ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระมหากษัตริย์ไทย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนการแก้ไขที่ 6317865 สร้างโดย 171.5.247.171 (พูดคุย)
บรรทัด 45: บรรทัด 45:
รัชทายาทของพระมหากษัตริย์ไทยพระองค์ปัจจุบัน คือ [[สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร|สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร]] การสืบราชสันตติวงศ์เป็นไปตาม[[กฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ พระพุทธศักราช 2467]] การแก้ไขกฎมณเฑียรบาลยังเป็นพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์
รัชทายาทของพระมหากษัตริย์ไทยพระองค์ปัจจุบัน คือ [[สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร|สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร]] การสืบราชสันตติวงศ์เป็นไปตาม[[กฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ พระพุทธศักราช 2467]] การแก้ไขกฎมณเฑียรบาลยังเป็นพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์


== ดูเพิ่ม =="พระราชอำนาจพระมหากษัตริย์" ห้ามแก่้ไข มีความผิด ตามพระราชอำนาจพระมหากษัตริย์ :
== ดูเพิ่ม ==
พระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ ประมุขทรงครองราชย์ (The King of ThaiLand)/2559(พระนาม,พระยศพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุเดชและคู่ครองราชย์. สมเด็จพระนางเจ้าพระบรมพระราชินีนาถสิริสวัสดิ์มิ่งขวัญไทยมหาบรมจักรราชวงศ์.พระยศพระมหากษัตริย์เจ้าสต.พ.ต.ภูมิพลฯลฯและพระนางเจ้าพระมงกฎเพรชปกเกล้าปกกระหม่อมพระราชินีสิริสวัสดิ์มิ่งขวัญไทย . พระมหากษัตริย์และสมเด็จพระราชินีนาถ จะทรงงานพระราชทานให้เงิน หรือ สิ่งของ แก่ราษฎร์ประชาชนไทยที่เดือดร้อน ในพระราชกรณียกิจทั้งปวงจะทรงลงพระปรมาภิไธยใช้งบประมาณเดียวกันกับรัฐบาลในการทรงงานเสด็จเยือนสถานที่สำคัญต่างๆทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ เยือนเชื่อมสัมพันธ์ไมตรีกับมิตรรักทั่วทุกประเทศ พร้อมทั้งคณะทูตคณะบริหาร องค์มนตรี สุดแล้วแต่ความประสงค์ในฐานะประมุขพระมหากษัตริย์พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุเดชและคู่ครองราชย์ สมเด็จพระนางเจ้าพระราชินีนาถสิริสวัสดิ์ มิ่งขวัญไทยม.จ.ก.
พระราชสถานะและพระราชอำนาจที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ”
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยทุกฉบับยืนยันความเป็นประมุขสูงสุดของพระมหากษัตริย์และคู่ครองราชย์ โดยบัญญัติว่า องค์พระมหากษัตริย์ทรงดำรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะผู้ใดจะละเมิดมิได้ ผู้ใดจะกล่าวหาหรือฟ้องร้องพระมหากษัตริย์ในทางใด ๆ มิได้ หมายความว่า ผู้ใดจะหมิ่นพระบรมเดชานุภาพพระมหากษัตริย์ไม่ได้ ผู้ละเมิดต่อพระมหากษัตริย์ถือว่าเป็นการกระทำความผิดอย่างร้ายแรง รัฐธรรมนูญบางฉบับถึงกับไม่ยอมให้มีการนิรโทษกรรมแก่ผู้กระทำการล้มล้างสถาบันพระมหากษัตริย์
การปกครองระบอบประชาธิปไตยของไทย รัฐธรรมนูญมีบทบัญญัติให้พระมหากษัตริย์ได้รับการเชิดชูให้อยู่เหนือการเมือง และกำหนดให้มีผู้รับสนองพระบรมราชโองการในการดำเนินการทางการเมืองการปกครองแผ่นดิน

พระมหากษัตริย์มีอำนาจเต็มทั้งแผ่นดิน ดังนี้
1. จะทรงใช้พระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ ด้วยพระองค์เอง เหนืออำนาจทั้งปวง เช่น ศาลต่างๆทุกศาลทุกชื่อ
อยู่ภายใต้อำนาจของท่านพระมหากษัตริย์เท่านั้น
เช่น รายชื่อหน่วยงานราชการ ทหาร ตำรวจ ศาลตุลาการ ศาลรัฐธรรมนูญ นิติบัญญัติ หน่วยงานบริหารต่างๆ งบการเงินรายรับรายจ่ายเงินแผ่นดินเป็นของพระองค์ท่านประมุข ส่งงบให้พระองค์รับไว้รับทราบคงเหลือกำไร(ชื่อแนบในเอกสาร)อยู่ภายใต้อำนาจ

"อำนาจพระมหากษัตริย์" ดังนี้
ทรงมีอำนาจเหนือรัฐธรรมนูญ ในการออกกฎหมาย คำแนะนำของรัฐสภา เมื่อรัฐสภาร่างกฎหมายขึ้นแล้วจะทูลเกล้าฯ ถวายเพื่อขอให้พระองค์ทรง(ทรงประกาศใช้) และขออนุญาตลงพระปรมาภิไธยประกาศใช้เป็น กฎหมายตามขั้นตอนของรัฐธรรมนูญ.
ทรงใช้อำนาจบริหารทางรัฐสภาคณะรัฐมนตรี หมายความว่า การบริหารราชการแผ่นดิน ซึ่งมีประมุขคู่ครองราชย์สูงสุด(พระนาม,พระยศพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุเดชและคู่ครองราชย์. สมเด็จพระนางเจ้าพระบรมพระราชินีนาถสิริสวัสดิ์มิ่งขวัญไทยมหาบรมจักรราชวงศ์.พระยศพระมหากษัตริย์เจ้าสต.พ.ต.ภูมิพลฯลฯและพระนางเจ้าพระมงกฎเพรชปกเกล้าปกกระหม่อมพระราชินีสิริสวัสดิ์มิ่งขวัญไทย.ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ พระราชอำนาจทางด้านบริหารของพระมหากษัตริย์ดังกล่าวนายกรัฐมนตรีพร้อมด้วยคณะรัฐมนตรีดำเนินการไปนั้น จะขอใช้อำนาจ ถือว่ากระทำไปในพระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย์ นั้น จะต้องเข้ากราบบังคมทูลด้วยตัวเองพร้อมเอกสารจริงเท่านั้น ทั้งนี้เพราะบรรดาพระราชบัญญัติพระราชกำหนด พระราชกฤษฎีกา พระราชหัตถเลขา และพระบรมราชโองการอันเกี่ยวกับราชการแผ่นดิน คณะรัฐมนตรีเป็นผู้ปฏิบัติและรับผิดชอบทั้งสิ้น โดยนายกรัฐมนตรีจะต้องกราบบังคมทูลและลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ พระราชอำนาจทางด้านบริหารของพระมหากษัตริย์ดังกล่าวได้แก่ การตราพระราชกฤษฎีกาไม่ขัดต่อกฎหมาย การประกาศใช้และยกเลิกใช้กฎอัยการศึก การประกาศสงคราม เมื่อได้รับความเห็นชอบของรัฐสภา การทำสัญญาสันติภาพ สัญญาสงบศึก หรือสนธิสัญญาอื่นกับนานาประเทศ หรือกับองค์การระหว่างประเทศ และการให้พระราชทานอภัยโทษ.(ขอรับพระราชทาน)
ทรงใช้อำนาจตุลาการทางศาล หมายถึง ศาลเป็นผู้พิจารณาพิพากษาอรรถคดีต่าง ๆ ให้เป็นไปตามรัฐธรรมนูญและตามกฎหมายในพระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย์ พระมหากษัตริย์ทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจในการแต่งตั้งและการพ้นจาก ตำแหน่งของผู้พิพากษาและตุลาการก่อนเข้ารับหน้าที่ พิพากษา เข้าปฏิญาณตนต่อพระมหากษัตริย์.

พระราชสถานะและพระราชอำนาจที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยทุกฉบับยืนยันความเป็นประมุขสูงสุดของพระมหากษัตริย์ โดยบัญญัติว่า องค์พระมหากษัตริย์ทรงดำรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะผู้ใดจะละเมิดมิได้ ผู้ใดจะกล่าวหาหรือฟ้องร้องพระมหากษัตริย์ในทางใด ๆ มิได้ หมายความว่า ผู้ใดจะหมิ่นพระบรมเดชานุภาพพระมหากษัตริย์ไม่ได้ ผู้ละเมิดต่อพระมหากษัตริย์ถือว่าเป็นการกระทำความผิดอย่างร้ายแรง รัฐธรรมนูญบางฉบับถึงกับไม่ยอมให้มีการนิรโทษกรรมแก่ผู้กระทำการล้มล้างสถาบันพระมหากษัตริย์
การปกครองระบอบประชาธิปไตยของไทย รัฐธรรมนูญมีบทบัญญัติให้พระมหากษัตริย์ได้รับการเชิดชูให้อยู่เหนือการเมือง และกำหนดให้มีผู้รับสนองพระบรมราชโองการในการดำเนินการทางการเมืองการปกครอง รัฐธรรมนูญได้กำหนดพระราชอำนาจของ
พระมหากษัตริย์ ดังนี้
1. ทรงใช้อำนาจอธิปไตย พระมหากษัตริย์ใช้อำนาจอธิปไตย เช่น อำนาจนิติบัญญัติ อำนาจบริหาร และอำนาจตุลาการ ดังนี้
ทรงใช้อำนาจนิติบัญญัติทางรัฐสภา หมายความว่า พระมหากษัตริย์ทางใช้อำนาจในการออกกฎหมาย คำแนะนำ และยินยอมของรัฐสภา เมื่อรัฐสภาร่างกฎหมายขึ้นแล้วจะทูลเกล้าฯ ถวายเพื่อทรงลงพระปรมาภิไธยประกาศใช้เป็นกฎหมายตามขั้นตอนของ
รัฐธรรมนูญ
ทรงใช้อำนาจบริหารทางคณะรัฐมนตรี หมายความว่า การบริหารราชการแผ่นดิน ซึ่งนายกรัฐมนตรี
พร้อมด้วยคณะรัฐมนตรีดำเนินการไปนั้น ถือว่ากระทำไปในพระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย์ ทั้งนี้เพราะบรรดาพระราชบัญญัติพระราชกำหนด พระราชกฤษฎีกา พระราชหัตถเลขา และพระบรมราชโองการอันเกี่ยวกับราชการแผ่นดิน คณะรัฐมนตรีเป็นผู้ปฏิบัติและรับผิดชอบทั้งสิ้น โดยนายกรัฐมนตรีจะต้องกราบบังคมทูลและลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ พระราชอำนาจทางด้านบริหารของพระมหากษัตริย์ดังกล่าวได้แก่ การตราพระราชกฤษฎีกาไม่ขัดต่อกฎหมาย การประกาศใช้และยกเลิกใช้กฎอัยการศึก การประกาศสงคราม เมื่อได้รับความเห็นชอบของรัฐสภา การทำสัญญาสันติภาพ สัญญาสงบศึก หรือสนธิสัญญาอื่นกับนานาประเทศ หรือกับองค์การระหว่างประเทศ และการพระราชทานอภัยโทษ
ทรงใช้อำนาจตุลาการทางศาล หมายถึง ศาลเป็นผู้พิจารณาพิพากษาอรรถคดีต่าง ๆ ให้เป็นไปตามรัฐธรรมนูญและตามกฎหมายในพระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย์ พระมหากษัตริย์ทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจในการแต่งตั้งและการพ้นจาก ตำแหน่งของผู้พิพากษาและตุลาการก่อนเข้ารับหน้าที่ ผู้พิพากษาและตุลาการจะต้องถวายสัตย์ปฏิญาณต่อพระมหากษัตริย์
2. ทรงดำรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะผู้ใดจะละเมิดมิได้ หมายความว่า พระมหากษัตริย์ไทยทรงอยู่ภายใต้กฎหมายก็เพียงเฉพาะกฎหมายรัฐธรรมนูญเท่านั้น แต่ทรงอยู่เหนือกฎหมายอื่น ๆ ผู้ใดจะกล่าวหาหรือฟ้องร้องตามกฎหมายใด ๆ มิได้ ทั้งนี้ก็เพราะต้องการเทิดทูนองค์พระประมุขของชาติ พระมหากษัตริย์ ทำอะไรก็ไม่ผิด ทรงครองแผ่นดินโดยธรรม (The King of ThaiLand) หมายความว่า พระมหากษัตริย์ไม่ต้องรับผิดชอบในพระบรมราชโองการหรือการกระทำในพระปรมาภิไธยของพระองค์ในกรณีที่มีความเสียหายบกพร่อง ผิด ยกเว้น เกิดขึ้น ผู้ลงนามรับสนองพระราชโองการจะต้องรับผิดชอบ เพราะในทางปฏิบัตินั้น พระมหากษัตริย์มิได้ทรงริเริ่ม หรือดำเนินข้อหน่วยงานราชการต่าง ๆ ด้วยพระองค์เอง จะต้องมีเจ้าหน้าราชการสนองรับใช้เป็นข้าราชการประจำที่หรืองค์กรหนึ่งองค์กรใดเป็นฝ่ายดำเนินการและกราบทูลขึ้นมา จะไปละเมิดกล่าวโทษท่านพระมหากษัตริย์มิได้
3. ทรงเป็นุพุทธมามกะและทรงเป็นอัครศาสนูปถัมภก นั่นก็คือทรงเป็นผู้ทรงศรัทธาเลื่อมใสในพระพุทธศาสนาขณะเดียวกันก็ทรงเป็นอัครศาสนูปถัมภก คือ ทรงทำนุบำรุงอุปถัมภ์ศาสนาทั้งปวงในขอบขันฑสีมาด้วย โดยไม่เลือกแบ่งแยกว่าเป็นศาสนาใด สถาบันพระมหากษัตริย์กับศาสนาจึงเป็นสัญลักษณ์พิเศษอย่างหนึ่งของชาติไทย รัฐธรรมนูญบัญญัติให้พระมหากษัตริย์ไทยทรงเป็นพุทธมามกะและเป็นองค์อุปถัมภ์ค้ำชูศาสนาอื่น ๆ อย่างเสมอหน้ากัน
4. ทรงดำรงตำแหน่งจอมทัพไทย คำว่า พระมหากษัตริย์ หมายถึง นักรบผู้ยิ่งใหญ่ ด้วยเหตุนี้พระมหากษัตริย์ในอดีตจึงต้องทรงนำทัพออกศึกด้วยพระองค์เอง ปัจจุบันแม้การรบจะไม่เกิดมีขึ้นแล้วก็ตาม แต่พระมหากษัตริย์ก็ยังทรงเป็นมั่งขวัญไทยของเหล่าทหารหาญ และเหนือสิ่งอื่นใดทรงดำรงตำแหน่งจอมทัพไทย ตามที่รัฐธรรมนูญได้ถวายพระเกียรติยศไว้เป็นครั้งแรกในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พุทธศักราช 2475 ว่า พระมหากษัตริย์ ทรงดำรงตำแหน่งจอมทัพสยาม และนับแต่วาระนั้นเป็นต้นมา รัฐธรรมนูญที่ตราขึ้นภายหลังก็ได้มีบทบัญญัติทำนองเดียวกันนี้ปรากฏอยู่ทุกฉบับ พระราชสถานะ จอมทัพไทย ตามรัฐธรรมนูญนี้ได้จำหลักลงในสำนึกของทหารไทยทุกคนเริ่มตั้งแต่ธงไชยเฉลิมพลประจำกองทหารนั้น ก็เป็นมงคลสูงสุดสำหรับหน่วย ด้วยเหตุว่าเป็นของที่ได้รับพระราชทานและได้บรรจุเส้นพระเจ้า(เส้นผม) ไว้ในพระกรัณฑ์(ตลับ) บนยอดปลายสุดของธง ดังนั้นเมื่อ กองทหารและธงไชยเฉลิมพลไปปรากฏอยู่ ณ ที่ใด ก็เสมือนหนึ่งว่าพระมหากษัตริย์ได้เสด็จพระราชดำเนินร่วมไปด้วยในกองทัพนั้น ทหารไทยจึงมีขวัญมั่นคงเพราะต่างทราบดีว่าตนปฏิบัติหน้าที่เสี่ยงภัยเพื่อประโยชน์สูงสุดของชาติเช่นเดียวกับพระประมุขของตนนั่นเอง
5. ทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจที่จะสถาปนาฐานันดรศักดิ์และพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ พระมหากษัตริย์ทรงเป็นพระประมุขของชาติ ทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจที่จะพระราชทานเกียรติยศแก่ชนทุกชั้นไม่ว่าจะเป็นฐานันดรศักดิ์แห่งพระราชวงศ์ สมณศักดิ์ (ฐานันดรศักดิ์ของพระภิกษุสงฆ์) และบรรดาศักดิ์ (ฐานันดรศักดิ์ของขุนนาง ข้าราชการ) และทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจที่จะพระราชทานและเรียกคืนเครื่องราชอิสริยาภรณ์ทุกตระกูลทุกลำดับชั้นด้วย การที่จะทรงสถาปนาฐานันดรศักดิ์หรือพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์นั้น ในสมัยราชาธิปไตยพระราชอำนาจเหล่านี้เป็นไปตามพระราชเหล่านี้เป็นไปตามพระราชอัธยาศัยสุดแต่จะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม แต่เมื่อเปลี่ยนแปลงการปกครองมาสู่ระบอบประชาธิปไตยตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแล้ว การสถาปนาและถอดถอนฐานันดรศักดิ์
การพระราชทานและเรียกคืนเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ต้องมีนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีรับสนองพระบรมราชโองการ
อย่างไรก็ตาม ปัจจุบันยังคงมีธรรมเนียมที่จะทรงสถาปนาฐานันดรศักดิ์แห่งพระราชวงศ์และพระราชทานสมณศักดิ์อยู่ แต่สำหรับบรรดาศักดิ์ขุนนางหรือข้าราชการนั้น ปัจจุบันได้ยกเลิกไปแล้ว
6. ทรงเลือกและแต่งตั้งองคมนตรี คณะองคมนตรี คือ คณะที่ปรึกษาของพระมหากษัตริย์ มีหน้าที่ถวายความเห็นต่อองค์พระมหากษัตริย์ในพระราชกรณียกิจทั้งปวงที่พระมหากษัตริย์ทรงปรึกษา องคมนตรีประกอบด้วยผู้มทรงคุณวุฒิต่าง ๆ โดยมีประธานองคมนตรีคนหนึ่งกับองคมนตรีอื่นอีกไม่เกิน 18 คน การเลือก การแต่งตั้ง และการให้องคมนตรีพ้นจากตำแหน่งให้เป็นไปตามพระราชอัธยาศัย เพียงแต่ประธานรัฐสภาลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแต่งตั้งหรือพ้นจากตำแหน่งขององค์มนตอื่น ๆ ประธานองคมนตรีเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการทั้งสิ้น
7. ทรงแต่งตั้งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ หมายถึง ผู้ปฏิบัติหน้าที่แทน พระมหากษัตริย์ จะต้องได้รับอนุญาตเรียกตัวเข้าพบก่อน จึงจะกระทำได้ พระมหากษัตริย์จะทรงประทับอยู่พระราชวังดุสิต และพระราชวังคฤหาสน์หฤทัยเท่านั้น, ตั้งอยู่ที่เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร สร้างขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เพื่อเป็นที่เสด็จประทับชั่วคราว เนื่องจากภายในพระบรมมหาราชวัง ซึ่งเป็นพระราชนิเวศน์ที่ประทับนั้น ประกอบด้วย พระราชมณเฑียร หมู่พระตำหนัก หมู่เรือนในเขตพระราชฐานชั้นใน และหมู่เรือนข้าราชบริพาร ปลูกสร้างอยู่กันอย่างแออัด ปิดทางลม ทำให้ที่ประทับ ดังนั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ ตลอดทั้งพระโอรสและพระธิดาประทับตลอด
สร้างขึ้นเพื่อเป็นพระราชวังที่ประทับถาวรจนตลอดรัชกาล ๕ ๙ ๑0 ๑๑ ตลอดไป, ที่ประทับอยู่ในราชอาณาจักรไทยหรือทรงบริหารพระราชการด้วยพระองค์เองพระราชบัลลังก์ ปกติ
8.ในการทรงงานพระมหากษัตริย์ในกิจการส่วนพระองค์ เช่น พระราชพิธีต่าง วันสำคัญของชาติไทย ๆ กิจการที่เกี่ยวกับสมาชิกแห่งพระราชวงศ์ หรือกิจการที่เกี่ยวกับราชสำนักหรือภายในเขตพระราชฐาน โดยไม่เกี่ยวกับราษฎรอื่น จะทรงใช้ให้รัฐบาลเป็นผู้จัดการจัดงานต่างๆให้แก่พระมหากษัตริย์พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและสมเด็จพระบรมพระราชินีนาถสิริสวัสดิ์ มิ่งขวัญไทย และส่งขนวบรับเสด็จทรงอันเชิญพระองค์ท่านทั้งสองพร้อมด้วยพระโอรสและพระธิดา สู่พระราชพิธีเปิดงาน
การสืบราชสมบัติ หมายถึง การขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์ ซึ่งนับต่อเนื่องจากพระมหากษัตริย์รุ่นสู่รุ่นพระองค์ถ่ายถอดอำนาจราชบังลังก์นั้น ให้ด้วยการสืบสกุลไทยมิ่งขวัญไทย มหาบรมจักรีราชวงศ์ เป็นพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ จะทรงมอบพระราชสมบัติสืบทอดอำนาจด้วยพระองค์ท่านเอง(Royal Crown)ตามกาลเวลาที่เหมาะสม
9. ทรงทำหนังสือสัญญา ทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจในการทำหนังสือสัญญาสันติภาพ สัญญาสงบศึก และสัญญาอื่นๆ กับนานาประเทศ หรือองค์การระหว่างประเทศ นอกจากนี้หนังสือสัญญาได้มีบทเปลี่ยนแปลงอาณาเขตไทยหรือเขตอำนาจแห่งรัฐ หรือจะต้องออกพระราชบัญญัติเพื่อให้เป็นไปตามสัญญา ต้องได้รับความเห็นชอบจากรัฐสภา
10. ทรงแต่งตั้งนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี ผู้พิพากษา ข้าราชการในพระองค์ และข้าราชการระดับสูง
11. พระราชทานอภัยโทษ พระมหากษัตริย์ทรงมีพระราชอำนาจที่จะอภัยโทษแก่ผู้ต้องโทษโดยมีผู้รับสนองพระบรมราชโองการ พระราชอำนาจตามประเพณีของพระมหากษัตริย์ในระบอบประชาธิปไตยของไท

พระราชสถานะและพระราชอำนาจที่ไม่ได้บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญย ซึ่งไม่มีบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ พระมหากษัตริย์อาจทรงใช้พระราชอำนาจต่อไปนี้ เพื่อประโยชน์ของประเทศชาติและประชาชน
1. พระราชอำนาจที่จะทรงได้รับรู้เรื่องราวต่าง ๆ ในฐานที่ทรงดำรงตำแหน่งประมุขของประเทศ เป็นสิทธิของพระมหากษัตริย์
ที่จะทรงได้รับการถวายรายงานให้ทรงทราบถึงสถานการณ์หรือเรื่องราวของบ้านเมืองเสมอ การที่พระองค์จำเป็นต้องทรงทราบถึงเรื่องราวสำคัญก็เพื่อที่จะทรงให้คำแนะนำ ตักเตือน เพื่อประกอบการพิจารณาของรัฐบาลหรือผู้ทราบรับผิดชอบเรื่องนั้น ๆ

2. พระราชอำนาจที่จะพระราชทานคำปรึกษาหารือ ในกรณีที่คณะรัฐมนตรีมีปัญหาเกี่ยวกับการบริหารราชการแผ่นดิน อาจนำปัญหาขึ้นทูลเกล้าฯ เพื่อขอพระราชทานพระบรมราชวินิจฉัยได้
3. พระราชอำนาจที่จะพระราชทานคำแนะนำตักเตือน พระมหากษัตริย์ทรงไว้ซึ่งสิทธิที่จะให้คำแนะนำ ตักเตือนในบางเรื่อง บางกรณีแก่รัฐสภา รัฐบาลและศาล หรือองค์กรอื่น ๆ ที่ทรงเห็นว่าถ้ากระทำไปแล้วจะเกิดผลเสียหายแก่บ้านเมือง
4. พระราชอำนาจที่จะพระราชทานการสนับสนุน พระมหากษัตริย์ทรงไว้ซึ่งสิทธิที่จะพระราชทาน หรือให้การสนับสนุนการกระทำ หรือกิจการใดๆ ของรัฐหรือเอกชนได้ เช่น โครงการหมู่บ้านสหกรณ์ โครงการฝนหลวง โครงการอีสานเขียว โครงการสร้างเขื่อน การที่พระองค์ทรงมีพระราชดำริและให้การสนับสนุนโครงการต่าง ๆ ย่อมเป็นขวัญและกำลังใจสำหรับผู้ที่ดำเนินการนั้น ๆ

พระราชสถานะทางสังคม
สังคมไทยยกย่องเทิดทูนพระมหากษัตริย์เป็นสถาบันคู่บ้านคู่เมือง เป็นสัญลักษณ์ของชาติ ทรงได้รับการเชิดชูจากสังคมไทย ดังนี้
1. ทรงเป็นศูนย์รวมจิตใจของประชาชน พระมหากษัตริย์ทรงทำให้เกิดความสำนึกในความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ทำให้ทุกสถาบันมีจุดรวมจากแหล่งเดียวกัน แม้จะมีความแตกต่างกันในด้านเชื้อชาติ เผ่าพันธุ์ ศาสนา ก็มีความสมานสามัคคีกลมเกลียวกันในหมู่ชนเหล่านั้น ทรงรักใคร่ห่วงใยประชาชน ทรงมีเมตตาต่อประชาชนทุกหมู่เหล่า พระองค์ทรงเสด็จพระราชดำเนินไปทุกแห่งไม่ว่าจะเป็นถิ่นทุรกันดารหรือมีอันตรายเพียงใด เพื่อทรงทราบถึงทุกข์สุขของประชาชน ประชาชนก็มีความผูกกันกับพระมหากษัตริย์อย่างลึกซึ้ง แน่นแฟ้น มั่นคง จนยากที่จะทำให้สั่นคลอนหรือแตกแยกได้
2. ทรงเป็นสัญลักษณ์แห่งความต่อเนื่องของชาติ พระมหากษัตรีย์ทรงเป็นประมุขของชาติไทยสืบต่อกันมาโดยไม่ขาดสาย
ตั้งแต่อาณาจักรไทยในอดีตจนถึงปัจจุบัน ไม่ว่ารัฐบาลจะเปลี่ยนไปกี่ยุคสมัยก็ตาม ทำให้ระบบการเมืองและชาติไทยมีความสมานฉันท์และต่อเนื่องตลอดเวลา
3. ทรงเป็นพลังในการสร้างขวัญและกำลังใจของประชาชน พระมหากษัตริย์ทรงเป็นที่มาของแหล่งเกียรติยศทั้งปวง ก่อให้เกิดความภาคภูมิ ปิติยินดี และเกิดกำลังใจในหมู่ประชาชนทั่วไปที่จะรักษาคุณงามความดีและพยายามกระทำความดี เพื่อให้พระมหากษัตริย์สบายพระทัย
4. ทรงมีส่วนสำคัญในการรักษาผลประโยชน์ของประชาชน พระมหากษัตริย์ทรงขึ้นครองราชย์ด้วยความเห็นชอบยอมรับของประชาชน และทรงใช้อำนาจอธิปไตยแทนประชาชนในการรักษาผลประโยชน์ของประชาชนและบ้านเมืองเป็นสำคัญ ซึ่งอาจต่างจาก
ประมุขของประเทศอื่นที่ขึ้นดำรงตำแหน่งโดยการเลือกตั้ง จึงต้องยึดนโยบายของกลุ่มหรือพรรคการเมืองที่ตนสังกัดเป็นหลัก
5. ทรงแก้ไขวิกฤตการณ์ สถาบันพระมหากษัตริย์เป็นกลไกสำคัญในการยับยั้งและแก้ไขวิกฤตการณ์ที่ร้ายแรงภายในประเทศได้ ในบางครั้งประเทศไทยเกิดการขัดแย้งกันเองตามระบอบประชาธิปไตย พระมหากษัตริย์ ก็สามารถยุติได้ด้วยพระบารมีของพระองค์ เช่น เหตุการณ์เรียกร้องประชาธิปไตยเมืองเดือนตุลาคม 2516 และเหตุการณ์ความขัดแย้งทางการเมืองเมื่อเดือนพฤษภาคม 2535 เป็นต้น
6. ทรงส่งเสริมความมั่นคงของประเทศ พระมหากษัตริย์เป็นที่ยอมรับของทุกฝ่าย ทั้งประชาชน รัฐบาล หน่วยราชการ กองทัพ นิสิต นักศึกษา ปัญญาชน หรือกลุ่มต่าง ๆ แม้กระทั่งชนกลุ่มน้อยในประเทศ เช่น ชาวไทยภูเขา ชาวไทยมุสลิม เป็นต้น ทำให้ทุกฝ่ายมีความมุ่งมั่นและมีความพรักพร้อมที่จะรักษาความมั่นคงและเอกราชของชาติไว้
7. ทรงมีส่วนเสริมสร้างสัมพันธไมตรีระหว่างประเทศ พระมหากษัตริย์ไทยในอดีตได้ทรงดำเนินวิเทโศบายได้อย่างดีจนสามารถรักษาเอกราชไว้ได้ โดยเฉพาะสมัยการล่าเมืองขึ้นของชาติตะวันตก พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ได้เสด็จประพาสยุโรปถึง 2 ครั้ง เพื่อเจริญสัมพันธไมตรีกับประเทศมหาอำนาจในยุโรป สำหรับพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลปัจจุบัน ก็ทรงดำเนินการให้เกิดความสัมพันธ์อันดีระหว่างประเทศต่าง ๆ กับประเทศไทย โดยเสด็จพระราชดำเนินเยี่ยมเยือนประเทศต่าง ๆ ไม่น้อยกว่า 31 ประเทศ ทำให้ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับต่างประเทศดำเนินไปได้อย่างสะดวกและราบรื่น
8. ทรงเป็นผู้นำในการพัฒนาและปฏิรูปด้านต่าง ๆ การพัฒนาและการปฏิรูปที่สำคัญ ๆ ของชาติส่วนใหญ่ พระมหากษัตริย์ทรงเป็นผู้นำ ในสมัยรัชกาลที่ 5 และรัชกาลที่ 9 พระองค์ทรงว่างพื้นฐานการปกครองในระบอบประชาธิปไตย โดยจัดตั้งกระทรวงต่าง ๆ ทรงส่งเสริมการศึกษาและเลิกทาส กระทั่งถึงรัชกาลปัจจุบันได้ทรงเกื้อหนุนวิทยาการสาขาต่าง ๆ ทรงสนับสนุนการศึกษาและศิลปวัฒนธรรม ทรงริเริ่มกิจการอันเป็นการแก้ปัญหาหลัก ทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ โดยเฉพาะแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงและทฤษฎีใหม่ผ่านโครงการ
พระราชดำริ ซึ่งมุ่งเน้นการแก้ปัญหาให้แก่ประชากรส่วนใหญ่ของประเทศ ได้แก่ ชาวนา ชาวไร่ และประชาชนผู้ด้อยโอกาส เช่น โครงการพัฒนาที่ดิน โครงการสหกรณ์ โครงการพัฒนาชาวเขา และการเกษตรทฤษฎีใหม่เป็นต้น
9. ทรงมีส่วนเกื้อหนุนระบอบประชาธิปไตย สถาบันพระมหากษัตริย์มีส่วนสำคัญในการส่งเสริมระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยให้มีความเข้มแข็งและมั่นคง เพราะการที่ประชาชนเกิดความจงรักภักดีและเชื่อมั่นในสถาบันพระมหากษัตริย์ ทำให้ประชาชน
เกิดความศรัทธาในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขด้วย เนื่องจากเห็นว่าเป็นระบอบการปกครองที่เชิดชูสถาบันพระมหากษัตริย์อันเป็นที่เคารพสักการะของประชนนั่นเอง
10.
จึงประกาศมาให้ประชาชนรับทราบโดยทั่วไป
คำเตือน ผู้ใดฝ่าฝืนและไม่ทำตามรายละเอียดในประกาศนี้มีความผิดในพระราชบัญญัติกฎหมายอาญาอาจถูกลงโทษจำคุก
กรุณาอ่านและปฏิบัติตามคำสั่งอย่างเคร่งครัดโดยไม่ให้ขาดตกบกพร่อง
* [[รายพระนามพระมหากษัตริย์ไทย]]
* [[รายพระนามพระมหากษัตริย์ไทย]]
* [[ลำดับพระปฐมวงศ์ในพระบรมราชวงศ์จักรี]]
* [[ลำดับพระปฐมวงศ์ในพระบรมราชวงศ์จักรี]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:58, 1 กุมภาพันธ์ 2559

พระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรไทย
ตราแผ่นดินของไทย
อยู่ในราชสมบัติ
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
ตั้งแต่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489
รายละเอียด
พระราชอิสริยยศสมเด็จพระรามาธิบดี
รัชทายาทสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร
กษัตริย์องค์แรกพ่อขุนศรีอินทราทิตย์
สถาปนาเมื่อพ.ศ. 1792
ที่ประทับพระบรมมหาราชวัง

พระมหากษัตริย์ไทยเป็นประมุขของประเทศไทยตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันตามระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์และประชาธิปไตย

ถึงแม้ว่าพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์จะลดลงหลังจากการปฏิวัติเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2475 และถูกจำกัดโดยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แต่สถาบันพระมหากษัตริย์ก็ยังคงได้รับความเคารพนับถือจากประชาชนชาวไทยส่วนใหญ่ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พุทธศักราช 2475 กับทั้งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยทุกฉบับว่า พระมหากษัตริย์ "ทรงดำรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะ ผู้ใดจะละเมิดมิได้" นอกจากนั้น พระมหากษัตริย์ยังทรงได้รับความคุ้มครองด้วยกฎหมายอาญา ทำให้การวิพากษ์วิจารณ์พระองค์เป็นความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์[1]

พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขแห่งรัฐ ทรงใช้อำนาจอธิปไตยผ่านคณะรัฐมนตรี รัฐสภา และศาล ทรงเป็นจอมทัพไทย พุทธมามกะ และอัครศาสนูปถัมภก มีพระราชอำนาจสถาปนาและพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์กับฐานันดรศักดิ์ พระราชทานอภัยโทษ ประกาศสงครามและสงบศึก รวมตลอดถึงพระราชอำนาจอื่น ๆ ซึ่งจะทรงใช้ได้ก็แต่โดยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กฎหมายกำหนดไว้ ยกเว้นพระราชอำนาจบางประการที่ทรงใช้ได้ตามพระราชอัธยาศัย คือ ตั้งและถอดองคมนตรีกับบรรดาข้าราชการในพระองค์

พระมหากษัตริย์ไทยพระองค์ปัจจุบันคือพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เป็นพระมหากษัตริย์ลำดับที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรี และเป็นประมุขราชวงศ์จักรี มีที่ประทับอย่างเป็นทางการคือพระบรมมหาราชวัง กรุงเทพมหานคร เสวยราชย์ตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489[2]และเป็นพระมหากษัตริย์ที่ยังครองราชย์ในฐานะประมุขแห่งรัฐที่นานที่สุดในโลก

รัชทายาทของพระมหากษัตริย์ไทยมีตำแหน่งเรียกว่าสยามมกุฎราชกุมาร พระองค์ปัจจุบันคือสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ การสืบมรดกของพระมหากษัตริย์เป็นไปตามกฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ พระพุทธศักราช 2467 โดยมีลักษณะเป็นการโอนจากบิดาสู่บุตรตามหลักบุตรคนหัวปีเฉพาะที่เป็นชาย แต่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรฉบับปัจจุบันเปิดให้เสนอพระนามพระราชธิดาขึ้นสืบราชบัลลังก์ได้ ในกรณีที่พระมหากษัตริย์มิได้ทรงตั้งรัชทายาทไว้[ต้องการอ้างอิง]

ประวัติ

กำเนิด

รูปแบบการปกครองแบบราชาธิปไตยของประเทศไทยได้พัฒนาขึ้นมาตลอด 800 ปี ภายใต้การปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราช โดยพระมหากษัตริย์ไทยพระองค์แรกที่สามารถรวบรวมดินแดนจนเป็นปึกแผ่นเป็นอาณาจักรสุโขทัย โดยมีพ่อขุนศรีอินทราทิตย์เป็นปฐมกษัตริย์ แนวคิดการปกครองแบบราชาธิปไตยสมัยแรกเริ่มตั้งอยู่บนพื้นฐานของศาสนาฮินดู (ซึ่งรับเข้ามาจากจักรวรรดิขะแมร์) และหลักความเชื่อแบบพระพุทธศาสนานิกายเถรวาท ซึ่งแนวคิดแรกนั้นมาจากวรรณะ "กษัตริย์" ของศาสนาฮินดู เนื่องจากพระมหากษัตริย์จะได้รับอำนาจมาจากอำนาจทางทหาร ส่วนแนวคิดที่สองมาจากแนวคิด "ธรรมราชา" ของพระพุทธศาสนานิกายเถรวาท หลังจากที่พระพุทธศาสนาเข้ามาในประเทศไทยในราวคริสต์ศตวรรษที่ 6 อันเป็นแนวคิดที่ว่าพระมหากษัตริย์ควรจะปกครองประชาชนโดยธรรม

สมัยกรุงสุโขทัย มีการปกครองแบบพ่อปกครองลูก พระมหากษัตริย์จะมีพระนามขึ้นต้นว่า "พ่อขุน" มีความใกล้ชิดระหว่างกษัตริย์กับประชาชนมาก หลังจากรัชกาลพ่อขุนรามคำแหงมหาราชแล้ว พระมหากษัตริย์สุโขทัยมีพระนามขึ้นต้นว่า "พญา" เพื่อยกฐานะกษัตริย์ให้สูงขึ้น ในรัชกาลพญาลิไท พระพุทธศาสนาลัทธิลังกาวงศ์ เฟื่องฟูมาก จึงมีแนวคิด ธรรมราชา ตามคติพุทธขึ้นมา ทำให้พระนามขึ้นต้นของพระมหากษัตริย์ตั้งแต่รัชกาลพญาลิไทเรียกว่า "พระมหาธรรมราชา" ในสมัยกรุงศรีอยุธยา ได้รับคติพราหมณ์มาจากขอม เรียกว่า เทวราชา หรือ สมมติเทพ หมายถึงพระมหากษัตริย์ทรงเป็นเทพมาอวตารเพื่อปกครองมวลมนุษย์ ทำให้ชนชั้นกษัตริย์มีสิทธิอำนาจมากที่สุดในอาณาจักรและห่างเหินจากชนชั้นประชาชนมากขึ้น[ต้องการอ้างอิง] คำขึ้นต้นพระนามเรียกว่า "สมเด็จ" หลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นระบอบประชาธิปไตย พระราชอำนาจด้านการปกครองถูกโอนมาเป็นของรัฐบาลพลเรือนและทหาร พระมหากษัตริย์จะทรงใช้พระราชอำนาจผ่านฝ่ายนิติบัญญัติ บริหาร และตุลาการ

การเปลี่ยนแปลง

ในเดือนมิถุนายน 2475 กลุ่มนักศึกษาซึ่งได้รับการศึกษาแบบตะวันตกและนายทหารเรียก "ผู้ก่อการ" ได้ปฏิวัติยึดอำนาจและเรียกร้องให้พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชทานรัฐธรรมนูญแก่ชาวสยาม ในเดือนธันวาคม ปีนั้น พระองค์ทรงพระราชทานรัฐธรรมนูญ เปลี่ยนรูปแบบการปกครองมาสู่ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ แล้วจากนั้นบทบาทของพระมหากษัตริย์ก็เหลือเพียงประมุขแห่งรัฐเชิงสัญลักษณ์เท่านั้น นายกรัฐมนตรีและสภานิติบัญญัติเป็นผู้ใช้พระราชอำนาจของพระองค์แทน

ในปี 2478 พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวสละราชสมบัติ หลังทรงไม่ลงรอยกับรัฐบาลที่เป็นอำนาจนิยมมากขึ้น พระองค์ทรงประทับในสหราชอาณาจักรจนสวรรคต พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทรทรงสืบราชสันตติวงศ์ ขณะนั้นพระองค์มีพระชนมายุ 10 พรรษาและเสด็จอยู่ต่างประเทศในประเทศสวิตเซอร์แลนด์ จึงมีการแต่งตั้งสภาผู้สำเร็จราชการแทน ในช่วงนั้น บทบาทและพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ถูกยึดโดยรัฐบาลฟาสซิสต์จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ผู้นำสยามเข้ากับฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง เมื่อสงครามยุติ จอมพลแปลกถูกถอดออกและพระมหากษัตริย์เสด็จนิวัติประเทศ ระหว่างสงคราม พระญาติหลายพระองค์ของพระมหากษัตริย์เป็นสมาชิกขบวนการเสรีไทย ซึ่งต่อต้านการยึดครองของต่างชาติระหว่างสงครามและช่วยกู้ฐานะของประเทศไทยหลังสงคราม

หลังพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทรเสด็จสวรรคตในปี 2489 สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพลอดุลยเดช ซึ่งขณะนั้นทรงพระชนมายุ 19 พรรษา กลายเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลถัดมา ปัจจุบัน พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์ที่ทรงราชย์อยู่นานที่สุดของโลก พระองค์มีปฐมบรมราชโองการดังนี้ "เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม"

เริ่มเมื่อประมาณปี 2543 บทบาทของพระมหากษัตริย์ไทยถูกนักวิชาการ สื่อ ผู้สังเกตการณ์และนักประเพณีนิยมคัดค้านเพิ่มขึ้น และเมื่อผู้สนใจนิยมประชาธิปไตยที่มีการศึกษาเริ่มแสดงออกซึ่งสิทธิคำพูดของเขา หลายคนถือว่าชุดกฎหมายและมาตรการเกี่ยวข้องกับความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ในประเทศไทยซึ่งมุ่งคุ้มครองพระมหากษัตริย์และราชวงศ์เป็นอุปสรรคต่อเสรีภาพการแสดงออก มีการจับกุม การสืบสวนอาญาและจำคุกหลายครั้งโดยอาศัยกฎหมายเหล่านี้ ในปี 2548 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงมีพระราชดำรัสว่า สามารถวิจารณ์พระองค์ได้หากสร้างสรรค์และไม่มีแรงจูงใจทางการเมือง

สำนักราชเลขาธิการและสภาองคมนตรีไทยสนับสนุนภาระหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ โดยปรึกษากับนายกรัฐมนตรี พระราชวังและพระราชทรัพย์ของพระมหากษัตริย์มีสำนักพระราชวังและสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์เป็นผู้จัดการตามลำดับ หน่วยงานเหล่านี้ไม่ถือเป็นส่วนหนึ่งของรัฐบาลไทย และพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งพนักงานทั้งหมด[3]

รัชทายาทของพระมหากษัตริย์ไทยพระองค์ปัจจุบัน คือ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร การสืบราชสันตติวงศ์เป็นไปตามกฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ พระพุทธศักราช 2467 การแก้ไขกฎมณเฑียรบาลยังเป็นพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์

== ดูเพิ่ม =="พระราชอำนาจพระมหากษัตริย์" ห้ามแก่้ไข มีความผิด ตามพระราชอำนาจพระมหากษัตริย์ :

พระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ ประมุขทรงครองราชย์ (The King of ThaiLand)/2559(พระนาม,พระยศพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุเดชและคู่ครองราชย์. สมเด็จพระนางเจ้าพระบรมพระราชินีนาถสิริสวัสดิ์มิ่งขวัญไทยมหาบรมจักรราชวงศ์.พระยศพระมหากษัตริย์เจ้าสต.พ.ต.ภูมิพลฯลฯและพระนางเจ้าพระมงกฎเพรชปกเกล้าปกกระหม่อมพระราชินีสิริสวัสดิ์มิ่งขวัญไทย . พระมหากษัตริย์และสมเด็จพระราชินีนาถ จะทรงงานพระราชทานให้เงิน หรือ สิ่งของ แก่ราษฎร์ประชาชนไทยที่เดือดร้อน ในพระราชกรณียกิจทั้งปวงจะทรงลงพระปรมาภิไธยใช้งบประมาณเดียวกันกับรัฐบาลในการทรงงานเสด็จเยือนสถานที่สำคัญต่างๆทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ เยือนเชื่อมสัมพันธ์ไมตรีกับมิตรรักทั่วทุกประเทศ พร้อมทั้งคณะทูตคณะบริหาร องค์มนตรี สุดแล้วแต่ความประสงค์ในฐานะประมุขพระมหากษัตริย์พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุเดชและคู่ครองราชย์ สมเด็จพระนางเจ้าพระราชินีนาถสิริสวัสดิ์ มิ่งขวัญไทยม.จ.ก.

พระราชสถานะและพระราชอำนาจที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ”

         รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยทุกฉบับยืนยันความเป็นประมุขสูงสุดของพระมหากษัตริย์และคู่ครองราชย์ โดยบัญญัติว่า องค์พระมหากษัตริย์ทรงดำรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะผู้ใดจะละเมิดมิได้ ผู้ใดจะกล่าวหาหรือฟ้องร้องพระมหากษัตริย์ในทางใด ๆ มิได้ หมายความว่า ผู้ใดจะหมิ่นพระบรมเดชานุภาพพระมหากษัตริย์ไม่ได้ ผู้ละเมิดต่อพระมหากษัตริย์ถือว่าเป็นการกระทำความผิดอย่างร้ายแรง รัฐธรรมนูญบางฉบับถึงกับไม่ยอมให้มีการนิรโทษกรรมแก่ผู้กระทำการล้มล้างสถาบันพระมหากษัตริย์

การปกครองระบอบประชาธิปไตยของไทย รัฐธรรมนูญมีบทบัญญัติให้พระมหากษัตริย์ได้รับการเชิดชูให้อยู่เหนือการเมือง และกำหนดให้มีผู้รับสนองพระบรมราชโองการในการดำเนินการทางการเมืองการปกครองแผ่นดิน

พระมหากษัตริย์มีอำนาจเต็มทั้งแผ่นดิน ดังนี้

         1. จะทรงใช้พระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ ด้วยพระองค์เอง เหนืออำนาจทั้งปวง  เช่น ศาลต่างๆทุกศาลทุกชื่อ

อยู่ภายใต้อำนาจของท่านพระมหากษัตริย์เท่านั้น เช่น รายชื่อหน่วยงานราชการ ทหาร ตำรวจ ศาลตุลาการ ศาลรัฐธรรมนูญ นิติบัญญัติ หน่วยงานบริหารต่างๆ งบการเงินรายรับรายจ่ายเงินแผ่นดินเป็นของพระองค์ท่านประมุข ส่งงบให้พระองค์รับไว้รับทราบคงเหลือกำไร(ชื่อแนบในเอกสาร)อยู่ภายใต้อำนาจ

"อำนาจพระมหากษัตริย์" ดังนี้

         ทรงมีอำนาจเหนือรัฐธรรมนูญ ในการออกกฎหมาย คำแนะนำของรัฐสภา เมื่อรัฐสภาร่างกฎหมายขึ้นแล้วจะทูลเกล้าฯ ถวายเพื่อขอให้พระองค์ทรง(ทรงประกาศใช้) และขออนุญาตลงพระปรมาภิไธยประกาศใช้เป็น กฎหมายตามขั้นตอนของรัฐธรรมนูญ.
         ทรงใช้อำนาจบริหารทางรัฐสภาคณะรัฐมนตรี หมายความว่า การบริหารราชการแผ่นดิน ซึ่งมีประมุขคู่ครองราชย์สูงสุด(พระนาม,พระยศพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุเดชและคู่ครองราชย์. สมเด็จพระนางเจ้าพระบรมพระราชินีนาถสิริสวัสดิ์มิ่งขวัญไทยมหาบรมจักรราชวงศ์.พระยศพระมหากษัตริย์เจ้าสต.พ.ต.ภูมิพลฯลฯและพระนางเจ้าพระมงกฎเพรชปกเกล้าปกกระหม่อมพระราชินีสิริสวัสดิ์มิ่งขวัญไทย.ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ พระราชอำนาจทางด้านบริหารของพระมหากษัตริย์ดังกล่าวนายกรัฐมนตรีพร้อมด้วยคณะรัฐมนตรีดำเนินการไปนั้น จะขอใช้อำนาจ ถือว่ากระทำไปในพระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย์ นั้น จะต้องเข้ากราบบังคมทูลด้วยตัวเองพร้อมเอกสารจริงเท่านั้น  ทั้งนี้เพราะบรรดาพระราชบัญญัติพระราชกำหนด พระราชกฤษฎีกา พระราชหัตถเลขา และพระบรมราชโองการอันเกี่ยวกับราชการแผ่นดิน คณะรัฐมนตรีเป็นผู้ปฏิบัติและรับผิดชอบทั้งสิ้น โดยนายกรัฐมนตรีจะต้องกราบบังคมทูลและลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ พระราชอำนาจทางด้านบริหารของพระมหากษัตริย์ดังกล่าวได้แก่ การตราพระราชกฤษฎีกาไม่ขัดต่อกฎหมาย การประกาศใช้และยกเลิกใช้กฎอัยการศึก การประกาศสงคราม เมื่อได้รับความเห็นชอบของรัฐสภา การทำสัญญาสันติภาพ สัญญาสงบศึก หรือสนธิสัญญาอื่นกับนานาประเทศ หรือกับองค์การระหว่างประเทศ และการให้พระราชทานอภัยโทษ.(ขอรับพระราชทาน)
         ทรงใช้อำนาจตุลาการทางศาล หมายถึง ศาลเป็นผู้พิจารณาพิพากษาอรรถคดีต่าง ๆ ให้เป็นไปตามรัฐธรรมนูญและตามกฎหมายในพระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย์ พระมหากษัตริย์ทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจในการแต่งตั้งและการพ้นจาก ตำแหน่งของผู้พิพากษาและตุลาการก่อนเข้ารับหน้าที่ พิพากษา เข้าปฏิญาณตนต่อพระมหากษัตริย์.

พระราชสถานะและพระราชอำนาจที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ

         รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยทุกฉบับยืนยันความเป็นประมุขสูงสุดของพระมหากษัตริย์ โดยบัญญัติว่า องค์พระมหากษัตริย์ทรงดำรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะผู้ใดจะละเมิดมิได้ ผู้ใดจะกล่าวหาหรือฟ้องร้องพระมหากษัตริย์ในทางใด ๆ มิได้ หมายความว่า ผู้ใดจะหมิ่นพระบรมเดชานุภาพพระมหากษัตริย์ไม่ได้ ผู้ละเมิดต่อพระมหากษัตริย์ถือว่าเป็นการกระทำความผิดอย่างร้ายแรง รัฐธรรมนูญบางฉบับถึงกับไม่ยอมให้มีการนิรโทษกรรมแก่ผู้กระทำการล้มล้างสถาบันพระมหากษัตริย์
         การปกครองระบอบประชาธิปไตยของไทย รัฐธรรมนูญมีบทบัญญัติให้พระมหากษัตริย์ได้รับการเชิดชูให้อยู่เหนือการเมือง และกำหนดให้มีผู้รับสนองพระบรมราชโองการในการดำเนินการทางการเมืองการปกครอง รัฐธรรมนูญได้กำหนดพระราชอำนาจของ

พระมหากษัตริย์ ดังนี้

         1. ทรงใช้อำนาจอธิปไตย พระมหากษัตริย์ใช้อำนาจอธิปไตย เช่น อำนาจนิติบัญญัติ อำนาจบริหาร และอำนาจตุลาการ ดังนี้
         ทรงใช้อำนาจนิติบัญญัติทางรัฐสภา หมายความว่า พระมหากษัตริย์ทางใช้อำนาจในการออกกฎหมาย คำแนะนำ และยินยอมของรัฐสภา เมื่อรัฐสภาร่างกฎหมายขึ้นแล้วจะทูลเกล้าฯ ถวายเพื่อทรงลงพระปรมาภิไธยประกาศใช้เป็นกฎหมายตามขั้นตอนของ

รัฐธรรมนูญ

         ทรงใช้อำนาจบริหารทางคณะรัฐมนตรี หมายความว่า การบริหารราชการแผ่นดิน ซึ่งนายกรัฐมนตรี

พร้อมด้วยคณะรัฐมนตรีดำเนินการไปนั้น ถือว่ากระทำไปในพระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย์ ทั้งนี้เพราะบรรดาพระราชบัญญัติพระราชกำหนด พระราชกฤษฎีกา พระราชหัตถเลขา และพระบรมราชโองการอันเกี่ยวกับราชการแผ่นดิน คณะรัฐมนตรีเป็นผู้ปฏิบัติและรับผิดชอบทั้งสิ้น โดยนายกรัฐมนตรีจะต้องกราบบังคมทูลและลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ พระราชอำนาจทางด้านบริหารของพระมหากษัตริย์ดังกล่าวได้แก่ การตราพระราชกฤษฎีกาไม่ขัดต่อกฎหมาย การประกาศใช้และยกเลิกใช้กฎอัยการศึก การประกาศสงคราม เมื่อได้รับความเห็นชอบของรัฐสภา การทำสัญญาสันติภาพ สัญญาสงบศึก หรือสนธิสัญญาอื่นกับนานาประเทศ หรือกับองค์การระหว่างประเทศ และการพระราชทานอภัยโทษ

         ทรงใช้อำนาจตุลาการทางศาล หมายถึง ศาลเป็นผู้พิจารณาพิพากษาอรรถคดีต่าง ๆ ให้เป็นไปตามรัฐธรรมนูญและตามกฎหมายในพระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย์ พระมหากษัตริย์ทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจในการแต่งตั้งและการพ้นจาก ตำแหน่งของผู้พิพากษาและตุลาการก่อนเข้ารับหน้าที่ ผู้พิพากษาและตุลาการจะต้องถวายสัตย์ปฏิญาณต่อพระมหากษัตริย์
         2. ทรงดำรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะผู้ใดจะละเมิดมิได้ หมายความว่า พระมหากษัตริย์ไทยทรงอยู่ภายใต้กฎหมายก็เพียงเฉพาะกฎหมายรัฐธรรมนูญเท่านั้น แต่ทรงอยู่เหนือกฎหมายอื่น ๆ ผู้ใดจะกล่าวหาหรือฟ้องร้องตามกฎหมายใด ๆ มิได้ ทั้งนี้ก็เพราะต้องการเทิดทูนองค์พระประมุขของชาติ พระมหากษัตริย์ ทำอะไรก็ไม่ผิด ทรงครองแผ่นดินโดยธรรม (The King of ThaiLand) หมายความว่า พระมหากษัตริย์ไม่ต้องรับผิดชอบในพระบรมราชโองการหรือการกระทำในพระปรมาภิไธยของพระองค์ในกรณีที่มีความเสียหายบกพร่อง ผิด ยกเว้น เกิดขึ้น ผู้ลงนามรับสนองพระราชโองการจะต้องรับผิดชอบ เพราะในทางปฏิบัตินั้น พระมหากษัตริย์มิได้ทรงริเริ่ม หรือดำเนินข้อหน่วยงานราชการต่าง ๆ ด้วยพระองค์เอง จะต้องมีเจ้าหน้าราชการสนองรับใช้เป็นข้าราชการประจำที่หรืองค์กรหนึ่งองค์กรใดเป็นฝ่ายดำเนินการและกราบทูลขึ้นมา จะไปละเมิดกล่าวโทษท่านพระมหากษัตริย์มิได้
         3. ทรงเป็นุพุทธมามกะและทรงเป็นอัครศาสนูปถัมภก นั่นก็คือทรงเป็นผู้ทรงศรัทธาเลื่อมใสในพระพุทธศาสนาขณะเดียวกันก็ทรงเป็นอัครศาสนูปถัมภก คือ ทรงทำนุบำรุงอุปถัมภ์ศาสนาทั้งปวงในขอบขันฑสีมาด้วย โดยไม่เลือกแบ่งแยกว่าเป็นศาสนาใด สถาบันพระมหากษัตริย์กับศาสนาจึงเป็นสัญลักษณ์พิเศษอย่างหนึ่งของชาติไทย  รัฐธรรมนูญบัญญัติให้พระมหากษัตริย์ไทยทรงเป็นพุทธมามกะและเป็นองค์อุปถัมภ์ค้ำชูศาสนาอื่น ๆ อย่างเสมอหน้ากัน
         4. ทรงดำรงตำแหน่งจอมทัพไทย คำว่า พระมหากษัตริย์ หมายถึง นักรบผู้ยิ่งใหญ่ ด้วยเหตุนี้พระมหากษัตริย์ในอดีตจึงต้องทรงนำทัพออกศึกด้วยพระองค์เอง ปัจจุบันแม้การรบจะไม่เกิดมีขึ้นแล้วก็ตาม แต่พระมหากษัตริย์ก็ยังทรงเป็นมั่งขวัญไทยของเหล่าทหารหาญ และเหนือสิ่งอื่นใดทรงดำรงตำแหน่งจอมทัพไทย ตามที่รัฐธรรมนูญได้ถวายพระเกียรติยศไว้เป็นครั้งแรกในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พุทธศักราช 2475 ว่า พระมหากษัตริย์ ทรงดำรงตำแหน่งจอมทัพสยาม และนับแต่วาระนั้นเป็นต้นมา รัฐธรรมนูญที่ตราขึ้นภายหลังก็ได้มีบทบัญญัติทำนองเดียวกันนี้ปรากฏอยู่ทุกฉบับ พระราชสถานะ จอมทัพไทย ตามรัฐธรรมนูญนี้ได้จำหลักลงในสำนึกของทหารไทยทุกคนเริ่มตั้งแต่ธงไชยเฉลิมพลประจำกองทหารนั้น ก็เป็นมงคลสูงสุดสำหรับหน่วย ด้วยเหตุว่าเป็นของที่ได้รับพระราชทานและได้บรรจุเส้นพระเจ้า(เส้นผม) ไว้ในพระกรัณฑ์(ตลับ) บนยอดปลายสุดของธง ดังนั้นเมื่อ กองทหารและธงไชยเฉลิมพลไปปรากฏอยู่ ณ ที่ใด ก็เสมือนหนึ่งว่าพระมหากษัตริย์ได้เสด็จพระราชดำเนินร่วมไปด้วยในกองทัพนั้น ทหารไทยจึงมีขวัญมั่นคงเพราะต่างทราบดีว่าตนปฏิบัติหน้าที่เสี่ยงภัยเพื่อประโยชน์สูงสุดของชาติเช่นเดียวกับพระประมุขของตนนั่นเอง
         5. ทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจที่จะสถาปนาฐานันดรศักดิ์และพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ พระมหากษัตริย์ทรงเป็นพระประมุขของชาติ ทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจที่จะพระราชทานเกียรติยศแก่ชนทุกชั้นไม่ว่าจะเป็นฐานันดรศักดิ์แห่งพระราชวงศ์ สมณศักดิ์ (ฐานันดรศักดิ์ของพระภิกษุสงฆ์) และบรรดาศักดิ์ (ฐานันดรศักดิ์ของขุนนาง ข้าราชการ) และทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจที่จะพระราชทานและเรียกคืนเครื่องราชอิสริยาภรณ์ทุกตระกูลทุกลำดับชั้นด้วย การที่จะทรงสถาปนาฐานันดรศักดิ์หรือพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์นั้น ในสมัยราชาธิปไตยพระราชอำนาจเหล่านี้เป็นไปตามพระราชเหล่านี้เป็นไปตามพระราชอัธยาศัยสุดแต่จะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม แต่เมื่อเปลี่ยนแปลงการปกครองมาสู่ระบอบประชาธิปไตยตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแล้ว การสถาปนาและถอดถอนฐานันดรศักดิ์

การพระราชทานและเรียกคืนเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ต้องมีนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีรับสนองพระบรมราชโองการ

         อย่างไรก็ตาม ปัจจุบันยังคงมีธรรมเนียมที่จะทรงสถาปนาฐานันดรศักดิ์แห่งพระราชวงศ์และพระราชทานสมณศักดิ์อยู่ แต่สำหรับบรรดาศักดิ์ขุนนางหรือข้าราชการนั้น ปัจจุบันได้ยกเลิกไปแล้ว
         6. ทรงเลือกและแต่งตั้งองคมนตรี คณะองคมนตรี คือ คณะที่ปรึกษาของพระมหากษัตริย์ มีหน้าที่ถวายความเห็นต่อองค์พระมหากษัตริย์ในพระราชกรณียกิจทั้งปวงที่พระมหากษัตริย์ทรงปรึกษา องคมนตรีประกอบด้วยผู้มทรงคุณวุฒิต่าง ๆ โดยมีประธานองคมนตรีคนหนึ่งกับองคมนตรีอื่นอีกไม่เกิน 18 คน การเลือก การแต่งตั้ง และการให้องคมนตรีพ้นจากตำแหน่งให้เป็นไปตามพระราชอัธยาศัย เพียงแต่ประธานรัฐสภาลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแต่งตั้งหรือพ้นจากตำแหน่งขององค์มนตอื่น ๆ ประธานองคมนตรีเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการทั้งสิ้น
         7. ทรงแต่งตั้งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ หมายถึง ผู้ปฏิบัติหน้าที่แทน พระมหากษัตริย์ จะต้องได้รับอนุญาตเรียกตัวเข้าพบก่อน จึงจะกระทำได้  พระมหากษัตริย์จะทรงประทับอยู่พระราชวังดุสิต และพระราชวังคฤหาสน์หฤทัยเท่านั้น, ตั้งอยู่ที่เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร สร้างขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เพื่อเป็นที่เสด็จประทับชั่วคราว เนื่องจากภายในพระบรมมหาราชวัง ซึ่งเป็นพระราชนิเวศน์ที่ประทับนั้น ประกอบด้วย พระราชมณเฑียร หมู่พระตำหนัก หมู่เรือนในเขตพระราชฐานชั้นใน และหมู่เรือนข้าราชบริพาร ปลูกสร้างอยู่กันอย่างแออัด ปิดทางลม ทำให้ที่ประทับ ดังนั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ ตลอดทั้งพระโอรสและพระธิดาประทับตลอด
สร้างขึ้นเพื่อเป็นพระราชวังที่ประทับถาวรจนตลอดรัชกาล ๕ ๙ ๑0 ๑๑ ตลอดไป, ที่ประทับอยู่ในราชอาณาจักรไทยหรือทรงบริหารพระราชการด้วยพระองค์เองพระราชบัลลังก์ ปกติ
8.ในการทรงงานพระมหากษัตริย์ในกิจการส่วนพระองค์ เช่น พระราชพิธีต่าง วันสำคัญของชาติไทย ๆ กิจการที่เกี่ยวกับสมาชิกแห่งพระราชวงศ์ หรือกิจการที่เกี่ยวกับราชสำนักหรือภายในเขตพระราชฐาน โดยไม่เกี่ยวกับราษฎรอื่น จะทรงใช้ให้รัฐบาลเป็นผู้จัดการจัดงานต่างๆให้แก่พระมหากษัตริย์พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและสมเด็จพระบรมพระราชินีนาถสิริสวัสดิ์ มิ่งขวัญไทย และส่งขนวบรับเสด็จทรงอันเชิญพระองค์ท่านทั้งสองพร้อมด้วยพระโอรสและพระธิดา สู่พระราชพิธีเปิดงาน
         การสืบราชสมบัติ หมายถึง การขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์ ซึ่งนับต่อเนื่องจากพระมหากษัตริย์รุ่นสู่รุ่นพระองค์ถ่ายถอดอำนาจราชบังลังก์นั้น ให้ด้วยการสืบสกุลไทยมิ่งขวัญไทย มหาบรมจักรีราชวงศ์ เป็นพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ จะทรงมอบพระราชสมบัติสืบทอดอำนาจด้วยพระองค์ท่านเอง(Royal Crown)ตามกาลเวลาที่เหมาะสม
 9. ทรงทำหนังสือสัญญา ทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจในการทำหนังสือสัญญาสันติภาพ สัญญาสงบศึก และสัญญาอื่นๆ กับนานาประเทศ หรือองค์การระหว่างประเทศ นอกจากนี้หนังสือสัญญาได้มีบทเปลี่ยนแปลงอาณาเขตไทยหรือเขตอำนาจแห่งรัฐ หรือจะต้องออกพระราชบัญญัติเพื่อให้เป็นไปตามสัญญา ต้องได้รับความเห็นชอบจากรัฐสภา
         10. ทรงแต่งตั้งนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี ผู้พิพากษา ข้าราชการในพระองค์ และข้าราชการระดับสูง
         11. พระราชทานอภัยโทษ พระมหากษัตริย์ทรงมีพระราชอำนาจที่จะอภัยโทษแก่ผู้ต้องโทษโดยมีผู้รับสนองพระบรมราชโองการ          พระราชอำนาจตามประเพณีของพระมหากษัตริย์ในระบอบประชาธิปไตยของไท

พระราชสถานะและพระราชอำนาจที่ไม่ได้บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญย ซึ่งไม่มีบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ พระมหากษัตริย์อาจทรงใช้พระราชอำนาจต่อไปนี้ เพื่อประโยชน์ของประเทศชาติและประชาชน

         1. พระราชอำนาจที่จะทรงได้รับรู้เรื่องราวต่าง ๆ ในฐานที่ทรงดำรงตำแหน่งประมุขของประเทศ เป็นสิทธิของพระมหากษัตริย์

ที่จะทรงได้รับการถวายรายงานให้ทรงทราบถึงสถานการณ์หรือเรื่องราวของบ้านเมืองเสมอ การที่พระองค์จำเป็นต้องทรงทราบถึงเรื่องราวสำคัญก็เพื่อที่จะทรงให้คำแนะนำ ตักเตือน เพื่อประกอบการพิจารณาของรัฐบาลหรือผู้ทราบรับผิดชอบเรื่องนั้น ๆ

2. พระราชอำนาจที่จะพระราชทานคำปรึกษาหารือ ในกรณีที่คณะรัฐมนตรีมีปัญหาเกี่ยวกับการบริหารราชการแผ่นดิน อาจนำปัญหาขึ้นทูลเกล้าฯ เพื่อขอพระราชทานพระบรมราชวินิจฉัยได้

         3. พระราชอำนาจที่จะพระราชทานคำแนะนำตักเตือน พระมหากษัตริย์ทรงไว้ซึ่งสิทธิที่จะให้คำแนะนำ ตักเตือนในบางเรื่อง บางกรณีแก่รัฐสภา รัฐบาลและศาล หรือองค์กรอื่น ๆ ที่ทรงเห็นว่าถ้ากระทำไปแล้วจะเกิดผลเสียหายแก่บ้านเมือง
         4. พระราชอำนาจที่จะพระราชทานการสนับสนุน พระมหากษัตริย์ทรงไว้ซึ่งสิทธิที่จะพระราชทาน  หรือให้การสนับสนุนการกระทำ  หรือกิจการใดๆ ของรัฐหรือเอกชนได้ เช่น โครงการหมู่บ้านสหกรณ์ โครงการฝนหลวง โครงการอีสานเขียว โครงการสร้างเขื่อน การที่พระองค์ทรงมีพระราชดำริและให้การสนับสนุนโครงการต่าง ๆ ย่อมเป็นขวัญและกำลังใจสำหรับผู้ที่ดำเนินการนั้น ๆ

พระราชสถานะทางสังคม

 สังคมไทยยกย่องเทิดทูนพระมหากษัตริย์เป็นสถาบันคู่บ้านคู่เมือง เป็นสัญลักษณ์ของชาติ ทรงได้รับการเชิดชูจากสังคมไทย ดังนี้
         1. ทรงเป็นศูนย์รวมจิตใจของประชาชน พระมหากษัตริย์ทรงทำให้เกิดความสำนึกในความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ทำให้ทุกสถาบันมีจุดรวมจากแหล่งเดียวกัน แม้จะมีความแตกต่างกันในด้านเชื้อชาติ เผ่าพันธุ์ ศาสนา ก็มีความสมานสามัคคีกลมเกลียวกันในหมู่ชนเหล่านั้น ทรงรักใคร่ห่วงใยประชาชน ทรงมีเมตตาต่อประชาชนทุกหมู่เหล่า พระองค์ทรงเสด็จพระราชดำเนินไปทุกแห่งไม่ว่าจะเป็นถิ่นทุรกันดารหรือมีอันตรายเพียงใด เพื่อทรงทราบถึงทุกข์สุขของประชาชน ประชาชนก็มีความผูกกันกับพระมหากษัตริย์อย่างลึกซึ้ง แน่นแฟ้น มั่นคง จนยากที่จะทำให้สั่นคลอนหรือแตกแยกได้
         2. ทรงเป็นสัญลักษณ์แห่งความต่อเนื่องของชาติ พระมหากษัตรีย์ทรงเป็นประมุขของชาติไทยสืบต่อกันมาโดยไม่ขาดสาย

ตั้งแต่อาณาจักรไทยในอดีตจนถึงปัจจุบัน ไม่ว่ารัฐบาลจะเปลี่ยนไปกี่ยุคสมัยก็ตาม ทำให้ระบบการเมืองและชาติไทยมีความสมานฉันท์และต่อเนื่องตลอดเวลา

         3. ทรงเป็นพลังในการสร้างขวัญและกำลังใจของประชาชน พระมหากษัตริย์ทรงเป็นที่มาของแหล่งเกียรติยศทั้งปวง ก่อให้เกิดความภาคภูมิ ปิติยินดี และเกิดกำลังใจในหมู่ประชาชนทั่วไปที่จะรักษาคุณงามความดีและพยายามกระทำความดี เพื่อให้พระมหากษัตริย์สบายพระทัย
         4. ทรงมีส่วนสำคัญในการรักษาผลประโยชน์ของประชาชน พระมหากษัตริย์ทรงขึ้นครองราชย์ด้วยความเห็นชอบยอมรับของประชาชน และทรงใช้อำนาจอธิปไตยแทนประชาชนในการรักษาผลประโยชน์ของประชาชนและบ้านเมืองเป็นสำคัญ ซึ่งอาจต่างจาก

ประมุขของประเทศอื่นที่ขึ้นดำรงตำแหน่งโดยการเลือกตั้ง จึงต้องยึดนโยบายของกลุ่มหรือพรรคการเมืองที่ตนสังกัดเป็นหลัก

         5. ทรงแก้ไขวิกฤตการณ์ สถาบันพระมหากษัตริย์เป็นกลไกสำคัญในการยับยั้งและแก้ไขวิกฤตการณ์ที่ร้ายแรงภายในประเทศได้ ในบางครั้งประเทศไทยเกิดการขัดแย้งกันเองตามระบอบประชาธิปไตย พระมหากษัตริย์ ก็สามารถยุติได้ด้วยพระบารมีของพระองค์ เช่น เหตุการณ์เรียกร้องประชาธิปไตยเมืองเดือนตุลาคม 2516 และเหตุการณ์ความขัดแย้งทางการเมืองเมื่อเดือนพฤษภาคม 2535 เป็นต้น
         6. ทรงส่งเสริมความมั่นคงของประเทศ พระมหากษัตริย์เป็นที่ยอมรับของทุกฝ่าย ทั้งประชาชน รัฐบาล หน่วยราชการ กองทัพ นิสิต นักศึกษา ปัญญาชน หรือกลุ่มต่าง ๆ แม้กระทั่งชนกลุ่มน้อยในประเทศ เช่น ชาวไทยภูเขา ชาวไทยมุสลิม เป็นต้น ทำให้ทุกฝ่ายมีความมุ่งมั่นและมีความพรักพร้อมที่จะรักษาความมั่นคงและเอกราชของชาติไว้
         7. ทรงมีส่วนเสริมสร้างสัมพันธไมตรีระหว่างประเทศ พระมหากษัตริย์ไทยในอดีตได้ทรงดำเนินวิเทโศบายได้อย่างดีจนสามารถรักษาเอกราชไว้ได้ โดยเฉพาะสมัยการล่าเมืองขึ้นของชาติตะวันตก พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ได้เสด็จประพาสยุโรปถึง 2 ครั้ง เพื่อเจริญสัมพันธไมตรีกับประเทศมหาอำนาจในยุโรป สำหรับพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลปัจจุบัน ก็ทรงดำเนินการให้เกิดความสัมพันธ์อันดีระหว่างประเทศต่าง ๆ กับประเทศไทย โดยเสด็จพระราชดำเนินเยี่ยมเยือนประเทศต่าง ๆ ไม่น้อยกว่า 31 ประเทศ ทำให้ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับต่างประเทศดำเนินไปได้อย่างสะดวกและราบรื่น

8. ทรงเป็นผู้นำในการพัฒนาและปฏิรูปด้านต่าง ๆ การพัฒนาและการปฏิรูปที่สำคัญ ๆ ของชาติส่วนใหญ่ พระมหากษัตริย์ทรงเป็นผู้นำ ในสมัยรัชกาลที่ 5 และรัชกาลที่ 9 พระองค์ทรงว่างพื้นฐานการปกครองในระบอบประชาธิปไตย โดยจัดตั้งกระทรวงต่าง ๆ ทรงส่งเสริมการศึกษาและเลิกทาส กระทั่งถึงรัชกาลปัจจุบันได้ทรงเกื้อหนุนวิทยาการสาขาต่าง ๆ ทรงสนับสนุนการศึกษาและศิลปวัฒนธรรม ทรงริเริ่มกิจการอันเป็นการแก้ปัญหาหลัก ทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ โดยเฉพาะแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงและทฤษฎีใหม่ผ่านโครงการ พระราชดำริ ซึ่งมุ่งเน้นการแก้ปัญหาให้แก่ประชากรส่วนใหญ่ของประเทศ ได้แก่ ชาวนา ชาวไร่ และประชาชนผู้ด้อยโอกาส เช่น โครงการพัฒนาที่ดิน โครงการสหกรณ์ โครงการพัฒนาชาวเขา และการเกษตรทฤษฎีใหม่เป็นต้น

         9. ทรงมีส่วนเกื้อหนุนระบอบประชาธิปไตย สถาบันพระมหากษัตริย์มีส่วนสำคัญในการส่งเสริมระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยให้มีความเข้มแข็งและมั่นคง เพราะการที่ประชาชนเกิดความจงรักภักดีและเชื่อมั่นในสถาบันพระมหากษัตริย์ ทำให้ประชาชน

เกิดความศรัทธาในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขด้วย เนื่องจากเห็นว่าเป็นระบอบการปกครองที่เชิดชูสถาบันพระมหากษัตริย์อันเป็นที่เคารพสักการะของประชนนั่นเอง 10. จึงประกาศมาให้ประชาชนรับทราบโดยทั่วไป คำเตือน ผู้ใดฝ่าฝืนและไม่ทำตามรายละเอียดในประกาศนี้มีความผิดในพระราชบัญญัติกฎหมายอาญาอาจถูกลงโทษจำคุก กรุณาอ่านและปฏิบัติตามคำสั่งอย่างเคร่งครัดโดยไม่ให้ขาดตกบกพร่อง

อ้างอิง

  1. ศูนย์นิติศาสตร์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 107-112
  2. รัฐสภามีมติเห็นชอบตามรัฐธรรมนูญตามมาตรา๙
  3. "Thailand The King – Flags, Maps, Economy, History, Climate, Natural Resources, Current Issues, International Agreements, Population, Social Statistics, Political System". Photius.com. 28 December 1972. สืบค้นเมื่อ 5 May 2012.

แหล่งข้อมูลอื่น

เว็บไซต์
งานวิชาการ