สมพร บุณยคุปต์
สมพร บุณยคุปต์ | |
---|---|
รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี | |
ดำรงตำแหน่ง 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2520 – 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2522 | |
นายกรัฐมนตรี | พลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ |
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม | |
ดำรงตำแหน่ง 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2522 – 3 มีนาคม พ.ศ. 2523 | |
นายกรัฐมนตรี | พลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ |
ข้อมูลส่วนบุคคล | |
เกิด | 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2465 อำเภอเมืองสระบุรี จังหวัดสระบุรี |
เสียชีวิต | 30 เมษายน พ.ศ. 2532[1] (66 ปี) |
คู่สมรส | ท่านผู้หญิงทัศนีย์ บุณยคุปต์ |
สมพร บุณยคุปต์ เป็นอดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี 1 สมัย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม 1 สมัย ในรัฐบาลพลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ และเป็นอดีตรักษาการปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและการพลังงานคนแรก (ระยะเริ่มก่อตั้งกระทรวง)
ประวัติ
[แก้]สมพร รับราชการในสังกัดกระทรวงพัฒนาการแห่งชาติ เคยเป็นผู้อำนวยการกองแผนงาน กรมทางหลวง กระทรวงพัฒนาการแห่งชาติ ในปี พ.ศ. 2503 - 2506[2]
สมพร ได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลพลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์[3] ซึ่งเขาได้มีส่วนร่วมในการพิจารณาจัดตั้งกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและการพลังงาน ขึ้น โดยได้เสนอร่างพระราชบัญญัติแก้ไขประกาศคณะปฏิวัติ และได้รับความเห็นชอบจาก สภานิติบัญญัติแห่งชาติ และประกาศใช้ใน ราชกิจจานุเบกษา มีผลตั้งแต่วันที่ 24 มีนาคม 2522[4] และนายสมพร ได้ปฏิบัติหน้าที่รักษาการปลัดกระทรวงคนแรกของกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและการพลังงาน[5]
สมพร ได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม (ครม.41)[6]
สมพร เป็นผู้บริจาคที่ดินและเงินในการก่อสร้างโรงพยาบาลวิชัยยุทธ เมื่อปี พ.ศ. 2518[7][8]
เครื่องราชอิสริยาภรณ์
[แก้]- พ.ศ. 2521 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นสูงสุด มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.)[9]
- พ.ศ. 2519 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นสูงสุด มหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.)[10]
- พ.ศ. 2478 – เหรียญพิทักษ์รัฐธรรมนูญ (พ.ร.ธ.)[11]
- พ.ศ. 2518 – เหรียญจักรพรรดิมาลา (ร.จ.พ.)[12]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ อนุสรณ์งานพระราชทานเพลิงศพนายสมพร บุณยคุปต์ ณเมรุหลวงหน้าพลับพลาอิศริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส วันเสาร์ที่ 8 กรกฎาคม 2532
- ↑ "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-03-04. สืบค้นเมื่อ 2020-04-03.
- ↑ พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งรัฐมนตรี (จำนวน ๓๓ ราย)
- ↑ พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๒๑๖ ลงวันที่ ๒๙ กันยายน พ.ศ. ๒๕๑๕ (ฉบับที่ ๒๒) พ.ศ. ๒๕๒๒
- ↑ ปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ ในอดีต
- ↑ "พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งรัฐมนตรี (จำนวน ๔๔ ราย)" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2019-09-23. สืบค้นเมื่อ 2020-04-03.
- ↑ https://page.line.me/vxi2476l/text/77911634890044
- ↑ "ประวัติโรงพยาบาลวิชัยยุทธ". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-09-18. สืบค้นเมื่อ 2020-04-03.
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์, เล่ม ๙๖ ตอนที่ ๑๑ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๑๓, ๓๑ มกราคม ๒๕๒๒
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์, เล่ม ๙๔ ตอนที่ ๓ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๓๙, ๖ มกราคม ๒๕๒๐
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, บัญชีรายนาม ผู้ที่ได้รับพระราชทานเหรียญพิทักษ์รัฐธรรมนูญ, เล่ม ๕๒ ตอนที่ ๐ ง หน้า ๓๕๙๗, ๑ มีนาคม ๒๔๗๘
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญจักรมาลาและเหรียญจักรพรรดิมาลา, เล่ม ๙๓ ตอนที่ ๒๔ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๑๔๑๖, ๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๑๙
- บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2465
- บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2532
- ข้าราชการพลเรือนชาวไทย
- ปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทย
- นักการเมืองไทย
- รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีไทย
- รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมไทย
- บุคคลจากอำเภอเมืองสระบุรี
- ผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ม.ป.ช.
- ผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ม.ว.ม.
- ผู้ได้รับเหรียญจักรพรรดิมาลา