
พ.ศ. 2492 | |||
พ.ศ. 2495 | 3 คน (เขตละ 3 คน) | ||
พ.ศ. 2500/1 | 5 คน (เขตละ 5 คน) | ||
พ.ศ. 2500/2 | |||
พ.ศ. 2512 | 7 คน (เขตละ 7 คน) | ||
พ.ศ. 2518 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองเชียงราย, อำเภอแม่จัน, อำเภอแม่สาย, อำเภอเชียงแสน, อำเภอเชียงของ และกิ่งอำเภอเวียงชัย · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอแม่สรวย, อำเภอเวียงป่าเป้า, อำเภอพาน, อำเภอแม่ใจ, อำเภอพะเยา, อำเภอดอกคำใต้ และกิ่งอำเภอป่าแดด · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอเทิง, อำเภอเชียงคำ, อำเภอจุน, อำเภอปง และอำเภอเชียงม่วน |
8 คน (เขต 1 และเขต 2 เขตละ 3 คน ส่วนเขต 3 เขตละ 2 คน) | |
พ.ศ. 2519 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองเชียงราย, อำเภอแม่จัน, อำเภอแม่สาย, อำเภอเชียงแสน, อำเภอเชียงของ และกิ่งอำเภอเวียงชัย · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอแม่สรวย, อำเภอเวียงป่าเป้า, อำเภอพาน, อำเภอแม่ใจ, อำเภอพะเยา, อำเภอดอกคำใต้ และอำเภอป่าแดด · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอเทิง, อำเภอเชียงคำ, อำเภอจุน, อำเภอปง และอำเภอเชียงม่วน |
||
พ.ศ. 2522 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองเชียงราย, อำเภอแม่จัน, อำเภอแม่สาย, อำเภอเชียงแสน และอำเภอเชียงของ · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเทิง, อำเภอพาน, อำเภอเวียงป่าเป้า, อำเภอแม่สรวย, อำเภอป่าแดด และกิ่งอำเภอเวียงชัย |
6 คน (2 เขต เขตละ 3 คน) | |
พ.ศ. 2526 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองเชียงราย, อำเภอแม่จัน, อำเภอแม่สาย, อำเภอเชียงแสน และอำเภอเชียงของ · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเทิง, อำเภอพาน, อำเภอเวียงป่าเป้า, อำเภอแม่สรวย, อำเภอป่าแดด, อำเภอเวียงชัย และกิ่งอำเภอพญาเม็งราย |
||
พ.ศ. 2529 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองเชียงราย, อำเภอแม่จัน, อำเภอแม่สาย และอำเภอเชียงแสน · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเชียงของ, อำเภอเทิง, อำเภอเวียงชัย และกิ่งอำเภอพญาเม็งราย · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอแม่สรวย, อำเภอเวียงป่าเป้า, อำเภอพาน และอำเภอป่าแดด |
7 คน (เขต 1 เขตละ 3 คน ส่วนเขต 2 และเขต 3 เขตละ 2 คน) | |
พ.ศ. 2531 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองเชียงราย, อำเภอแม่จัน, อำเภอแม่สาย และอำเภอเชียงแสน · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเชียงของ, อำเภอเทิง, อำเภอเวียงชัย, อำเภอพญาเม็งราย และกิ่งอำเภอเวียงแก่น · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอแม่สรวย, อำเภอเวียงป่าเป้า, อำเภอพาน และอำเภอป่าแดด |
||
พ.ศ. 2535/1 | |||
พ.ศ. 2535/2 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองเชียงราย, อำเภอแม่จัน, อำเภอแม่สาย, อำเภอเชียงแสน และกิ่งอำเภอแม่ฟ้าหลวง · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเชียงของ, อำเภอเทิง, อำเภอเวียงชัย, อำเภอพญาเม็งราย, กิ่งอำเภอเวียงแก่น และกิ่งอำเภอขุนตาล · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอแม่สรวย, อำเภอเวียงป่าเป้า, อำเภอพาน และอำเภอป่าแดด |
||
พ.ศ. 2538 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองเชียงราย, อำเภอแม่จัน, กิ่งอำเภอแม่ฟ้าหลวง และกิ่งอำเภอแม่ลาว · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอแม่สาย, อำเภอเชียงของ, อำเภอเชียงแสน, อำเภอเทิง, อำเภอเวียงชัย, อำเภอพญาเม็งราย, กิ่งอำเภอเวียงแก่น, กิ่งอำเภอขุนตาล และกิ่งอำเภอเชียงรุ้ง · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอแม่สรวย, อำเภอเวียงป่าเป้า, อำเภอพาน และอำเภอป่าแดด |
8 คน (เขต 1 และ เขต 2 เขตละ 3 คน ส่วนเขต 3 เขตละ 2 คน) | |
พ.ศ. 2539 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองเชียงราย, อำเภอแม่จัน, กิ่งอำเภอแม่ฟ้าหลวง, กิ่งอำเภอแม่ลาว และกิ่งอำเภอดอยหลวง · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอแม่สาย, อำเภอเชียงของ, อำเภอเชียงแสน, อำเภอเทิง, อำเภอเวียงชัย, อำเภอพญาเม็งราย, อำเภอเวียงแก่น, กิ่งอำเภอขุนตาล และกิ่งอำเภอเวียงเชียงรุ้ง · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอแม่สรวย, อำเภอเวียงป่าเป้า, อำเภอพาน และอำเภอป่าแดด |
||
พ.ศ. 2544 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองเชียงราย (ยกเว้นตำบลห้วยชมภู ตำบลท่าสาย ตำบลแม่กรณ์ ตำบลห้วยสัก ตำบลดอยลาน และตำบลป่าอ้อดอนชัย) · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเวียงชัย, อำเภอแม่ลาว, อำเภอเมืองเชียงราย (เฉพาะตำบลท่าสาย ตำบลแม่กรณ์ ตำบลห้วยสัก ตำบลดอยลาน และตำบลป่าอ้อดอนชัย), อำเภอพาน (เฉพาะตำบลแม่อ้อ) และอำเภอพญาเม็งราย (เฉพาะตำบลไม้ยา) · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอเวียงป่าเป้า, อำเภอแม่สรวย และอำเภอเมืองเชียงราย (เฉพาะตำบลห้วยชมภู) · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอป่าแดดและอำเภอพาน (ยกเว้นตำบลแม่อ้อ) · เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอเทิง, อำเภอขุนตาล และอำเภอพญาเม็งราย (ยกเว้นตำบลไม้ยา) · เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอแม่ฟ้าหลวง (ยกเว้นตำบลแม่ฟ้าหลวง) และอำเภอแม่จัน (ยกเว้นตำบลแม่ไร่ และตำบลท่าข้าวเปลือก) · เขตเลือกตั้งที่ 7 : อำเภอเชียงแสน, อำเภอแม่สาย, อำเภอแม่จัน (เฉพาะตำบลแม่ไร่) และอำเภอแม่ฟ้าหลวง (เฉพาะตำบลแม่ฟ้าหลวง) · เขตเลือกตั้งที่ 8 : อำเภอเวียงแก่น, อำเภอเชียงของ, อำเภอแม่จัน (เฉพาะตำบลท่าข้าวเปลือก), กิ่งอำเภอดอยหลวง และกิ่งอำเภอเวียงเชียงรุ้ง |
8 คน (เขตละ 1 คน) | |
พ.ศ. 2548 | |||
พ.ศ. 2549 | |||
พ.ศ. 2550 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองเชียงราย, อำเภอแม่สรวย, อำเภอเวียงป่าเป้า, อำเภอเวียงชัย และอำเภอแม่ลาว · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเชียงของ, อำเภอพาน, อำเภอเทิง, อำเภอป่าแดด, อำเภอพญาเม็งราย, อำเภอเวียงแก่น, อำเภอขุนตาล, อำเภอเวียงเชียงรุ้ง และอำเภอดอยหลวง · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอแม่สาย, อำเภอแม่จัน, อำเภอเชียงแสน และอำเภอแม่ฟ้าหลวง |
8 คน (เขต 1 และ เขต 2 เขตละ 3 คน ส่วนเขต 3 เขตละ 2 คน) | |
พ.ศ. 2554 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองเชียงราย (เฉพาะตำบลบ้านดู่ ตำบลนางแล ตำบลห้วยชมภู ตำบลรอบเวียง ตำบลสันทราย ตำบลแม่ยาว ตำบลริมกก ตำบลดอยฮาง ตำบลแม่กรณ์ ตำบลแม่ข้าวต้ม ตำบลท่าสุด และตำบลเวียง) · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเวียงป่าเป้า, อำเภอแม่สรวย และอำเภอแม่ลาว · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอเมืองเชียงราย (เฉพาะตำบลดอยลาน ตำบลห้วยสัก ตำบลท่าสาย และตำบลป่าอ้อดอนชัย) และอำเภอพาน · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอเทิง, อำเภอเวียงชัย และอำเภอป่าแดด · เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอเชียงของ, อำเภอเวียงแก่น, อำเภอพญาเม็งราย และอำเภอขุนตาล · เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอแม่สาย, อำเภอเชียงแสน, อำเภอดอยหลวง และอำเภอเวียงเชียงรุ้ง · เขตเลือกตั้งที่ 7 : อำเภอแม่จันและอำเภอแม่ฟ้าหลวง |
7 คน (เขตละ 1 คน) | |
พ.ศ. 2557 | |||
พ.ศ. 2562 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองเชียงราย (ยกเว้นตำบลท่าสาย ตำบลสันทราย ตำบลป่าอ้อดอนชัย ตำบลห้วยสัก และตำบลดอยลาน) · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอแม่ลาว, อำเภอแม่สรวย และอำเภอเวียงป่าเป้า · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอพานและอำเภอเมืองเชียงราย (เฉพาะตำบลท่าสาย ตำบลสันทราย ตำบลป่าอ้อดอนชัย ตำบลห้วยสัก และตำบลดอยลาน) · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอเทิง, อำเภอป่าแดด, อำเภอเวียงชัย และอำเภอเวียงเชียงรุ้ง · เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอเชียงของ, อำเภอเวียงแก่น, อำเภอขุนตาล, อำเภอพญาเม็งราย และอำเภอเชียงแสน (เฉพาะตำบลแม่เงิน) · เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอแม่สาย, อำเภอดอยหลวง และอำเภอเชียงแสน (ยกเว้นตำบลแม่เงิน) · เขตเลือกตั้งที่ 7 : อำเภอแม่จันและอำเภอแม่ฟ้าหลวง |
7 คน (เขตละ 1 คน) | |
พ.ศ. 2566 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองเชียงราย (ยกเว้นตำบลแม่ข้าวต้ม ตำบลนางแล ตำบลท่าสุด ตำบลดอยลาน และตำบลห้วยสัก) · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเวียงชัย, อำเภอเวียงเชียงรุ้ง, อำเภอเมืองเชียงราย (เฉพาะตำบลแม่ข้าวต้ม ตำบลนางแล และตำบลท่าสุด) และอำเภอแม่จัน (เฉพาะตำบลแม่จัน ตำบลป่าตึง ตำบลป่าซาง ตำบลสันทราย และตำบลท่าข้าวเปลือก) · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอแม่ลาว, อำเภอแม่สรวย และอำเภอเวียงป่าเป้า · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอพาน, อำเภอป่าแดด และอำเภอเมืองเชียงราย (เฉพาะตำบลดอยลานและตำบลห้วยสัก) · เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอเทิง, อำเภอพญาเม็งราย, อำเภอขุนตาล และอำเภอเชียงของ (เฉพาะตำบลบุญเรือง) · เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอแม่สาย, อำเภอแม่ฟ้าหลวง และอำเภอแม่จัน (เฉพาะตำบลแม่ไร่ ตำบลแม่คำ ตำบลศรีค้ำ และตำบลจอมสวรรค์) · เขตเลือกตั้งที่ 7 : อำเภอเชียงแสน, อำเภอดอยหลวง, อำเภอเวียงแก่น, อำเภอเชียงของ (ยกเว้นตำบลบุญเรือง) และอำเภอแม่จัน (เฉพาะตำบลจันจว้าและตำบลจันจว้าใต้) |
7 คน (เขตละ 1 คน) |
รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต
[แก้]ชุดที่ 1; พ.ศ. 2476
[แก้]ชุดที่ 1 พ.ศ. 2476[3] |
พระดุลยธรรมปรีชาไวท์ (ยม สุขานุศาสน์) |
ชุดที่ 2–4; พ.ศ. 2480–2489
[แก้]เขต | ชุดที่ 2 พ.ศ. 2480 | ชุดที่ 3 พ.ศ. 2481 | ชุดที่ 4 | |
มกราคม พ.ศ. 2489 | สิงหาคม พ.ศ. 2489 เลือกตั้งเพิ่มเติม | |||
1 | นายประยูร วิมุกตาคม | นายบุญศรี วิญญรัตน์ | นายประยูร วิมุกตาคม | นายศิริ เพ็ชรรัตน์ |
2 | นายวรการบัญชา (บุญเกิด สุตันตานนท์) | นายบรรจบ บรรณสิทธิ์ | นายบุญยฝาง ทองสวัสดิ์ | |
3 | – | – | – | ขุนพิพิธสุขอำนวย |
ชุดที่ 5; พ.ศ. 2491–2492
[แก้]ชุดที่ | การเลือกตั้ง | เขตเลือกตั้งที่ 1 |
ชุดที่ 5 | พ.ศ. 2491 | พันโท แสวง ทัพพะสุต |
นายวรการบัญชา (บุญเกิด สุตันตานนท์) | ||
พ.ศ. 2492 | นายบุญช่วย ศรีสวัสดิ์ (เลือกตั้งเพิ่มเติม) |
ชุดที่ 7; พ.ศ. 2495
[แก้]ลำดับ | ชุดที่ 7 พ.ศ. 2495 |
1 | นายบุญช่วย ศรีสวัสดิ์ |
2 | นายบุณยฝาง ทองสวัสดิ์ |
3 | นายวรการบัญชา (บุญเกิด สุตันตานนท์) |
ชุดที่ 8–9; พ.ศ. 2500
[แก้]- พรรคเสรีมนังคศิลา
- พรรคเสรีมนังคศิลา → พรรคชาติสังคม
- พรรคประชาธิปัตย์
- ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ชุดที่ 10; พ.ศ. 2512
[แก้]ลำดับ | ชุดที่ 10 พ.ศ. 2512 |
1 | จ่าสิบเอก ทรงธรรม ปัญญาดี |
2 | นายบุญเรือง กิจกล่ำศวล |
3 | ร้อยโท สมศาสตร์ รัตนสัค |
4 | นายอินทร์หล่อ สรรพศรี |
5 | นายขวัญชัย สารากิจ |
6 | นายบุญสวัสดิ์ ดวงใจเอกราช |
7 | นายแถม นุชเจริญ |
ชุดที่ 11–12; พ.ศ. 2518–2519
[แก้]เขต | ชุดที่ 11 พ.ศ. 2518 | ชุดที่ 12 พ.ศ. 2519 |
1 | จ่าสิบเอกทรงธรรม ปัญญาดี | จ่าสิบเอก ทรงธรรม ปัญญาดี |
นายพายัพ กาญจนารัณย์ | นายชูสง่า ฤทธิประศาสน์ | |
นายสัณฐาน สุริยะคำ | นายวรวิทย์ คำเงิน | |
2 | ร้อยโท สมศาสตร์ รัตนสัค | ร้อยโท สมศาสตร์ รัตนสัค |
นายฤทธิ์ อินทนันท์ | นายวินัย นามเสถียร | |
นายประพันธ์ อัมพุช | นายหลง ศิริพันธุ์ | |
3 | นายเชวง วงศ์ใหญ่ | นายเชวง วงศ์ใหญ่ |
นายประสิทธิ์ พันธุ์ฟูจินดา | นายเพียว ตันบรรจง |
ชุดที่ 13–14; พ.ศ. 2522–2526
[แก้]เขต | ชุดที่ 13 พ.ศ. 2522 | ชุดที่ 14 พ.ศ. 2526 |
1 | นายชูสง่า ฤทธิประศาสน์ | นายมงคล จงสุทธนามณี |
นายพายัพ กาญจนารัณย์ | ||
จ่าสิบเอก ทรงธรรม ปัญญาดี | จ่าสิบเอก ทรงธรรม ปัญญาดี | |
2 | ร้อยโท สมศาสตร์ รัตนสัค | ร้อยโท สมศาสตร์ รัตนสัค |
นายฤทธิ์ อินทรนันท์ | นางอำไพ ปัญญาดี | |
นายสำเร็จ ภูนิคม |
ชุดที่ 15–18; พ.ศ. 2529–2535
[แก้]- พรรครวมไทย (พ.ศ. 2529) → พรรคเอกภาพ (2531)
- พรรคสหประชาธิปไตย
- พรรคชาติไทย
- พรรคราษฎร (พ.ศ. 2529)
- พรรคสามัคคีธรรม
- พรรคกิจสังคม
- พรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)
เขต | ชุดที่ 15 พ.ศ. 2529 | ชุดที่ 16 พ.ศ. 2531 | ชุดที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2535 | ชุดที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2535 |
1 | นายมงคล จงสุทธนามณี | นายมงคล จงสุทธนามณี | นายมงคล จงสุทธนามณี | |
นายวีระพล มุตตามระ | นายสัมพันธ์ เลิศนุวัฒน์ | นายสัมพันธ์ เลิศนุวัฒน์ | ||
นายวิจิตร ยอดสุวรรณ | จ่าสิบเอก ทรงธรรม ปัญญาดี | จ่าสิบเอก ทรงธรรม ปัญญาดี (ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งใหม่) |
จ่าสิบเอก ทรงธรรม ปัญญาดี | |
2 | นายประทวน รมยานนท์ | นายสำเร็จ ภูนิคม | ||
นายองอาจ เสนาธรรม | นายสมบูรณ์ วันไชยธนวงศ์ | นายทวี พุทธจันทร์ | นายสมบูรณ์ วันไชยธนวงศ์ | |
3 | ร้อยโท สมศาสตร์ รัตนสัค | นายอาทิตย์ วิลัยวงค์ | ร้อยโท สมศาสตร์ รัตนสัค | นายถาวร ตรีรัตน์ณรงค์ |
นายวิสาร เตชะธีราวัฒน์ | นายวิสาร เตชะธีราวัฒน์ | นายวิสาร เตชะธีราวัฒน์ |
ชุดที่ 19–20; พ.ศ. 2538–2539
[แก้]เขต | ชุดที่ 19 พ.ศ. 2538 | ชุดที่ 20 พ.ศ. 2539 |
1 | นายฉัฐวัสส์ มุตตามระ | นายฉัฐวัสส์ มุตตามระ |
นายยงยุทธ ติยะไพรัช | นายยงยุทธ ติยะไพรัช | |
นางรัตนา จงสุทธนามณี | ||
2 | นายประทวน รมยานนท์ (เสียชีวิต) |
นายสัมพันธ์ เลิศนุวัฒน์ |
นายมงคล จงสุทธนามณี (แทนนายประทวน) | ||
นายบัวสอน ประชามอญ | นายมงคล จงสุทธนามณี | |
นายสมบูรณ์ วันไชยธนวงศ์ | นายสมบูรณ์ วันไชยธนวงศ์ | |
3 | นายสุรสิทธิ์ เจียมวิจักษณ์ | นายถาวร ตรีรัตน์ณรงค์ |
นายวิสาร เตชะธีราวัฒน์ | นายวิสาร เตชะธีราวัฒน์ |
ชุดที่ 21–22; พ.ศ. 2544–2548
[แก้]เขต | ชุดที่ 21[4] พ.ศ. 2544 | ชุดที่ 22[5] พ.ศ. 2548 |
1 | นายสามารถ แก้วมีชัย | |
2 | นายสฤษฏ์ อึ้งอภินันท์ | |
3 | นายถาวร ตรีรัตน์ณรงค์ | นายสุรสิทธิ์ เจียมวิจักษณ์ |
4 | นายวิสาร เตชะธีราวัฒน์ | |
5 | นายสมบูรณ์ วันไชยธนวงศ์ ( / เลือกตั้งใหม่) |
นายสมบูรณ์ วันไชยธนวงศ์ |
6 | นายยงยุทธ ติยะไพรัช | นางสาวละออง ติยะไพรัช |
7 | นายอิทธิเดช แก้วหลวง | |
8 | นายบัวสอน ประชามอญ |
ชุดที่ 23; พ.ศ. 2550
[แก้]เขต | ชุดที่ 23[6] พ.ศ. 2550 |
1 | นายสามารถ แก้วมีชัย |
นายสฤษฏ์ อึ้งอภินันท์ | |
นายสุรสิทธิ์ เจียมวิจักษณ์ | |
2 | นายรังสรรค์ วันไชยธนวงศ์ |
นางสาววิสาระดี เตชะธีราวัฒน์ | |
นายพิเชษฐ์ เชื้อเมืองพาน | |
3 | นางสาวละออง ติยะไพรัช |
นายอิทธิเดช แก้วหลวง |
ชุดที่ 24–26; พ.ศ. 2554–2566
[แก้]เขต | ชุดที่ 24 พ.ศ. 2554 | ชุดที่ 25 พ.ศ. 2562 | ชุดที่ 26 พ.ศ. 2566 |
1 | นายสามารถ แก้วมีชัย | นายเอกภพ เพียรพิเศษ (ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งใหม่) |
นายชิตวัน ชินอนุวัฒน์ |
2 | นายสุรสิทธิ์ เจียมวิจักษณ์ | นายวิสิษฐ์ เตชะธีราวัฒน์ | นางสาวปิยะรัฐชย์ ติยะไพรัช |
3 | นางสาววิสาระดี เตชะธีราวัฒน์ | นายวิสาร เตชะธีราวัฒน์ | นายฐากูร ยะแสง |
4 | นายรังสรรค์ วันไชยธนวงศ์ | นายรังสรรค์ วันไชยธนวงศ์ (ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งใหม่) |
นางสาววิสาระดี เตชะธีราวัฒน์ |
5 | นายพิเชษฐ์ เชื้อเมืองพาน | นายเทอดชาติ ชัยพงษ์ | |
6 | นายอิทธิเดช แก้วหลวง | นายพีรเดช คำสมุทร (ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งใหม่) |
นางจุฬาลักษณ์ ขันสุธรรม |
7 | นางสาวละออง ติยะไพรัช | นายพิเชษฐ์ เชื้อเมืองพาน |
รูปภาพ
[แก้]-
พันเอก นายวรการบัญชา (บุญเกิด สุตันตานนท์)
-
ร้อยโท สมศาสตร์ รัตนสัค
-
นายชูสง่า ฤทธิประศาสน์
-
นายประทวน รมยานนท์
-
นายยงยุทธ ติยะไพรัช
-
นายสามารถ แก้วมีชัย
-
นายพิเชษฐ์ เชื้อเมืองพาน
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งและเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัดจะพึงมี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 140 (14 ก): 38–42. 3 มีนาคม 2566.
- ↑ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจากการเลือกตั้งครั้งแรก จาก เว็บไซต์ สำนักข่าวออนไลน์อาร์วายทีไนน์
- ↑ ประกาศสภาผู้แทนราษฎร รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ 1
- ↑ ทำเนียบสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่ 21 เก็บถาวร 2011-07-07 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน จาก เว็บไซต์ รัฐสภาไทย
- ↑ ทำเนียบสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่ 22 เก็บถาวร 2011-07-07 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน จาก เว็บไซต์ รัฐสภาไทย
- ↑ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดที่ 23 เก็บถาวร 2010-03-10 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน จาก เว็บไซต์ รัฐสภาไทย
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- คณะกรรมการการเลือกตั้งจังหวัดเชียงราย เก็บถาวร 2011-06-02 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน