ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Phattaradech (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 45: บรรทัด 45:
=== ศูนย์การเรียน ===
=== ศูนย์การเรียน ===
* '''ศูนย์การศึกษาอำเภอตาคลี''' ตั้งอยู่ใน[[ตำบลตาคลี]] [[อำเภอตาคลี]] [[จังหวัดนครสวรรค์]] 60140<ref>{{cite web |url=http://news.eduzones.com/news-1-4-46982.html|title=
* '''ศูนย์การศึกษาอำเภอตาคลี''' ตั้งอยู่ใน[[ตำบลตาคลี]] [[อำเภอตาคลี]] [[จังหวัดนครสวรรค์]] 60140<ref>{{cite web |url=http://news.eduzones.com/news-1-4-46982.html|title=
มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรีเปิดรับสัมครนักศึกษา ภาคพิเศษ|author= |date=|work= |publisher=Eduzone|accessdate=13 มีนาคม 2556}}</ref>
มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรีเปิดรับสัมครนักศึกษา ภาคพิเศษ|author= |date=|work=|publisher=Eduzone|accessdate=13 มีนาคม 2556}}</ref>
* '''ศูนย์การศึกษาอำเภอเดิมบางนางบวช''' ตั้งอยู่เลขที่ 149 หมู่ 7 [[ตำบลเขาพระ]] [[อำเภอเดิมบางนางบวช]] [[จังหวัดสุพรรณบุรี]] ริมถนนหมายเลข 340 ถนนสุพรรณบุรี– ชัยนาท<ref>{{cite web |url=http://www.trudb.in.th/history.html|title=ประวัติการก่อตั้งศูนย์การศึกษาเดิมบางนางบวช|author= |date=|work= |publisher=มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี อำเภอเดิมบางนางบวช|accessdate=13 มีนาคม 2556}}</ref>
* '''ศูนย์การศึกษาอำเภอเดิมบางนางบวช''' ตั้งอยู่เลขที่ 149 หมู่ 7 [[ตำบลเขาพระ]] [[อำเภอเดิมบางนางบวช]] [[จังหวัดสุพรรณบุรี]] ริมถนนหมายเลข 340 ถนนสุพรรณบุรี– ชัยนาท<ref>{{cite web |url=http://www.trudb.in.th/history.html|title=ประวัติการก่อตั้งศูนย์การศึกษาเดิมบางนางบวช|author= |date=|work= |publisher=มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี อำเภอเดิมบางนางบวช|accessdate=13 มีนาคม 2556}}</ref>
* '''ศูนย์การศึกษาอำเภอหนองแค'''
* '''ศูนย์การศึกษาอำเภอหนองแค'''
บรรทัด 51: บรรทัด 51:
* '''ศูนย์การศึกษาอำเภอชัยบาดาล'''
* '''ศูนย์การศึกษาอำเภอชัยบาดาล'''
* '''ศูนย์การศึกษาจังหวัดอ่างทอง'''<ref>{{cite web |url=http://news.sanook.com/education/education_261181.php|title= มรภ.เทพสตรีปลื้มขยายศูนย์การศึกษาที่อ่างทอง|author= |date=17 มีนาคม พ.ศ. 2551|work= |publisher=สนุกดอตคอม|accessdate=13 มีนาคม 2556}}</ref>
* '''ศูนย์การศึกษาจังหวัดอ่างทอง'''<ref>{{cite web |url=http://news.sanook.com/education/education_261181.php|title= มรภ.เทพสตรีปลื้มขยายศูนย์การศึกษาที่อ่างทอง|author= |date=17 มีนาคม พ.ศ. 2551|work= |publisher=สนุกดอตคอม|accessdate=13 มีนาคม 2556}}</ref>
ทีมฟุตบอลเทพสตรี &ย่าโม่ ยูไน็เต็ด ฟุตบอลฟุตซอล งบประมาณพละศึกษา
สนามมณฑปทหารบกจังหวัดลพบุรี สนามซ้อมสวนสัตว์ลพบุรี ที่พักโรงแรม ️lopburi Lnon group hotel coke r grand sport


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:36, 2 กรกฎาคม 2558

มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี
ชื่อย่อมรท./TRU
คติพจน์นตถิ ปญญา สมา อาภา
(แสงสว่างใด เสมอด้วยปัญญาไม่มี)
ประเภทมหาวิทยาลัยรัฐ
สถาปนาพ.ศ. 2501
อธิการบดีรศ.ดร.นันทนา แจ้งสุวรรณ์
อธิการบดีรศ.ดร.นันทนา แจ้งสุวรรณ์
นายกสภามหาวิทยาลัยศ.ดร.วิจิตร ศรีสอ้าน
ที่ตั้ง
ถนนนารายณ์มหาราช ต.ทะเลชุบศร อ.เมือง จ.ลพบุรี 15000
วิทยาเขต สิงห์บุรี
อำเภอบางระจัน จังหวัดสิงห์บุรี
เว็บไซต์www.tru.ac.th

มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี (อังกฤษ: Thepsatri Rajabhat University) เป็นวิทยาลัยครูแห่งแรกในส่วนภูมิภาค[1] ตั้งอยู่ที่ถนนนารายณ์มหาราช ตำบลทะเลชุบศร อำเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี

ประวัติ

มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี มีประวัติความเป็นมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2463 โดยเริ่มการการก่อตั้ง "โรงเรียนลวะศรี" ซึ่งเปิดสอนเฉพาะนักเรียนหญิง ณ พระที่นั่งจันทรพิศาล ในพระนารายณ์ราชนิเวศน์ ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น "โรงเรียนเทพสตรีวิทยาลัย" หลังจากนั้น ในปี พ.ศ. 2483 ได้ย้ายโรงเรียนมาที่ถนนนารายณ์มหาราช พร้อมทั้งเปลี่ยนชื่อเป็น "โรงเรียนสตรีลพบุรี" และได้รับการยกฐานะเป็น "วิทยาลัยครูเทพสตรี" ซึ่งนับเป็นวิทยาลัยครูแห่งแรกในส่วนภูมิภาค

ต่อมา ในวันที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2536 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชทานนาม “สถาบันราชภัฏ” แทนชื่อ "วิทยาลัยครู" มีผลให้ "วิทยาลัยครูเทพสตรี" เปลี่ยนชื่อเป็น"สถาบันราชภัฏเทพสตรี"

และเมื่อวันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2547 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้ทรงลงพระปรมาภิไภยในร่างพระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547 มีผลให้สถาบันราชภัฏเทพสตรีเปลี่ยนสภาพเป็น "มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี" ตั้งแต่วันที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2547 จนถึงปัจจุบัน

สัญลักษณ์ประจำมหาวิทยาลัย

ตรามหาวิทยาลัย เป็นรูปวงรีสองวงล้อมตราพระราชลัญจกรของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชที่พระราชทานให้แก่มหาวิทยาลัยราชภัฏ ภายในวงรีด้านบนเป็นอักษรภาษาไทยเขียนว่า "มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี" ด้านล่างเป็นอักษรภาษาอังกฤษเขียนว่า " THEPSATRI RAJABHAT UNIVERSITY"

หน่วยงาน

วิทยาเขตและศูนย์การเรียน

วิทยาเขต

  • วิทยาเขตสิงห์บุรี ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2546 โดยขออนุญาตใช้พื้นที่ราชพัสดุจากกรมธนารักษ์ จำนวน 51 ไร่ บริเวณหมู่ 10 ตำบลพักทัน อำเภอบางระจัน จังหวัดสิงห์บุรี และได้มีการก่อสร้างอาคารเรียนหลังแรก เมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2546 ปัจจุบันเปิดทำการสอนทั้งภาคปกติ และภาค กศ.บป.[2]

ศูนย์การเรียน

ทีมฟุตบอลเทพสตรี &ย่าโม่ ยูไน็เต็ด ฟุตบอลฟุตซอล งบประมาณพละศึกษา สนามมณฑปทหารบกจังหวัดลพบุรี สนามซ้อมสวนสัตว์ลพบุรี ที่พักโรงแรม ️lopburi Lnon group hotel coke r grand sport

อ้างอิง

  1. ประวัติมหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี
  2. ประวัติวิทยาเขตสิงห์บุรี
  3. "มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรีเปิดรับสัมครนักศึกษา ภาคพิเศษ". Eduzone. สืบค้นเมื่อ 13 มีนาคม 2556. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  4. "ประวัติการก่อตั้งศูนย์การศึกษาเดิมบางนางบวช". มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี อำเภอเดิมบางนางบวช. สืบค้นเมื่อ 13 มีนาคม 2556. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  5. "มรภ.เทพสตรีปลื้มขยายศูนย์การศึกษาที่อ่างทอง". สนุกดอตคอม. 17 มีนาคม พ.ศ. 2551. สืบค้นเมื่อ 13 มีนาคม 2556. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= และ |date= (help)

แหล่งข้อมูลอื่น