ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ชาญชัย ลี้ถาวร"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pongsak ksm (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าใหม่: {{ผู้นำประเทศ | name = ชาญชัย ลี้ถาวร | image = | imagesize = 180px <!----------ตำแหน่ง----------> |...
 
Pongsak ksm (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 20: บรรทัด 20:
| party =
| party =
<!----------อื่นๆ---------->
<!----------อื่นๆ---------->
| spouse =
| spouse = นางศิริเพ็ญ กาญจนวัฒน์
}}
}}
'''นายชาญชัย ลี้ถาวร''' เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง และเป็นอดีตปลัดกระทรวงการคลัง
'''นายชาญชัย ลี้ถาวร''' เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง และเป็นอดีตปลัดกระทรวงการคลัง

รุ่นแก้ไขเมื่อ 00:24, 23 มีนาคม 2562

ชาญชัย ลี้ถาวร
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์
ดำรงตำแหน่ง
14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 – 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2517
นายกรัฐมนตรีสัญญา ธรรมศักดิ์
รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง
ดำรงตำแหน่ง
24 พฤษภาคม พ.ศ. 2522 – 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2523
นายกรัฐมนตรีพลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด18 ธันวาคม พ.ศ. 2470 (96 ปี)

นายชาญชัย ลี้ถาวร เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง และเป็นอดีตปลัดกระทรวงการคลัง

ประวัติ

ชาญชัย ลี้ถาวร เกิดเมื่อวันที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2470 สำเร็จการศึกษา B.S. (Banking & Finance) จากมหาวิทยาลัยอิลลินอยส์

ชาญชัย เริ่มรับราชการในตำแหน่งประจำแผนกชั้นตรี กองเศรษฐกิจการคลัง สำนักงานปลัดกระทรวงการคลัง ในปี พ.ศ. 2497 ต่อมาได้รับแต่งตั้งเป็นผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง ในปี พ.ศ. 2514 เป็นอธิบดีกรมสรรพสามิต ในปีถัดมา

ในปี พ.ศ. 2516 เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ในรัฐบาลของนายสัญญา ธรรมศักดิ์ จากนั้นเมื่อนายกรัฐมนตรีได้กราบถวายบังคมลาออกจากตำแหน่ง เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2517 นายชาญชัยจึงกลับเข้ารับราชการในตำแหน่งอธิบดีกรมสรรพากร อธิบดีกรมศุลกากร และเป็นปลัดกระทรวงการคลัง ตามลำดับเรื่อยมา

จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2522 ในขณะที่ดำรงตำแหน่งปลัดกระทรวงการคลังนั้น เขาได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง อีกตำแหน่งหนึ่ง จากนั้นในปี พ.ศ. 2525 เป็นเลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน สำนักนายกรัฐมนตรี[1]

เป็นประธานกรรมการธนาคารออมสิน ในปี พ.ศ. 2525 - 2527[2]

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

อ้างอิง