วรรณะ
วรรณะ ตามรากศัพท์ (สันสกฤต: วรฺณ वर्ण; บาลี: วณฺณ) แปลว่าสี เช่น เบญจวรรณ แปลว่า ห้าสี
- ในทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
- วรรณะทางสังคม (อังกฤษ: caste) หมายถึง ระบบการแบ่งช่วงชั้นในสังคมพบได้ในหลายส่วนของโลก ไม่จำกัดศาสนาหรือเชื้อชาติ
- ระบบวรรณะในศาสนาฮินดู (อังกฤษ: Varna) เป็นการแบ่งคนเป็นสี่จำพวกด้วยฐานะทางเศรษฐกิจและสังคม มีสิทธิหน้าที่ในวรรณะตนต่างกันมาแต่กำเนิดได้แก่ พราหมณ์ กษัตริย์ แพศย์ และ ศูทร โดยมาจากรากฐานความเชื่อที่แต่ละวรรณะมีกำเนิดมาจากส่วนต่างกันของพระพรหม
- ในทางวรรณคดี วรรณ หมายถึง หนังสือ เช่น วรรณกรรม วรรณคดี
คำพ้องเสียง[แก้]
ดูเพิ่ม[แก้]
![]() |
วิกิพจนานุกรม มีความหมายของคำว่า en:varna |
อ้างอิง[แก้]
- พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542
![]() |
หน้าแก้ความกำกวมนี้รวมบทความที่มีชื่อเหมือนหรือใกล้เคียงกัน ถ้าลิงก์ภายในใดนำคุณมาหน้านี้ คุณอาจต้องการแก้ไขลิงก์ให้ชี้ไปยังหน้าที่ต้องการโดยตรง |