ข้ามไปเนื้อหา

ฟองเต้าหู้

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ฟองเต้าหู้
คุณค่าทางโภชนาการต่อ 100 กรัม (3.5 ออนซ์)
พลังงาน2,217 กิโลจูล (530 กิโลแคลอรี)
7.2 g
ใยอาหาร3.0 g
32.1 g
อิ่มตัว4.98 g
ไม่อิ่มตัวมีพันธะคู่เดี่ยว7.50 g
ไม่อิ่มตัวมีพันธะคู่หลายคู่16.26 g
50.4 g
วิตามิน
วิตามินเอ
(0%)
1 μg
(0%)
7 μg
ไทอามีน (บี1)
(30%)
0.35 มก.
ไรโบเฟลวิน (บี2)
(10%)
0.12 มก.
ไนอาซิน (บี3)
(9%)
1.4 มก.
(11%)
0.55 มก.
วิตามินบี6
(25%)
0.32 มก.
โฟเลต (บี9)
(10%)
38 μg
วิตามินอี
(16%)
2.4 มก.
วิตามินเค
(52%)
55 μg
แร่ธาตุ
แคลเซียม
(21%)
210 มก.
เหล็ก
(64%)
8.3 มก.
แมกนีเซียม
(62%)
220 มก.
แมงกานีส
(163%)
3.43 มก.
ฟอสฟอรัส
(86%)
600 มก.
โพแทสเซียม
(18%)
840 มก.
โซเดียม
(1%)
12 มก.
สังกะสี
(52%)
4.9 มก.
องค์ประกอบอื่น
น้ำ6.9 g
เส้นใยอาหารที่ละลายน้ำ0.6 g
เส้นใยอาหารที่ไม่ละลายน้ำ2.4 g
ไบโอติน(บี737.3 µg

Vitamin E showed only α-tocopherol[1]
ประมาณร้อยละคร่าว ๆ โดยใช้การแนะนำของสหรัฐสำหรับผู้ใหญ่
ฟองเต้าหู้
ชื่อภาษาจีน
ภาษาจีน腐皮
ความหมายตามตัวอักษรผิวเต้าหู้
ชื่อภาษาจีน 2
ภาษาจีน豆腐皮
ความหมายตามตัวอักษรผิวเต้าหู้
ชื่อภาษาเกาหลี
ฮันกึล
두부껍질
ความหมายตามตัวอักษรผิวเต้าหู้
ชื่อภาษาญี่ปุ่น
คันจิ湯葉
คานะゆば

ฟองเต้าหู้ (อังกฤษ: Tofu skin, Yuba, beancurd skin, beancurd sheet หรือ beancurd robes) เป็นผลิตภัณฑ์อาหารที่ทำจากถั่วเหลือง ระหว่างการต้มน้ำเต้าหู้ในกระทะก้นตื้น ผิวที่ประกอบด้วยสารประกอบเชิงซ้อนของโปรตีน-ลิพิดจากถั่วเหลืองจะก่อตัวขึ้นบนพื้นผิวของเหลว[2][3] ผิวจะถูกรวบรวมและทำให้แห้งเป็นแผ่นสีเหลืองที่เรียกว่าฟองเต้าหู้[4][5] เนื่องจากฟองเต้าหู้ไม่ได้ผลิตโดยใช้สารก่อการจับตัวเป็นก้อน โดยหลักการแล้วฟองเต้าหู้จึงไม่ใช่เต้าหู้ แต่ก็มีเนื้อสัมผัสและรสชาติที่คล้ายคลึงกับผลิตภัณฑ์เต้าหู้บางชนิด

การใช้ฟองเต้าหู้ได้รับการบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษรเป็นครั้งแรกในจีน เกาหลี และญี่ปุ่นในศตวรรษที่ 16 มีการใช้กันอย่างแพร่หลายทั้งแบบสด หมัก หรือตากแห้งในอาหารจีน เกาหลี และญี่ปุ่น

คลังภาพ

[แก้]

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. Ministry of Health, Labour and Welfare Japanese Dietary Intake Standards (2015 Edition)
  2. Shurtleff, William; Aoyagi, Akiko (2004). "History of Yuba". History of Soybeans and Soyfoods: 1100 B.C. to the 1980s. Soyinfo Center. สืบค้นเมื่อ 2021-02-18.
  3. BEAN SKIN (腐竹) ; A PRODUCT OF BLOOD & SWEAT FROM THE MAKERS. Journal of the Hong Kong Branch of the Royal Asiatic Society. Vol. 17. 1977.
  4. Shurtleff, William; Aoyagi, Akiko (2012). History of Yuba – The Film That Forms atop Heated Soymilk (1587–2012). Lafayette, California: Soyinfo Center.
  5. Shurtleff, William; Aoyagi, Akiko (1983). The Book of Tofu. Berkeley, California: Ten Speed Press.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]