ผู้ใช้:Fiasky/ทดลองเขียน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ฮ่อยจ๊อ (จีน: 蟹棗; แปลตรงตัว: "พุทราปู"; Peng'im: hoi6 jo2;[1] เป็นอาหารที่มีต้นกำเนิดมาจากชาวจีนแต้จิ๋ว นิยมรับประทานกันเป็นอาหารว่าง ประกอบด้วยฟองเต้าหู้ห่อส่วนผสมที่ทำจากเนื้อปู มันหมูแข็ง หัวแห้วบด ไข่ไก่ ผัก และเครื่องเทศอื่นๆตามต้องการ นำมาทอดจนสุกและหั่นให้เป็นชิ้นพอดีคำ นิยมทานกับน้ำจิ้มบ๊วยเจี่ย

อาหารที่ครอบคลุมชีวิต(Nutriment)

(Phanurat Achara ,2023 : 16 July )

ในพุทธศาสนา(ป.อ.ปยุตโต 2556 : 212)อาหารคือเครื่องค้ำจุนชีวิต มันเป็นสิ่งหล่อเลี้ยงร่างกายและจิตใจ. ทำให้เกิดกำลังเจริญเติบโตและวิวัฒน์ได้

  1. อาหารคำข้าว หมายถึงอาหารทุกชนิดรวมทั้งน้ำประเภทต่างๆที่เรารับประทานเข้าไปทางปาก กลืนกินดูดซึมหล่อเลี้ยงร่างกาย(material food,physical nutriment) ฉะนั้นการรักษาสุขภาพกายและจิตที่ดี ในระหว่างที่เรารับประทานอาหารต้องสามารถกำหนดรู้ว่าอะไรคือผู้ถูกรู้ และอะไรคือผู้รู้
  2. อาหารคือผัสสะ หมายถึงอาหารที่สัมผัสกับเราทางตา หู จมูก ลิ้นและ กาย สามารถกระทบความรู้สึกภายใน และถูกบันทึกหรือมีการเสวยอารมณ์หรือรู้สึกรสของอารมณ์ ฉะนั้นเราควรพิจารณาอาหารประเภทนี้บ่อยๆเพื่อกำหนดรู้ว่าอะไรคืออาหารและอาหารนี้เข้าทางอวัยวะใดแล้วมันกระทบอารมณ์เราอย่างไรในสามอารมณ์คือความสุข/ความพอใจ ความทุกข์/ความไม่พอใจ หรือเฉยๆและเป็นกลาง รู้ตัวทั่วพร้อมว่ากำลังเสพอาหารทางใด
  3. อาหารคือความจงใจ ความจำ การพูดและการคิด ซึ่งเป็นการเคลื่อนไหวภายในตลอดเวลา เพราะมันมีแรงที่เกิดระหว่างการเคลื่อนไหวเรียกว่าแรงกรรม อันมีผลให้เกิดความทะยานอยาก 3 ประการคือความทะยายอยากในกาม หรืออยากได้สิ่งสนองความต้องการทางประสาททั้งห้าประการที่หนึ่ง ความทะยานอยากในภาวะของตัวตนที่จะได้อย่างใดอย่างหนึ่ง อยากเป็นและอยากคงอยู่ตลอดไป ประการที่สามคือความทะยานอยากในความพรากพ้นสิ่งที่ไม่ปรารถนา อยากทำลาย อยากให้ดับสูญ เมื่อเรากำหนดรู้ว่าความอยากคือตัวถูกรู้ แสดงว่ามันมีตัวผู้รู้ในชีวิตเรา
  4. อาหารคือวิญญาณ(nutriment consisting of consciousness or consciousness as nutriment) เราพบผู้รู้แล้ว และมันคือสติสัมปะชัญญะที่มีสภาวะเป็นกลาง ขจัดความหลงผิดได้ มันคือความว่างที่ทำให้เราอิ่มเอิบใจ

รายการอ้างอิง[แก้]

  1. Gaginang - Empowering the Teochew community

แหล่งข้อมูลเพิ่มเติม[แก้]

หมวดหมู่:อาหารจีนแต้จิ๋ว หมวดหมู่:อาหารไทย