จังหวัดบุรีรัมย์ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดบุรีรัมย์ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548

← พ.ศ. 2544 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 พ.ศ. 2549 (โมฆะ) →

10 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ผู้ใช้สิทธิ70.19%
  First party Second party Third party
 
พรรค ไทยรักไทย ชาติไทย ประชาธิปัตย์
ที่นั่งก่อนหน้า 6 4 0
ที่นั่งที่ชนะ 10 0 0
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น4 ลดลง4 Steady0
คะแนนเสียง 507,959 68,804 58,291
% 71.26 9.65 8.18

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

ทักษิณ ชินวัตร
ไทยรักไทย

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

ทักษิณ ชินวัตร
ไทยรักไทย

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดบุรีรัมย์ พ.ศ. 2548 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 10 เขตเลือกตั้ง[1] เท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อปี พ.ศ. 2544 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 1 คน

ภาพรวม[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ (รวมทั้งจังหวัดบุรีรัมย์)[แก้]

พรรค คะแนนเสียง
จน. %
ไทยรักไทย 507,959 71.26%
ชาติไทย 68,804 9.65%
ประชาธิปัตย์ 58,291 8.18%
อื่น ๆ 77,741 10.91%
ผลรวม 712,795 100.00%
คะแนนเสียง
ไทยรักไทย
  
71.26%
ชาติไทย
  
9.65%
ประชาธิปัตย์
  
8.18%
อื่น ๆ
  
10.91%

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ (รายเขตเลือกตั้ง)[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต (รวมทั้งจังหวัดบุรีรัมย์)[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต (รายเขตเลือกตั้ง)[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ[แก้]

e • d ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ จังหวัดบุรีรัมย์
พรรค คะแนนเสียง ร้อยละ
ชาติไทย (1) 68,804 9.65
กิจสังคม (2) 1,919 0.27
พัฒนาชาติไทย (3) 1,863 0.26
ประชาธิปัตย์ (4) 58,291 8.18
ประชาชนไทย (5) 2,184 0.31
คนขอปลดหนี้ (6) 7,639 1.07
ธรรมชาติไทย (7) 1,171 0.16
แผ่นดินไทย (8) 3,060 0.43
ไทยรักไทย (9) 507,959 71.26
ความหวังใหม่ (10) 4,080 0.57
มหาชน (11) 38,699 5.43
ประชากรไทย (12) 1,022 0.14
ไทยช่วยไทย (13) 1,327 0.19
แรงงาน (14) 1,553 0.22
ชาติประชาธิปไตย (15) 1,568 0.22
กสิกรไทย (16) 638 0.09
ทางเลือกที่สาม (17) 332 0.05
รักษ์ถิ่นไทย (18) 892 0.13
พลังเกษตรกร (19) 8,871 1.24
พลังประชาชน (20) 923 0.13
บัตรดี 712,795 96.01
บัตรเสีย 23,137 3.12
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 6,516 0.88
ผู้มาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง 742,448 70.19
ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง 1,057,748 100.00

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต[แก้]

เขต 1เขต 2เขต 3เขต 4เขต 5เขต 6เขต 7เขต 8เขต 9เขต 10

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1[แก้]

ประกอบไปด้วยอําเภอเมืองบุรีรัมย์ (เฉพาะตําบลอิสาณ ตําบลบ้านยาง ตําบลบัวทอง ตําบลชุมเห็ด ตําบลถลุงเหล็ก ตําบลพระครู ตําบลหนองตาด ตําบลกระสัง ตําบลบ้านบัว ตําบลลุมปุ๊ก ตําบลสะแกโพรง ตําบลสวายจีก และเทศบาลเมืองบุรีรัมย์)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดบุรีรัมย์
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ไทยรักไทย ประสิทธิ์ ตั้งศรีเกียรติกุล (9)* 49,385 71.83
ชาติไทย นาตยา สุขเกษม (1) 9,105 13.12
ประชาธิปัตย์ จารุพงศ์ สมอารยพงศ์ (4) 7,751 11.71
มหาชน ประเสริฐ เลิศยะโส (11) 2,689 3.88
แผ่นดินไทย เด่น สมานมิตร (8)
ผลรวม 69,380 100.00
บัตรดี 69,380 89.87
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 3,010 3.90
บัตรเสีย 4,811 6.23
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 77,201 77.43
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 108,083 100.00
ไทยรักไทย ได้ที่นั่งจาก ชาติไทย

เขตเลือกตั้งที่ 2[แก้]

ประกอบไปด้วยอําเภอเมืองบุรีรัมย์ (เฉพาะตําบลเมืองฝาง ตําบลสองห้อง ตําบลเสม็ด ตําบลสะแกซํา และตําบลหลักเขต) อําเภอชํานิ อําเภอพลับพลาชัย (ยกเว้นตําบลป่าชัน) อําเภอห้วยราช (เฉพาะตําบลสนวน ตําบลห้วยราช ตําบลสามแวง และ ตําบลห้วยราชา) อําเภอกระสัง (เฉพาะตําบลสองชั้น) และอําเภอหนองหงส์ (เฉพาะตําบล เมืองฝ้าย)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดบุรีรัมย์
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ไทยรักไทย กรุณา ชิดชอบ (9)* 57,264 88.50
ประชาธิปัตย์ ชูเกียรติ วิสูตรตระการ (4) 4,814 7.44
ชาติไทย ธีระวัฒน์ ฉัพพรรณรังสี (1) 1,748 2.70
ประชาชนไทย วารุณีพร เพ็งประโคน (5) 456 0.66
รักษ์แผ่นดินไทย อนุชิต ดิษฐประสพ (21) 305 0.47
ผลรวม 64,705 100.00
บัตรดี 64,705 86.99
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,506 2.02
บัตรเสีย 8,174 10.99
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 74,385 68.06
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 109,298 100.00
ไทยรักไทย ได้ที่นั่งจาก ชาติไทย

เขตเลือกตั้งที่ 3[แก้]

ประกอบไปด้วยอําเภอห้วยราช (ยกเว้นตําบลสนวน ตําบลห้วยราช ตําบลสามแวง และ ตําบลห้วยราชา )กิ่งอําเภอบ้านด่าน อําเภอสตึก (เฉพาะตําบลชุมแสง) อําเภอกระสัง (ยกเว้นตําบลสองชั้น) และอําเภอเมืองบุรีรัมย์ (เฉพาะตําบลกลันทา)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 3 จังหวัดบุรีรัมย์
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ไทยรักไทย ศักดิ์สยาม ชิดชอบ (9)* 59,336 89.89
มหาชน ว่าที่ร้อยตรี เสนาะ พรหมสวัสดิ์ (11) 4,763 7.21
ประชาธิปัตย์ วีระยุทธ พะโรงรัมย์ (4) 1,585 2.40
ประชาชนไทย ประกิษฐ์ แสงทวีสุข (5) 324 0.49
ผลรวม 66,008 100.00
บัตรดี 66,008 92.40
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,165 1.63
บัตรเสีย 4,263 5.97
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 71,436 65.41
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 109,214 100.00
ไทยรักไทย ได้ที่นั่งจาก ชาติไทย

เขตเลือกตั้งที่ 4[แก้]

ประกอบไปด้วยอําเภอสตึก (ยกเว้นตำบลชุมแสง) กิ่งอำเภอแคนดง อำเภอพุทไธสง (เฉพาะตําบลบ้านยาง และตำบลมะเฟือง) และอำเภอคูเมือง (เฉพาะตำบลปะเคียบ)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 4 จังหวัดบุรีรัมย์
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ไทยรักไทย สุรศักดิ์ นาคดี (9)* 37,295 55.83
ชาติไทย รังสิกร ทิมาตฤกะ (1) 26,749 40.04
มหาชน กฤศ อุปจันทร์ (11) 2,553 3.82
ความหวังใหม่ ชูศักดิ์ พนมสินธุ์ (10) 204 0.31
ประชาธิปัตย์ ธีรพงษ์ วังโน (4)
ผลรวม 66,801 100.00
บัตรดี 66,801 92.61
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 636 0.88
บัตรเสีย 4,697 6.51
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 72,134 67.59
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 106,725 100.00
ไทยรักไทย รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 5[แก้]

ประกอบไปด้วยอําเภอคูเมือง (ยกเว้นตำบลปะเคียบ) อำเภอนาโพธิ์ อำเภอบ้านใหม่ไชยพจน์ และอำเภอพุทไธสง (ยกเว้นตําบลบ้านยาง และตำบลมะเฟือง)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 5 จังหวัดบุรีรัมย์
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ไทยรักไทย พีระพงษ์ เฮงสวัสดิ์ (9)* 34,169 49.35
ชาติไทย ปณวัตร เลี้ยงผ่องพันธุ์ (1)✔ 33,618 48.55
ประชาธิปัตย์ มนูญ มนูขจร (4) 1,048 1.51
มหาชน วุฒิพงษ์ เหลืองอุดมชัย (11)✔ 408 0.59
ผลรวม 69,243 100.00
บัตรดี 69,243 93.83
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 679 0.92
บัตรเสีย 3,875 5.25
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 73,797 74.78
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 98,690 100.00
ไทยรักไทย รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 6[แก้]

ประกอบไปด้วยอําเภอลำปลายมาศ และอำเภอหนองหงส์ (เฉพาะตําบลไทยสามัคคี และตำบลสระแก้ว)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 6 จังหวัดบุรีรัมย์
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ไทยรักไทย โสภณ ซารัมย์ (9)* 46,197 68.64
ชาติไทย สหภพ เลี้ยงผ่องพันธุ์ (1) 17,072 25.37
ประชาธิปัตย์ นพรัตน์ ฉิมรัมย์ (4) 2,562 3.81
ชาติประชาธิปไตย สุคน แก้วกล้า (15) 631 0.94
มหาชน ประกิต ประดับพงษา (11) 426 0.63
ความหวังใหม่ ปริวัชร มณีเต็ม (10) 413 0.61
ผลรวม 67,301 100.00
บัตรดี 67,301 92.42
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,258 1.73
บัตรเสีย 4,263 5.85
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 72,822 66.93
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 108,811 100.00
ไทยรักไทย ได้ที่นั่งจาก ชาติไทย

เขตเลือกตั้งที่ 7[แก้]

ประกอบไปด้วยอําเภอหนองกี่ (ยกเว้นตำบลเมืองไผ่) อำเภอปะคำ อำเภอโนนสุวรรณ และอำเภอหนองหงส์ (ยกเว้นตำบลเมืองฝ้าย ตําบลไทยสามัคคี และตำบลสระแก้ว)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 7 จังหวัดบุรีรัมย์
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ไทยรักไทย ประกิจ พลเดช (9)* 50,745 73.08
มหาชน ปราโมทย์ หอยมุกข์ (11) 10,416 15.00
ประชาธิปัตย์ ภุชงค์ เลาหศิริวงศ์ (4) 6,283 9.05
ชาติไทย สุทธินันท์ เอ้จรกา (1) 1,186 1.71
ประชาชนไทย รุ่งสุริยา หอมวัน (5) 456 0.66
ความหวังใหม่ พงศพัศ พงศ์กิจรุ่งเรือง (10) 347 0.50
ผลรวม 69,433 100.00
บัตรดี 69,433 91.11
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,678 2.20
บัตรเสีย 5,093 6.68
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 76,204 71.71
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 106,266 100.00
ไทยรักไทย รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 8[แก้]

ประกอบไปด้วยอําเภอนางรอง อำเภอเฉลิมพระเกียรติ และอำเภอหนองกี่ (เฉพาะตำบลเมืองไผ่)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 8 จังหวัดบุรีรัมย์
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ไทยรักไทย โสภณ เพชรสว่าง (9)* 51,189 67.96
ชาติไทย สุรเชษฐ์ กฤตยเรืองโรจน์ (1) 21,033 27.93
ประชาธิปัตย์ ปรีชา เข็มบุปผา (4) 1,835 2.44
มหาชน วัชรินทร์ ฉันทะกุล (11)✔ 998 1.33
ความหวังใหม่ สุริยา วงศ์เพ็ญ (10) 263 0.35
ผลรวม 75,318 100.00
บัตรดี 75,318 91.24
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,064 2.50
บัตรเสีย 5,169 6.26
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 82,551 84.48
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 97,717 100.00
ไทยรักไทย รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 9[แก้]

ประกอบไปด้วยอําเภอบ้านกรวด อำเภอโนนหินแดง และอำเภอละหานทราย (ยกเว้นตำบลตาจง)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 9 จังหวัดบุรีรัมย์
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ไทยรักไทย ขจรธน จุดโต (9)* 38,082 57.69
ประชาธิปัตย์ สมนึก เฮงวาณิชย์ (4) 26,294 39.83
มหาชน พันตำรวจเอก ไพโรจน์ เลิศวิไล (11) 1,430 2.17
ประชาชนไทย พุทธพงศ์ จันทะโคตร (5) 206 0.31
ผลรวม 66,012 100.00
บัตรดี 66,012 91.37
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 699 0.97
บัตรเสีย 5,539 7.67
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 72,250 68.59
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 105,341 100.00
ไทยรักไทย รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 10[แก้]

ประกอบไปด้วยอําเภอประโคนชัย อำเภอละหานทราย (ยกเว้นตำบลตาจง) และอำเภอพลับพลาชัย (ตำบลป่าชัน)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 10 จังหวัดบุรีรัมย์
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ไทยรักไทย ทรงศักดิ์ ทองศรี (9)* 37,941 60.98
มหาชน ภูมิสิทธิ์ มาประจง (11) 12,924 20.77
ความหวังใหม่ โอภาส ปุยะติ (10) 7,355 11.82
ประชาธิปัตย์ สุรวุฒิ เงางาม (4) 3,757 6.04
ประชาชนไทย สัญชัย ทะนานทอง (5) 243 0.39
ผลรวม 62,220 100.00
บัตรดี 62,220 89.30
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,228 1.76
บัตรเสีย 6,224 8.93
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 69,673 64.75
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 107,603 100.00
ไทยรักไทย รักษาที่นั่ง

อ้างอิง[แก้]

  1. คณะกรรมการการเลือกตั้ง. "ข้อมูล สถิติ และผลการเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2548" (PDF). คลังสารสนเทศของสถาบันนิติบัญญัติ. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2020-06-03. สืบค้นเมื่อ 29 พฤษภาคม 2563. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)