ข้ามไปเนื้อหา

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครปฐม

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
จังหวัดนครปฐม
เขตเลือกตั้งในปัจจุบัน
จำนวนเขต6
คะแนนเสียง172,582 (ก้าวไกล)
159,712 (ชาติไทยพัฒนา)
88,821 (รวมไทยสร้างชาติ)
เขตเลือกตั้งปัจจุบัน
ก่อตั้งพ.ศ. 2476
ที่นั่งประชาชน (2)
ชาติไทยพัฒนา (3)
รวมไทยสร้างชาติ (1)
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรดูในบทความ

จังหวัดนครปฐม มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 6 เขต (สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ. 2566)[1] และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 6 คน จากทั้งหมด 400 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย

ประวัติศาสตร์

[แก้]

หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยจังหวัดนครปฐมมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนแรก คือ นายดาบ เทียม ศรีพิสิฐ[2]

เขตเลือกตั้ง

[แก้]
การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้ง แผนที่ จำนวน ส.ส.
พ.ศ. 2476 เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด 1 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2480
พ.ศ. 2481
พ.ศ. 2489
พ.ศ. 2491
พ.ศ. 2492
พ.ศ. 2495 2 คน (เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2500/1
พ.ศ. 2500/2
พ.ศ. 2512 3 คน (เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2518
พ.ศ. 2519
พ.ศ. 2522 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครปฐมและอำเภอกำแพงแสน
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอบางเลน, อำเภอดอนตูม, อำเภอนครชัยศรี และอำเภอสามพราน
4 คน (เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2526
พ.ศ. 2529
พ.ศ. 2531
พ.ศ. 2535/1 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครปฐม และ อำเภอกำแพงแสน
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอบางเลน, อำเภอดอนตูม, อำเภอนครชัยศรี, อำเภอสามพราน และกิ่งอำเภอพุทธมณฑล
พ.ศ. 2535/2
พ.ศ. 2538 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครปฐม, อำเภอนครชัยศรี, อำเภอสามพราน และกิ่งอำเภอพุทธมณฑล
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอกำแพงแสน, อำเภอดอนตูม และอำเภอบางเลน
5 คน (เขต 1 เขตละ 3 คน
ส่วน เขต 2 เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2539
พ.ศ. 2544 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครปฐม [เฉพาะตำบลวังตะกู ตำบลนครปฐม ตำบลพระปฐมเจดีย์ ตำบลบ่อพลับ ตำบลพระประโทน ตำบลห้วยจรเข้ ตำบลสนามจันทร์ ตำบลบางแขม (ในเขตเทศบาลนครนครปฐม) ตำบลลำพยา ตำบลหนองปากโลง และตำบลโพรงมะเดื่อ]
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอกำแพงแสนและอำเภอเมืองนครปฐม (เฉพาะตำบลบ้านยาง ตำบลหนองงูเหลือม ตำบลทัพหลวง และตำบลตาก้อง)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอบางเลน, อำเภอดอนตูม และอำเภอเมืองนครปฐม (เฉพาะตำบลมาบแค ตำบลทุ่งน้อย และตำบลสามควายเผือก)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอนครชัยศรีและอำเภอเมืองนครปฐม [เฉพาะตำบลธรรมศาลา ตำบลถนนขาด ตำบลดอนยายหอม ตำบลบางแขม (นอกเขตเทศบาลนครนครปฐม) ตำบลวังเย็น ตำบลหนองดินแดง ตำบลสระกะเทียม และตำบลสวนป่าน]
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอสามพรานและอำเภอพุทธมณฑล
5 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2550 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครปฐม, อำเภอกำแพงแสน และอำเภอนครชัยศรี
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอดอนตูม, อำเภอบางเลน, อำเภอพุทธมณฑล และอำเภอสามพราน
5 คน (เขต 1 เขตละ 3 คน
ส่วน เขต 2 เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2554 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครปฐม [เฉพาะตำบลวังตะกู ตำบลนครปฐม ตำบลพระปฐมเจดีย์ ตำบลบ่อพลับ ตำบลพระประโทน ตำบลห้วยจรเข้ ตำบลสนามจันทร์ ตำบลบางแขม (ในเขตเทศบาลนครนครปฐม) ตำบลลำพยา ตำบลหนองปากโลง ตำบลโพรงมะเดื่อ ตำบลหนองดินแดง ตำบลสระกะเทียม และตำบลสวนป่าน]
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอกำแพงแสนและอำเภอเมืองนครปฐม (เฉพาะตำบลบ้านยาง ตำบลหนองงูเหลือม ตำบลทัพหลวง ตำบลตาก้อง และตำบลมาบแค)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอดอนตูม, อำเภอบางเลน และอำเภอพุทธมณฑล
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอนครชัยศรีและอำเภอเมืองนครปฐม [เฉพาะตำบลทุ่งน้อย ตำบลสามควายเผือก ตำบลธรรมศาลา ตำบลถนนขาด ตำบลดอนยายหอม ตำบลบางแขม (นอกเขตเทศบาลนครนครปฐม) และตำบลวังเย็น]
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอสามพราน
5 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2562 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครปฐม (ยกเว้นตำบลบ้านยาง ตำบลหนองงูเหลือม ตำบลทัพหลวง ตำบลตาก้อง ตำบลมาบแค ตำบลทุ่งน้อย ตำบลสามควายเผือก ตำบลธรรมศาลา ตำบลถนนขาด และตำบลดอนยายหอม)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอกำแพงแสนและอำเภอเมืองนครปฐม (เฉพาะตำบลบ้านยาง ตำบลหนองงูเหลือม ตำบลทัพหลวง ตำบลตาก้อง ตำบลมาบแค และตำบลทุ่งน้อย)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอดอนตูม, อำเภอบางเลน และอำเภอพุทธมณฑล
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอนครชัยศรี, อำเภอเมืองนครปฐม (เฉพาะตำบลสามควายเผือก ตำบลธรรมศาลา ตำบลถนนขาด และตำบลดอนยายหอม) และอำเภอสามพราน (เฉพาะตำบลตลาดจินดา ตำบลคลองจินดา และตำบลบางช้าง)
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอสามพราน (ยกเว้นตำบลตลาดจินดา ตำบลคลองจินดา และตำบลบางช้าง)
5 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2566 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครปฐม (เฉพาะตำบลสวนป่าน ตำบลสระกะเทียม ตำบลหนองดินแดง ตำบลวังเย็น ตำบลบางแขม ตำบลดอนยายหอม ตำบลถนนขาด ตำบลพระประโทน ตำบลธรรมศาลา และตำบลสามควายเผือก) และอำเภอสามพราน (เฉพาะตำบลตลาดจินดา ตำบลคลองจินดา ตำบลบางช้าง ตำบลคลองใหม่ ตำบลท่าตลาด และตำบลหอมเกร็ด)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเมืองนครปฐม (เฉพาะตำบลบ้านยาง ตำบลโพรงมะเดื่อ ตำบลหนองปากโลง ตำบลวังตะกู ตำบลนครปฐม ตำบลลำพยา ตำบลสนามจันทร์ ตำบลห้วยจรเข้ ตำบลพระปฐมเจดีย์ ตำบลบ่อพลับ และตำบลทุ่งน้อย)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอเมืองนครปฐม (เฉพาะตำบลมาบแค ตำบลตาก้อง ตำบลทัพหลวง และตำบลหนองงูเหลือม) และอำเภอกำแพงแสน (ยกเว้นตำบลสระพัฒนาและตำบลห้วยม่วง)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอดอนตูม, อำเภอบางเลน และอำเภอกำแพงแสน (เฉพาะตำบลสระพัฒนาและตำบลห้วยม่วง)
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอนครชัยศรีและอำเภอพุทธมณฑล
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอสามพราน (ยกเว้นตำบลตลาดจินดา ตำบลคลองจินดา ตำบลบางช้าง ตำบลคลองใหม่ ตำบลท่าตลาด และตำบลหอมเกร็ด)
6 คน (เขตละ 1 คน)

รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต

[แก้]

ชุดที่ 1–5; พ.ศ. 2476–2492

[แก้]
      พรรคอิสระ (พ.ศ. 2488)
      พรรคแนวรัฐธรรมนูญ
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 1 พ.ศ. 2476 นายดาบเทียม ศรีพิสิฐ
ชุดที่ 2 พ.ศ. 2480 นายสมาน สุชาติกุล
ชุดที่ 3 พ.ศ. 2481 ร้อยเอก ขุนวิริยะเหิรหาว (วิริยะ มีชำนาญ)
ชุดที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2489 นายสานนท์ สายสว่าง
สิงหาคม พ.ศ. 2489 พันเอก ช่วง เชวงศักดิ์สงคราม (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
ชุดที่ 5 พ.ศ. 2491 นายล้วน เวกชาลิกานน
พ.ศ. 2492 นายสานนท์ สายสว่าง (เลือกตั้งเพิ่มเติม)

ชุดที่ 7–9; พ.ศ. 2495–2500

[แก้]
      พรรคธรรมาธิปัตย์ (พ.ศ. 2498)
      พรรคเสรีมนังคศิลา
      พรรคสหภูมิพรรคชาติสังคม
      ไม่สังกัดพรรคการเมือง
เขต ชุดที่ 7 พ.ศ. 2495 ชุดที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 ชุดที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2500
1 เรือเอก พระสาครบุรานุรักษ์ นายล้วน เวกชาลิกานน นายล้วน เวกชาลิกานน
นายสานนท์ สายสว่าง นายสมัย จินตกานนท์ นายสว่าง แก้ววิจิตร

ชุดที่ 10–12; พ.ศ. 2512–2519

[แก้]
      พรรคสหประชาไทย
      พรรคสัมมาชีพ-ช่วยชาวนา
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคชาติไทย
      พรรคฟื้นฟูชาติไทย
      พรรคธรรมสังคม
เขต ชุดที่ 10 พ.ศ. 2512 ชุดที่ 11 พ.ศ. 2518 ชุดที่ 12 พ.ศ. 2519
1 นายอาณัติ กระสินธุ์ นายสราวุธ นิยมทรัพย์
นายเสรี จีระพันธุ์ นาย ประยงค์ โมกขพันธ์ นายณรงค์ จิตติโภคา
นายล้วน เวกชาลิกานน นายถวิล พวงสำลี ร้อยตำรวจเอก มานัส ธุวนลิน

ชุดที่ 13–18; พ.ศ. 2522–2535

[แก้]
      พรรคสยามประชาธิปไตย
      พรรคชาติไทย
      พรรคชาติประชาชน (พ.ศ. 2522)
      พรรคประชากรไทย
      พรรคก้าวหน้า (พ.ศ. 2526)พรรคเอกภาพ
      พรรคราษฎร (พ.ศ. 2529)
      พรรคความหวังใหม่
      พรรคสามัคคีธรรม
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1 เขตเลือกตั้งที่ 2
ชุดที่ 13 พ.ศ. 2522 ร้อยตำรวจเอก มานัส ธุวนลิน นายวินัย เล้าอรุณ นายประยงค์ โมกขพันธ์ นายเชื่อม เรืองรอง
ชุดที่ 14 พ.ศ. 2526 นายสราวุธ นิยมทรัพย์ (ถูกให้ออกจากพรรค) นายประสานต์ บุญมี นายชาญชัย ปทุมารักษ์
นายสราวุธ นิยมทรัพย์ (เลือกตั้งใหม่)
ชุดที่ 15 พ.ศ. 2529 นายสราวุธ นิยมทรัพย์ นายไชยยศ สะสมทรัพย์ นายเชื่อม เรืองรอง
ชุดที่ 16 พ.ศ. 2531 นายประสานต์ บุญมี นายเผดิมชัย สะสมทรัพย์
ชุดที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2535 นายสราวุธ นิยมทรัพย์ นายระวัง เนตรโพธิ์แก้ว
ชุดที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2535 นายไชยยศ สะสมทรัพย์ นายเผดิมชัย สะสมทรัพย์

ชุดที่ 19–20; พ.ศ. 2538–2539

[แก้]
      พรรคชาติไทย
      พรรคเอกภาพ
      พรรคประชาธิปัตย์
เขต ชุดที่ 19 พ.ศ. 2538 ชุดที่ 20 พ.ศ. 2539
1 นายสมพัฒน์ แก้วพิจิตร
นายไชยยศ สะสมทรัพย์ นายเผดิมชัย สะสมทรัพย์
นายไชยา สะสมทรัพย์
2 นายชาญชัย ปทุมารักษ์
นายพรศักดิ์ เปี่ยมคล้า นายไชยยศ สะสมทรัพย์

ชุดที่ 21–22; พ.ศ. 2544–2548

[แก้]
      พรรคไทยรักไทย
      พรรคชาติไทย
เขต ชุดที่ 21 พ.ศ. 2544 ชุดที่ 22 พ.ศ. 2548
1 นายประสานต์ บุญมี นายสมพัฒน์ แก้วพิจิตร
2 นายชาญชัย ปทุมารักษ์
3 นายพรศักดิ์ เปี่ยมคล้า (ลาออก) นายก่อเกียรติ สิริยะเสถียร
นายประสิทธิ์ ภักดีพาณิชพงษ์
(แทนนายพรศักดิ์) [3]
4 นายไชยา สะสมทรัพย์
5 นายเผดิมชัย สะสมทรัพย์
***หมายเหตุ นายพรศักดิ์ เปี่ยมคล้า ลาออกเมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2547

ชุดที่ 23; พ.ศ. 2550

[แก้]
      พรรคชาติไทย
      พรรคพลังประชาชน (พ.ศ. 2541)พรรคเพื่อไทย
      พรรคประชาธิปัตย์
เขต ชุดที่ 23 พ.ศ. 2550
1 นายสมพัฒน์ แก้วพิจิตร
(ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี)
นายมารุต บุญมี
(แทนนายสมพัฒน์) [4]
นายรัฐกร เจนกิจณรงค์
นายอนุชา สะสมทรัพย์
2 นายก่อเกียรติ สิริยะเสถียร
นายเผดิมชัย สะสมทรัพย์

ชุดที่ 24–25; พ.ศ. 2554–2562

[แก้]
      พรรคชาติไทยพัฒนา
      พรรคเพื่อไทย
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคอนาคตใหม่
      พรรคอนาคตใหม่พรรคก้าวไกล
      พรรคพลังประชารัฐ
เขต ชุดที่ 24 พ.ศ. 2554 ชุดที่ 25 พ.ศ. 2562
1 พันโท สินธพ แก้วพิจิตร พันโท สินธพ แก้วพิจิตร
2 นายรัฐกร เจนกิจณรงค์ นายพาณุวัฒณ์ สะสมทรัพย์
3 นายก่อเกียรติ สิริยะเสถียร นางสาวสุทธวรรณ สุบรรณ ณ อยุธยา
4 นายอนุชา สะสมทรัพย์ นายปฐมพงศ์ สูญจันทร์
(ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งซ่อม)
5 นายเผดิมชัย สะสมทรัพย์ นางจุมพิตา จันทรขจร
(ลาออก)
นายเผดิมชัย สะสมทรัพย์
(แทนนางจุมพิตา)

ชุดที่ 26; พ.ศ. 2566

[แก้]
      พรรคชาติไทยพัฒนา
      พรรครวมไทยสร้างชาติ
      พรรคก้าวไกลพรรคประชาชน
เขต ชุดที่ 26 พ.ศ. 2566
1 นายศุภโชค ศรีสุขจร
2 พันโท สินธพ แก้วพิจิตร
3 นายพาณุวัฒณ์ สะสมทรัพย์
4 นายกิตติภณ ปานพรหมมาศ
5 นายอนุชา สะสมทรัพย์
6 นายชิษณุพงศ์ ตั้งเมธากุล

รูปภาพ

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งและเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัดจะพึงมี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 140 (14 ก): 38–42. 3 มีนาคม 2566.
  2. อาร์วายทีไนน์,สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจากการเลือกตั้งครั้งแรก
  3. ราชกิจจานุเบกษา,ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครปฐม เขตเลือกตั้งที่ ๓ แทนตำแหน่งที่ว่าง, เล่ม ๑๒๑ ตอนพิเศษ ๑๗ก, ๒๗ เมษายน พ.ศ. ๒๕๔๗, หน้า ๒๘
  4. ราชกิจจานุเบกษา,ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งแทนตำแหน่งที่ว่าง,เล่ม ๑๒๖ ตอนที่ ๔ ก, ๒๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๒, หน้า ๘

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]