สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดบุรีรัมย์
หน้าตา
เขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร | |
---|---|
จังหวัดบุรีรัมย์ | |
เขตเลือกตั้งในปัจจุบัน | |
จำนวนเขต | 10 |
คะแนนเสียง | 389,929 (ภูมิใจไทย) |
เขตเลือกตั้งปัจจุบัน | |
ก่อตั้ง | พ.ศ. 2476 |
ที่นั่ง | ภูมิใจไทย (10) |
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร | ดูในบทความ |
จังหวัดบุรีรัมย์ มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 10 เขต (สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ. 2566)[1] และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 10 คน จากทั้งหมด 400 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ประวัติศาสตร์
[แก้]หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยจังหวัดบุรีรัมย์มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนแรก คือ หลวงศักดิรณการ (นาค ปิตะเสน)
- นักการเมืองที่ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมากครั้งที่สุด คือ 8 สมัย ได้แก่ นายปณวัตร เลี้ยงผ่องพันธุ์
- สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสตรีคนแรกของจังหวัดบุรีรัมย์ คือ นางกรุณา ชิดชอบ (จากการเลือกตั้ง พ.ศ. 2539)
- ตระกูลการเมืองที่ได้รับเลือกตั้งมากที่สุด คือ
- ชิดชอบ (5 คน) ได้แก่ นายชัย ชิดชอบ นายเนวิน ชิดชอบ นางกรุณา ชิดชอบ นายศักดิ์สยาม ชิดชอบ และนายไชยชนก ชิดชอบ
เขตเลือกตั้ง
[แก้]การเลือกตั้ง | เขตเลือกตั้ง | แผนที่ | จำนวน ส.ส. |
พ.ศ. 2476 | เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด | 1 คน (เขตละ 1 คน) | |
พ.ศ. 2480 | |||
พ.ศ. 2481 | |||
พ.ศ. 2489 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองบุรีรัมย์และอำเภอพุทไธสง · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอประโคนชัยและอำเภอนางรอง |
||
พ.ศ. 2491 | เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด | 2 คน (เขตละ 2 คน) | |
พ.ศ. 2492 | |||
พ.ศ. 2495 | |||
พ.ศ. 2500/1 | 3 คน (เขตละ 3 คน) | ||
พ.ศ. 2500/2 | |||
พ.ศ. 2512 | 5 คน (เขตละ 5 คน) | ||
พ.ศ. 2518 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองบุรีรัมย์, อำเภอพุทไธสง, อำเภอสตึก, อำเภอกระสัง และกิ่งอำเภอคูเมือง · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอลำปลายมาศ, อำเภอนางรอง, อำเภอละหานทราย, อำเภอบ้านกรวด, อำเภอประโคนชัย และกิ่งอำเภอหนองกี่ |
6 คน (2 เขต เขตละ 3 คน) | |
พ.ศ. 2519 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองบุรีรัมย์, อำเภอพุทไธสง, อำเภอสตึก และอำเภอคูเมือง · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอลำปลายมาศ, อำเภอนางรอง และกิ่งอำเภอหนองกี่ · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอกระสัง, อำเภอละหานทราย, อำเภอบ้านกรวด และอำเภอประโคนชัย |
7 คน (เขต 1 เขตละ 3 คน ส่วน เขต 2 และเขต 3 เขตละ 2 คน) | |
พ.ศ. 2522 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองบุรีรัมย์, อำเภอพุทไธสง, อำเภอสตึก และอำเภอคูเมือง · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอลำปลายมาศ, อำเภอนางรอง และอำเภอหนองกี่ · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอกระสัง, อำเภอละหานทราย, อำเภอบ้านกรวด, อำเภอประโคนชัย และกิ่งอำเภอปะคำ |
||
พ.ศ. 2526 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองบุรีรัมย์, อำเภอพุทไธสง, อำเภอสตึก, อำเภอคูเมือง และกิ่งอำเภอนาโพธิ์ · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอลำปลายมาศ, อำเภอนางรอง, อำเภอหนองกี่, อำเภอละหานทราย, กิ่งอำเภอปะคำ และกิ่งอำเภอหนองหงส์ · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอกระสัง, อำเภอบ้านกรวด และอำเภอประโคนชัย |
8 คน (เขต 1 และเขต 2 เขตละ 3 คน ส่วนเขต 3 เขตละ 2 คน) | |
พ.ศ. 2529 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอลำปลายมาศ, อำเภอพุทไธสง, อำเภอสตึก, อำเภอคูเมือง, กิ่งอำเภอหนองหงส์ และกิ่งอำเภอนาโพธิ์ · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอนางรอง, อำเภอบ้านกรวด, อำเภอละหานทราย, อำเภอปะคำ และอำเภอหนองกี่ · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอเมืองบุรีรัมย์, อำเภอประโคนชัย และอำเภอกระสัง |
9 คน (3 เขต เขตละ 3 คน) | |
พ.ศ. 2531 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอลำปลายมาศ, อำเภอพุทไธสง, อำเภอสตึก, อำเภอคูเมือง, อำเภอหนองหงส์ และอำเภอนาโพธิ์ · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอนางรอง, อำเภอบ้านกรวด, อำเภอละหานทราย, อำเภอปะคำ และอำเภอหนองกี่ · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอเมืองบุรีรัมย์, อำเภอประโคนชัย และอำเภอกระสัง |
||
พ.ศ. 2535/1 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอลำปลายมาศ, อำเภอพุทไธสง, อำเภอสตึก, อำเภอคูเมือง, อำเภอหนองหงส์ และอำเภอนาโพธิ์ · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอนางรอง, อำเภอบ้านกรวด, อำเภอละหานทราย, อำเภอปะคำ, อำเภอหนองกี่ และกิ่งอำเภอโนนสุวรรณ · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอเมืองบุรีรัมย์, อำเภอประโคนชัย, อำเภอกระสัง, กิ่งอำเภอห้วยราช และกิ่งอำเภอพลับพลาชัย |
||
พ.ศ. 2535/2 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอลำปลายมาศ, อำเภอพุทไธสง, อำเภอสตึก, อำเภอคูเมือง, อำเภอหนองหงส์, อำเภอนาโพธิ์ และกิ่งอำเภอบ้านใหม่ไชยพจน์ · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอนางรอง, อำเภอบ้านกรวด, อำเภอละหานทราย, อำเภอปะคำ, อำเภอหนองกี่, กิ่งอำเภอโนนสุวรรณ และกิ่งอำเภอชำนิ · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอเมืองบุรีรัมย์, อำเภอประโคนชัย, อำเภอกระสัง, กิ่งอำเภอห้วยราช และกิ่งอำเภอพลับพลาชัย |
||
พ.ศ. 2538 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองบุรีรัมย์, อำเภอกระสัง, อำเภอพลับพลาชัย, กิ่งอำเภอห้วยราช และกิ่งอำเภอชำนิ · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอลำปลายมาศ, อำเภอพุทไธสง, อำเภอสตึก, อำเภอคูเมือง, อำเภอนาโพธิ์ และกิ่งอำเภอบ้านใหม่ไชยพจน์ · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอนางรอง, อำเภอปะคำ, อำเภอหนองกี่, อำเภอหนองหงส์ และกิ่งอำเภอโนนสุวรรณ · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอประโคนชัย, อำเภอบ้านกรวด, อำเภอละหานทราย และกิ่งอำเภอโนนดินแดง |
10 คน (เขต 1 และ เขต 2 เขตละ 3 คน ส่วน เขต 3 และ เขต 4 เขตละ 2 คน) | |
พ.ศ. 2539 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองบุรีรัมย์, อำเภอกระสัง, อำเภอพลับพลาชัย, อำเภอห้วยราช, กิ่งอำเภอชำนิ และกิ่งอำเภอบ้านด่าน · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอลำปลายมาศ, อำเภอพุทไธสง, อำเภอสตึก, อำเภอคูเมือง, อำเภอนาโพธิ์ และกิ่งอำเภอบ้านใหม่ไชยพจน์ · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอนางรอง, อำเภอปะคำ, อำเภอหนองกี่, อำเภอหนองหงส์ และอำเภอโนนสุวรรณ · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอประโคนชัย, อำเภอบ้านกรวด, อำเภอละหานทราย และกิ่งอำเภอโนนดินแดง |
||
พ.ศ. 2544 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองบุรีรัมย์ (ยกเว้นตำบลกลันทา ตำบลเมืองฝาง ตำบลสองห้อง ตำบลเสม็ด ตำบลสะแกซำ และตำบลหลักเขต) · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอชำนิ, อำเภอพลับพลาชัย (ยกเว้นตำบลป่าชัน), อำเภอเมืองบุรีรัมย์ (เฉพาะตำบลเมืองฝาง ตำบลสองห้อง ตำบลเสม็ด ตำบลสะแกซำ และตำบลหลักเขต), อำเภอห้วยราช (เฉพาะตำบลสนาน ตำบลห้วยราช ตำบลสามแวง และตำบลห้วยราชา), อำเภอกระสัง (เฉพาะตำบลสองชั้น) และอำเภอหนองหงส์ (เฉพาะตำบลเมืองฝ้าย) · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอกระสัง (ยกเว้นตำบลสองชั้น), อำเภอห้วยราช (เฉพาะตำบลตาเสา ตำบลบ้านตะโก ตำบลโคกเหล็ก และตำบลเมืองโพธิ์) อำเภอสตึก (เฉพาะตำบลชุมแสง) อำเภอเมืองบุรีรัมย์ (เฉพาะตำบลกลันทา) และกิ่งอำเภอบ้านด่าน · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอสตึก (ยกเว้นตำบลชุมแสง), อำเภอพุทไธสง (เฉพาะตำบลมะเฟืองและตำบลบ้านยาง), อำเภอคูเมือง (เฉพาะตำบลปะเคียบ) และกิ่งอำเภอแคนดง · เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอนาโพธิ์, อำเภอบ้านใหม่ไชยพจน์, อำเภอคูเมือง (ยกเว้นตำบลปะเคียบ) และอำเภอพุทไธสง (ยกเว้นตำบลมะเฟืองและตำบลบ้านยาง) · เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอลำปลายมาศ และอำเภอหนองหงส์ (เฉพาะตำบลไทยสามัคคีและตำบลสระแก้ว) · เขตเลือกตั้งที่ 7 : อำเภอปะคำ, อำเภอโนนสุวรรณ, อำเภอหนองกี่ (ยกเว้นตำบลเมืองไผ่) และอำเภอหนองหงส์ (ยกเว้นตำบลเมืองฝ้าย ตำบลไทยสามัคคี และตำบลสระแก้ว) · เขตเลือกตั้งที่ 8 : อำเภอนางรอง, อำเภอเฉลิมพระเกียรติ และอำเภอหนองกี่ (เฉพาะตำบลเมืองไผ่) · เขตเลือกตั้งที่ 9 : อำเภอบ้านกรวด, อำเภอโนนดินแดง และอำเภอละหานทราย (ยกเว้นตำบลตาจง) · เขตเลือกตั้งที่ 10 : อำเภอประโคนชัย, อำเภอละหานทราย (เฉพาะตำบลตาจง) และอำเภอพลับพลาชัย (เฉพาะตำบลป่าชัน) |
10 คน (เขตละ 1 คน) | |
พ.ศ. 2548 | |||
พ.ศ. 2549 | |||
พ.ศ. 2550 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอนางรอง, อำเภอละหานทราย, อำเภอปะคำ, อำเภอหนองกี่, อำเภอชำนิ, อำเภอโนนสุวรรณ, อำเภอโนนดินแดง, อำเภอหนองหงส์ และอำเภอเฉลิมพระเกียรติ · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอประโคนชัย, อำเภอสตึก, อำเภอกระสัง, อำเภอพลับพลาชัย และอำเภอบ้านกรวด · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอเมืองบุรีรัมย์, อำเภอห้วยราช, อำเภอบ้านด่าน และอำเภอแคนดง · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอลำปลายมาศ, อำเภอพุทไธสง, อำเภอคูเมือง, อำเภอนาโพธิ์ และอำเภอบ้านใหม่ไชยพจน์ |
10 คน (เขต 1 และ เขต 2 เขตละ 3 คน ส่วนเขต 3 และเขต 4 เขตละ 2 คน) | |
พ.ศ. 2554 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองบุรีรัมย์ (ยกเว้นตำบลสวายจีก ตำบลสองห้อง ตำบลเมืองฝาง และตำบลสะแกโพรง) · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอสตึก, อำเภอแคนดง (ยกเว้นตำบลสระบัว), อำเภอบ้านด่าน (ยกเว้นตำบลบ้านด่าน) และอำเภอห้วยราช (เฉพาะตำบลเมืองโพธิ์ ตำบลตาเสา และตำบลโคกเหล็ก) · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอพุทไธสง, อำเภอนาโพธิ์, อำเภอบ้านใหม่ไชยพจน์, อำเภอคูเมือง (ยกเว้นตำบลคูเมืองและตำบลพรสำราญ), อำเภอบ้านด่าน (เฉพาะตำบลบ้านด่าน) และอำเภอแคนดง (เฉพาะตำบลสระบัว) · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอลำปลายมาศ, อำเภอคูเมือง (เฉพาะตำบลคูเมืองและตำบลพรสำราญ), อำเภอหนองหงส์ (เฉพาะตำบลไทยสามัคคีและตำบลเมืองฝ้าย) และอำเภอชำนิ (เฉพาะตำบลช่อผกา) · เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอกระสัง, อำเภอพลับพลาชัย (ยกเว้นตำบลป่าชัน), อำเภอห้วยราช (ยกเว้นตำบลเมืองโพธิ์ ตำบลตาเสา และตำบลโคกเหล็ก) และอำเภอเมืองบุรีรัมย์ (เฉพาะตำบลสวายจีก) · เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอนางรอง, อำเภอชำนิ (ยกเว้นตำบลช่อผกา), อำเภอเฉลิมพระเกียรติ (เฉพาะตำบลเจริญสุข) และอำเภอเมืองบุรีรัมย์ (เฉพาะตำบลสะแกโพรง ตำบลสองห้อง และตำบลเมืองฝาง) · เขตเลือกตั้งที่ 7 : อำเภอหนองกี่, อำเภอปะคำ, อำเภอโนนสุวรรณ และอำเภอหนองหงส์ (ยกเว้นตำบลไทยสามัคคีและตำบลเมืองฝ้าย) · เขตเลือกตั้งที่ 8 : อำเภอบ้านกรวด, อำเภอโนนดินแดง และอำเภอละหานทราย · เขตเลือกตั้งที่ 9 : อำเภอประโคนชัย, อำเภอพลับพลาชัย (เฉพาะตำบลป่าชัน) และอำเภอเฉลิมพระเกียรติ (ยกเว้นตำบลเจริญสุข) |
9 คน (เขตละ 1 คน) | |
พ.ศ. 2557 | |||
พ.ศ. 2562 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองบุรีรัมย์ (ยกเว้นตำบลบัวทอง ตำบลกลันทา และตำบลถลุงเหล็ก) · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอสตึก, อำเภอแคนดง, อำเภอบ้านด่าน และอำเภอเมืองบุรีรัมย์ (เฉพาะตำบลบัวทอง ตำบลกลันทา และตำบลถลุงเหล็ก) · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอนาโพธิ์, อำเภอพุทไธสง, อำเภอบ้านใหม่ไชยพจน์, อำเภอคูเมือง และอำเภอลำปลายมาศ (เฉพาะตำบลเมืองแฝกและตำบลโคกสะอาด) · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอหนองหงส์, อำเภอชำนิ และอำเภอลำปลายมาศ (ยกเว้นตำบลเมืองแฝกและตำบลโคกสะอาด) · เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอห้วยราช, อำเภอกระสัง, อำเภอพลับพลาชัย และอำเภอประโคนชัย (เฉพาะตำบลไพศาล) · เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอหนองกี่, อำเภอโนนสุวรรณ และอำเภอนางรอง (ยกเว้นตำบลทรัพย์พระยาและตำบลชุมแสง) · เขตเลือกตั้งที่ 7 : อำเภอบ้านกรวดและอำเภอประโคนชัย (ยกเว้นตำบลไพศาล) · เขตเลือกตั้งที่ 8 : อำเภอเฉลิมพระเกียรติ, อำเภอละหานทราย, อำเภอโนนดินแดง, อำเภอปะคำ และอำเภอนางรอง (เฉพาะตำบลทรัพย์พระยาและตำบลชุมแสง) |
8 คน (เขตละ 1 คน) | |
พ.ศ. 2566 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอบ้านด่าน (เฉพาะตำบลปราสาทและตำบลบ้านด่าน) และอำเภอเมืองบุรีรัมย์ (ยกเว้นตำบลสองห้อง ตำบลเมืองฝาง ตำบลเสม็ด ตำบลอิสาณ ตำบลสวายจีก ตำบลสะแกซำ และตำบลหลักเขต) · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอชำนิ, อำเภอเมืองบุรีรัมย์ (เฉพาะตำบลสองห้อง ตำบลเมืองฝาง ตำบลเสม็ด ตำบลอิสาณ ตำบลสวายจีก ตำบลสะแกซำ และตำบลหลักเขต), อำเภอพลับพลาชัย (ยกเว้นตำบลโคกขมิ้นและตำบลป่าชัน) และอำเภอประโคนชัย (เฉพาะตำบลไพศาล) · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอห้วยราช, อำเภอกระสัง และอำเภอพลับพลาชัย (เฉพาะตำบลโคกขมิ้นและตำบลป่าชัน) · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอแคนดง, อำเภอสตึก และอำเภอบ้านด่าน (เฉพาะตำบลโนนขวางและตำบลวังเหนือ) · เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอนาโพธิ์, อำเภอพุทไธสง, อำเภอบ้านใหม่ไชยพจน์ และอำเภอคูเมือง (ยกเว้นตำบลพรสำราญ) · เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอลำปลายมาศ, อำเภอคูเมือง (เฉพาะตำบลพรสำราญ) และอำเภอหนองหงส์ (เฉพาะตำบลไทยสามัคคี ตำบลสระทอง และตำบลเสาเดียว) · เขตเลือกตั้งที่ 7 : อำเภอโนนสุวรรณ, อำเภอหนองกี่, อำเภอหนองหงส์ (ยกเว้นตำบลไทยสามัคคี ตำบลสระทอง และตำบลเสาเดียว) และอำเภอปะคำ (ยกเว้นตำบลปะคำและตำบลหูทำนบ) · เขตเลือกตั้งที่ 8 : อำเภอนางรอง, อำเภอเฉลิมพระเกียรติ (เฉพาะตำบลเจริญสุขและตำบลถาวร), อำเภอปะคำ (เฉพาะตำบลปะคำและตำบลหูทำนบ) และอำเภอโนนดินแดง (เฉพาะตำบลโนนดินแดง) · เขตเลือกตั้งที่ 9 : อำเภอละหานทราย, อำเภอโนนดินแดง (ยกเว้นตำบลโนนดินแดง), อำเภอบ้านกรวด (ยกเว้นตำบลเขาดินเหนือ ตำบลหินลาด ตำบลโนนเจริญ และตำบลสายตะกู) และอำเภอเฉลิมพระเกียรติ (ยกเว้นตำบลเจริญสุขและตำบลถาวร) · เขตเลือกตั้งที่ 10 : อำเภอประโคนชัย (ยกเว้นตำบลไพศาล) และอำเภอบ้านกรวด (เฉพาะตำบลเขาดินเหนือ ตำบลหินลาด ตำบลโนนเจริญ และตำบลสายตะกู) |
10 คน (เขตละ 1 คน) |
รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต
[แก้]ชุดที่ 1–3; พ.ศ. 2476–2481
[แก้]ชุดที่ | การเลือกตั้ง | เขตเลือกตั้งที่ 1 |
ชุดที่ 1 | พ.ศ. 2476 | หลวงศักดิรณการ (นาค ปิตะเสน) |
ชุดที่ 2 | พ.ศ. 2480 | นายทัน พรหมมิทธิกุล |
ชุดที่ 3 | พ.ศ. 2481 |
ชุดที่ 4; พ.ศ. 2489
[แก้]เขต | มกราคม พ.ศ. 2489 | สิงหาคม พ.ศ. 2489 เลือกตั้งเพิ่มเติม |
1 | นายพูน มณีวรรณ | นายนคร ทินสิริกุล |
2 | – | ร้อยตรี กาจ อุตตรวิเชียร |
ชุดที่ 5–7; พ.ศ. 2491–2492
[แก้]ชุดที่ | การเลือกตั้ง | เขตเลือกตั้งที่ 1 |
ชุดที่ 5 | พ.ศ. 2491 | นายเสรี อิศรางกูร ณ อยุธยา |
นายไพรัช วิเศษโกสิน | ||
พ.ศ. 2492 | – (เลือกตั้งเพิ่มเติม) | |
ชุดที่ 7 | พ.ศ. 2495 | นายเสรี อิศรางกูร ณ อยุธยา |
นายสอึ้ง มารังกูล |
ชุดที่ 8–9; พ.ศ. 2500
[แก้]- พรรคเสรีประชาธิปไตย
- พรรคเสรีมนังคศิลา
- ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ชุดที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 | ชุดที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2500 |
นายสอึ้ง มารังกูล | |
นายแถม วงศ์อำมาตย์ | นายแถม วงศ์อำมาตย์ |
นายโต๊ะ แก้วเสมา |
ชุดที่ 10; พ.ศ. 2512
[แก้]- พรรคสหประชาไทย
- ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ลำดับ | ชุดที่ 10 พ.ศ. 2512 |
1 | นายบุญเยี่ยม โสภณ |
2 | นายทองเจือ กัลพุมานุกูลกิจ |
3 | นายสวัสดิ์ คชเสนี |
4 | นายชัย ชิดชอบ |
5 | ร้อยโทกมล อัตนโถ |
ชุดที่ 11; พ.ศ. 2518
[แก้]เขต | ชุดที่ 11 พ.ศ. 2518 |
1 | นายประเสริฐ เลิศยะโส |
นายจำลอง วงษ์ทอง | |
นายสมาน มณีราชกิจ | |
2 | นายบุญเยี่ยม โสภณ |
นายจรูญ ปราบริปูตลุง | |
นายปกรณ์ กุลกำจร |
ชุดที่ 12–13; พ.ศ. 2519–2522
[แก้]- พรรคกิจสังคม
- พรรคประชาธิปัตย์
- พรรคชาติไทย
- พรรคเกษตรสังคม
- พรรคเสรีธรรม (พ.ศ. 2522)
- พรรคประชาราษฎร์
- พรรคชาติประชาชน (พ.ศ. 2522)
- พรรคสยามประชาธิปไตย
เขต | ชุดที่ 12 พ.ศ. 2519 | ชุดที่ 13 พ.ศ. 2522 |
1 | นายบัญชา วัฒนวงศ์วิสุทธิ์ | นายเนาว์ พฤทธิธรรมกูล (ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งใหม่) |
นายดนัย นพสุวรรณวงศ์ | นายชัย ชิดชอบ | |
นายอนุวรรตน์ วัฒนพงศ์ศิริ | ||
2 | นายสุนัย พงศ์อารยะ | นายบุญเยี่ยม โสภณ |
นายสมโภชน์ ศิริกุล | นายวุฒินันท์ หลอดทอง | |
3 | นายไพโรจน์ ติยะวาณิช | นายณัฐ ชาติวัฒนศิริ |
นายทองเจือ กัลพุมานุกูลกิจ | นายพิชิต ธีระรัชตานนท์ |
ชุดที่ 14; พ.ศ. 2526
[แก้]เขต | ชุดที่ 14 พ.ศ. 2526 |
1 | นายอนุวรรตน์ วัฒนพงศ์ศิริ |
นายสวัสดิ๋ คชเสนี | |
นายชัย ชิดชอบ | |
2 | นายต่อสู้ ลัทธิกุล |
นายบุญเยี่ยม โสภณ (เสียชีวิต) | |
นายไพโรจน์ ติยะวานิช (แทนนายบุญเยี่ยม) | |
นายโสภณ เพชรสว่าง | |
3 | นายพิชิต ธีระรัชตานนท์ |
นายการุณ ใสงาม |
ชุดที่ 15–18; พ.ศ. 2529–2535
[แก้]- พรรคมวลชน
- พรรคสหประชาธิปไตย
- พรรคประชาธิปัตย์
- พรรคชาติไทย
- พรรคเสรีนิยม
- พรรคสามัคคีธรรม
- พรรคมวลชน → พรรคกิจสังคม
- พรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)
เขต | ชุดที่ 15 พ.ศ. 2529 | ชุดที่ 16 พ.ศ. 2531 | ชุดที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2535 | ชุดที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2535 |
1 | นายปณวัตร เลี้ยงผ่องพันธุ์ | นายปณวัตร เลี้ยงผ่องพันธุ์ | นายปณวัตร เลี้ยงผ่องพันธุ์ | |
นายชัย ชิดชอบ | นายวุฒิพงษ์ เหลืองอุดมชัย | นายวุฒิพงษ์ เหลืองอุดมชัย | นายชัย ชิดชอบ | |
นายพรเทพ เตชะไพบูลย์ | ||||
2 | นายวุฒนันท์ พงศ์อารยะ | นายโสภณ เพชรสว่าง | พันตำรวจเอก สุทธี คะสุวรรณ | นายโสภณ เพชรสว่าง |
นายต่อสู้ ลัทธิกุล | นายมนัส เฮงยศมาก | |||
นายไพโรจน์ ติยะวานิช | นายประกิจ พลเดช | |||
3 | นายการุณ ใสงาม | นายอนุวรรตน์ วัฒนพงศ์ศิริ | นายอนุวรรตน์ วัฒนพงศ์ศิริ | นายอนุวรรตน์ วัฒนพงศ์ศิริ |
นายพิชิต ธีระรัชตานนท์ | นายพิชิต ธีระรัชตานนท์ | นายทรงศักดิ์ ทองศรี | นายทรงศักดิ์ ทองศรี | |
นายสวัสดิ์ คชเสนี | นายเนวิน ชิดชอบ | นายเนวิน ชิดชอบ | นายเนวิน ชิดชอบ |
ชุดที่ 19–20; พ.ศ. 2538–2539
[แก้]เขต | ชุดที่ 19 พ.ศ. 2538 | ชุดที่ 20 พ.ศ. 2539 |
1 | นายเนวิน ชิดชอบ | นายเนวิน ชิดชอบ |
นายประสิทธิ์ ตั้งศรีเกียรติกุล | นายประสิทธิ์ ตั้งศรีเกียรติกุล | |
นายทรงศักดิ์ ทองศรี | นางกรุณา ชิดชอบ | |
2 | นายปณวัตร เลี้ยงผ่องพันธุ์ | นายปณวัตร เลี้ยงผ่องพันธุ์ |
นายชัย ชิดชอบ | นายชัย ชิดชอบ | |
นายพรเทพ เตชะไพบูลย์ | ||
3 | นายโสภณ เพชรสว่าง | |
นายวัชรินทร์ ฉันทะกุล | นายประกิจ พลเดช | |
4 | นายการุณ ใสงาม | นายทรงศักดิ์ ทองศรี |
พันตำรวจเอกสุทธี คะสุวรรณ | นายขจรธน จุดโต |
ชุดที่ 21–22; พ.ศ. 2544–2548
[แก้]เขต | ชุดที่ 21 พ.ศ. 2544 | ชุดที่ 22 พ.ศ. 2548 |
1 | นายประสิทธิ์ ตั้งศรีเกียรติกุล ( / เลือกตั้งใหม่) |
นายประสิทธิ์ ตั้งศรีเกียรติกุล |
2 | นางกรุณา ชิดชอบ | นางกรุณา ชิดชอบ |
3 | นายศักดิ์สยาม ชิดชอบ | นายศักดิ์สยาม ชิดชอบ |
4 | นายสุรศักดิ์ นาคดี | |
5 | นายพีระพงษ์ เฮงสวัสดิ์ | นายพีระพงษ์ เฮงสวัสดิ์ |
นายปณวัตร เลี้ยงผ่องพันธุ์ (แทนนายพีระพงษ์ / ) | ||
นายพีระพงษ์ เฮงสวัสดิ์ (แทนนายปณวัตร) | ||
6 | นายโสภณ ซารัมย์ | นายโสภณ ซารัมย์ |
7 | นายประกิจ พลเดช | |
8 | นายโสภณ เพชรสว่าง ( / เลือกตั้งใหม่) |
นายโสภณ เพชรสว่าง |
9 | นายขจรธน จุดโต ( / เลือกตั้งใหม่) |
นายขจรธน จุดโต |
10 | นายทรงศักดิ์ ทองศรี |
ชุดที่ 23; พ.ศ. 2550
[แก้]- พรรคพลังประชาชน (พ.ศ. 2541)
- พรรคพลังประชาชน (พ.ศ. 2541) → พรรคภูมิใจไทย
- พรรคชาติไทย
- พรรคมัชฌิมาธิปไตย → พรรคภูมิใจไทย
- พรรคประชาราช
- พรรคเพื่อแผ่นดิน
เขต | ชุดที่ 23 พ.ศ. 2550 | |
1 | นายประกิจ พลเดช | นายสมนึก เฮงวาณิชย์ (แทนนายประกิจ) |
นายพรชัย ศรีสุริยันโยธิน | นายมาโนช เฮงยศมาก (แทนนายพรชัย) | |
นายรุ่งโรจน์ ทองศรี | นายณัฐวุฒิ สุขเกษม (แทนนายรุ่งโรจน์) | |
2 | นายรังสิกร ทิมาตฤกะ | |
นายทรงศักดิ์ ทองศรี (ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี) | นายจักรกฤษณ์ ทองศรี (แทนนายทรงศักดิ์) | |
นายมนต์ไชย ชาติวัฒนศิริ | ||
3 | นายสนอง เทพอักษรณรงค์ | |
นายประสิทธิ์ ตั้งศรีเกียรติกุล | ||
4 | นายปณวัตร เลี้ยงผ่องพันธุ์ (ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี) | นายพีระพงษ์ เฮงสวัสดิ์ (แทนนายปณวัตร) |
นายโสภณ ซารัมย์ |
ชุดที่ 24–25; พ.ศ. 2554–2562
[แก้]เขต | ชุดที่ 24 พ.ศ. 2554 | ชุดที่ 25 พ.ศ. 2562 |
1 | นายสนอง เทพอักษรณรงค์ | |
2 | นายรังสิกร ทิมาตฤกะ | |
3 | นายโสภณ ซารัมย์ | นายสมบูรณ์ ซารัมย์ |
4 | นางอารีญาภรณ์ ซารัมย์ | นายโสภณ ซารัมย์ |
5 | นายมนต์ไชย ชาติวัฒนศิริ | นายอดิพงษ์ ฐิติพิทยา |
6 | นายพรชัย ศรีสุริยันโยธิน | นายไตรเทพ งามกมล |
7 | นายหนูแดง วรรณกางซ้าย | นายจักรกฤษณ์ ทองศรี |
8 | นายรุ่งโรจน์ ทองศรี | |
9 | นายจักรกฤษณ์ ทองศรี | ยุบเขต 9 |
ชุดที่ 26; พ.ศ. 2566
[แก้]เขต | ชุดที่ 26 พ.ศ. 2566 |
1 | นายสนอง เทพอักษรณรงค์ |
2 | นายไชยชนก ชิดชอบ |
3 | นายอดิพงษ์ ฐิติพิทยา |
4 | นายรังสิกร ทิมาตฤกะ |
5 | นายโสภณ ซารัมย์ |
6 | นายศักดิ์ ซารัมย์ |
7 | นายพรชัย ศรีสุริยันโยธิน |
8 | นายไตรเทพ งามกมล |
9 | นายรุ่งโรจน์ ทองศรี |
10 | นายจักรกฤษณ์ ทองศรี |
รูปภาพ
[แก้]-
นายเสรี อิศรางกูร ณ อยุธยา
-
นายชัย ชิดชอบ
-
นายอนุวรรตน์ วัฒนพงศ์ศิริ
-
นายการุณ ใสงาม
-
นายเนวิน ชิดชอบ
-
นายทรงศักดิ์ ทองศรี
-
นางกรุณา ชิดชอบ
-
นายศักดิ์สยาม ชิดชอบ
-
นายโสภณ ซารัมย์
-
นายจักรกฤษณ์ ทองศรี
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งและเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัดจะพึงมี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 140 (14 ก): 38–42. 3 มีนาคม 2566.
- สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจากการเลือกตั้งครั้งแรก
- ทำเนียบสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่ 21 เก็บถาวร 2011-07-07 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- ทำเนียบสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่ 22 เก็บถาวร 2011-07-07 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดที่ 23 เก็บถาวร 2010-03-10 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- ราชกิจจานุเบกษา ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งและเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัด สำหรับการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไปครั้งแรกภายหลังประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๑) พุทธศักราช ๒๕๕๔
- ผู้จัดการออนไลน์ กกต.แบ่งเขตเลือกตั้ง ส.ส.ครบ 77 จังหวัด 375 เขต แล้ว!! เก็บถาวร 2017-03-27 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- คณะกรรมการการเลือกตั้งจังหวัดบุรีรัมย์ เก็บถาวร 2012-06-26 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน