สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเพชรบูรณ์
หน้าตา
เขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร | |
---|---|
จังหวัดเพชรบูรณ์ | |
เขตเลือกตั้งในปัจจุบัน | |
จำนวนเขต | 6 |
คะแนนเสียง | 229,092 (พลังประชารัฐ) |
เขตเลือกตั้งปัจจุบัน | |
ก่อตั้ง | พ.ศ. 2476 |
ที่นั่ง | พลังประชารัฐ (6) |
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร | ดูในบทความ |
จังหวัดเพชรบูรณ์ มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 6 เขต (สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ. 2566)[1] และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 6 คน จากทั้งหมด 400 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ประวัติศาสตร์
[แก้]หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยจังหวัดเพชรบูรณ์มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนแรก คือ ขุนอินทรภักดี (ทองอิน ทองมาก)[2]
- นักการเมืองที่ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมากครั้งที่สุด คือ 11 สมัย ได้แก่ นายปัญจะ เกสรทอง
- สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสตรีคนแรกของจังหวัดเพชรบูรณ์ คือ นางวันเพ็ญ พร้อมพัฒน์ (จากการเลือกตั้ง พ.ศ. 2550)
- ตระกูลการเมืองที่ได้รับเลือกตั้งมากที่สุด คือ
- พั้วช่วย (2 คน) ได้แก่ นายจรัส พั้วช่วย และนายจักรัตน์ พั้วช่วย
- พร้อมพัฒน์ (2 คน) ได้แก่ นายสันติ พร้อมพัฒน์ และนางวันเพ็ญ พร้อมพัฒน์
- อนรรฆพันธ์ (2 คน) ได้แก่ นายสุรศักดิ์ อนรรฆพันธ์ และนายทวีศักดิ์ อนรรฆพันธ์
- พรพฤฒิพันธุ์ (2 คน) ได้แก่ นายวิจิตร พรพฤฒิพันธุ์ และนางสาวพิมพ์พร พรพฤฒิพันธุ์
- ทองใจสด (2 คน) ได้แก่ นายเอี่ยม ทองใจสด และ นายอัคร ทองใจสด
เขตเลือกตั้ง
[แก้]การเลือกตั้ง | เขตเลือกตั้ง | แผนที่ | จำนวน ส.ส. |
พ.ศ. 2476 | เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด | 1 คน (เขตละ 1 คน) | |
พ.ศ. 2480 | |||
พ.ศ. 2481 | |||
พ.ศ. 2489 | |||
พ.ศ. 2491 | |||
พ.ศ. 2492 | |||
พ.ศ. 2495 | |||
พ.ศ. 2500/1 | 2 คน (เขตละ 2 คน) | ||
พ.ศ. 2500/2 | |||
พ.ศ. 2512 | 3 คน (เขตละ 3 คน) | ||
พ.ศ. 2518 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองเพชรบูรณ์, อำเภอหล่มสัก และอำเภอหล่มเก่า · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอหนองไผ่, อำเภอวิเชียรบุรี, อำเภอชนแดน และกิ่งอำเภอศรีเทพ |
4 คน (2 เขต เขตละ 4 คน) | |
พ.ศ. 2519 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองเพชรบูรณ์, อำเภอหล่มสัก และอำเภอหล่มเก่า · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอหนองไผ่, อำเภอวิเชียรบุรี, อำเภอชนแดน, กิ่งอำเภอศรีเทพ และกิ่งอำเภอบึงสามพัน |
||
พ.ศ. 2522 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองเพชรบูรณ์, อำเภอหล่มสัก, อำเภอหล่มเก่า, อำเภอชนแดน และกิ่งอำเภอน้ำหนาว · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอหนองไผ่, อำเภอวิเชียรบุรี, อำเภอศรีเทพ และกิ่งอำเภอบึงสามพัน |
5 คน (เขต 1 เขตละ 3 คน ส่วนเขต 2 เขตละ 2 คน) | |
พ.ศ. 2526 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองเพชรบูรณ์, อำเภอหล่มสัก, อำเภอหล่มเก่า, อำเภอชนแดน และกิ่งอำเภอน้ำหนาว · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอหนองไผ่, อำเภอวิเชียรบุรี, อำเภอศรีเทพ และอำเภอบึงสามพัน |
||
พ.ศ. 2529 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองเพชรบูรณ์, อำเภอหล่มสัก, อำเภอหล่มเก่า, กิ่งอำเภอน้ำหนาว, กิ่งอำเภอเขาค้อ และกิ่งอำเภอวังโป่ง · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอหนองไผ่, อำเภอวิเชียรบุรี, อำเภอชนแดน, อำเภอศรีเทพ และอำเภอบึงสามพัน |
6 คน (2 เขต เขตละ 3 คน) | |
พ.ศ. 2531 | |||
พ.ศ. 2535/1 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองเพชรบูรณ์, อำเภอหล่มสัก, อำเภอหล่มเก่า, อำเภอน้ำหนาว, อำเภอเขาค้อ และอำเภอวังโป่ง · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอหนองไผ่, อำเภอวิเชียรบุรี, อำเภอชนแดน, อำเภอศรีเทพ และอำเภอบึงสามพัน |
||
พ.ศ. 2535/2 | |||
พ.ศ. 2538 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองเพชรบูรณ์, อำเภอหล่มสัก, อำเภอหล่มเก่า, อำเภอน้ำหนาว และอำเภอเขาค้อ · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอหนองไผ่, อำเภอชนแดน และอำเภอวังโป่ง · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอวิเชียรบุรี, อำเภอบึงสามพัน และอำเภอศรีเทพ |
7 คน (เขต 1 เขตละ 3 คน ส่วนเขต 2 และเขต 3 เขตละ 2 คน) | |
พ.ศ. 2539 | |||
พ.ศ. 2544 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองเพชรบูรณ์ (ยกเว้นตำบลตะเบาะ ตำบลนายม ตำบลระวิง ตำบลห้วยสะแก ตำบลวังชมภู ตำบลบ้านโตก และตำบลป่าเลา) · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอหนองไผ่ (ยกเว้นตำบลบ้านโภชน์และตำบลเพชรละคร), อำเภอเมืองเพชรบูรณ์ (เฉพาะตำบลห้วยสะแก ตำบลนายม ตำบลระวิง และตำบลตะเบาะ) และอำเภอชนแดน (เฉพาะตำบลซับพุทรา) · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอวังโป่ง, อำเภอชนแดน (ยกเว้นตำบลซับพุทรา) และอำเภอเมืองเพชรบูรณ์ (เฉพาะตำบลวังชมภู) · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอเขาค้อ, อำเภอหล่มเก่า, อำเภอน้ำหนาว, อำเภอหล่มสัก (เฉพาะตำบลฝายนาแซง ตำบลหนองสว่าง ตำบลน้ำเฮี้ย และตำบลท่าอิบุญ) และอำเภอเมืองเพชรบูรณ์ (เฉพาะตำบลป่าเลาและตำบลบ้านโตก) · เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอบึงสามพัน, อำเภอวิเชียรบุรี (เฉพาะตำบลโคกปรง ตำบลยางสาว ตำบลท่าโรง และตำบลน้ำร้อน) และอำเภอหนองไผ่ (เฉพาะตำบลบ้านโภชน์และตำบลเพชรละคร) · เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอศรีเทพและอำเภอวิเชียรบุรี (ยกเว้นตำบลโคกปรง ตำบลยางสาว ตำบลท่าโรง และตำบลน้ำร้อน) · เขตเลือกตั้งที่ 7 : อำเภอหล่มสัก (ยกเว้นตำบลฝายนาแซง ตำบลหนองสว่าง ตำบลน้ำเฮี้ย และตำบลท่าอิบุญ) |
7 คน (เขตละ 1 คน) | |
พ.ศ. 2548 | |||
พ.ศ. 2549 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองเพชรบูรณ์ (ยกเว้นตำบลท่าพล ตำบลนางั่ว และตำบลห้วยใหญ่) และอำเภอหนองไผ่ (เฉพาะตำบลบ่อไทย) · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเขาค้อ, อำเภอหล่มสัก (เฉพาะตำบลหล่มสัก ตำบลตาลเดี่ยว ตำบลวัดป่า ตำบลหนองไขว่ ตำบลปากดุก ตำบลลานบ่า ตำบลบุ่งน้ำเต้า ตำบลบุ่งคล้า ตำบลบ้านไร่ ตำบลช้างตะลูด และตำบลบ้านกลาง) และอำเภอเมืองเพชรบูรณ์ (เฉพาะตำบลท่าพล ตำบลนางั่ว และตำบลห้วยใหญ่) · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอวังโป่ง, อำเภอชนแดน และอำเภอหนองไผ่ (เฉพาะตำบลหนองไผ่ ตำบลนาเฉลียง ตำบลห้วยโป่ง ตำบลยางงาม ตำบลวังโบสถ์ และตำบลบัววัฒนา) · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอน้ำหนาว, อำเภอหล่มเก่า และอำเภอหล่มสัก (เฉพาะตำบลปากช่อง ตำบลบ้านโสก ตำบลฝายนาแซง ตำบลบ้านติ้ว ตำบลหนองสว่าง ตำบลห้วยไร่ ตำบลน้ำเฮี้ย ตำบลน้ำก้อ ตำบลสักหลง ตำบลน้ำชุน ตำบลท่าอิบุญ และตำบลบ้านหวาย) · เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอบึงสามพัน, อำเภอหนองไผ่ (เฉพาะตำบลเพชรละคร ตำบลกองทูล ตำบลวังท่าดี ตำบลบ้านโภชน์ ตำบลท่าแดง และตำบลท่าด้วง) และอำเภอวิเชียรบุรี (เฉพาะตำบลสามแยก ตำบลโคกปรง ตำบลน้ำร้อน ตำบลบึงกระจับ และตำบลยางสาว) · เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอศรีเทพและอำเภอวิเชียรบุรี (ยกเว้นตำบลสามแยก ตำบลโคกปรง ตำบลน้ำร้อน ตำบลบึงกระจับ และตำบลยางสาว) |
6 คน (เขตละ 1 คน) | |
พ.ศ. 2550 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองเพชรบูรณ์, อำเภอหล่มสัก, อำเภอหล่มเก่า, อำเภอน้ำหนาว และอำเภอเขาค้อ · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอหนองไผ่, อำเภอวิเชียรบุรี, อำเภอชนแดน, อำเภอวังโป่ง, อำเภอศรีเทพ และอำเภอบึงสามพัน |
6 คน (2 เขต เขตละ 3 คน) | |
พ.ศ. 2554 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองเพชรบูรณ์ (ยกเว้นตำบลท่าพล ตำบลนางั่ว และตำบลห้วยใหญ่) · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเขาค้อ, อำเภอหล่มสัก (เฉพาะตำบลหล่มสัก ตำบลบุ่งน้ำเต้า ตำบลตาลเดี่ยว ตำบลบ้านกลาง ตำบลวัดป่า ตำบลช้างตะลูด ตำบลหนองไขว่ ตำบลบ้านไร่ ตำบลลานบ่า ตำบลปากดุก และตำบลบุ่งคล้า) และอำเภอเมืองเพชรบูรณ์ (เฉพาะตำบลท่าพล ตำบลนางั่ว และตำบลห้วยใหญ่) · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอหล่มเก่า, อำเภอน้ำหนาว และอำเภอหล่มสัก (เฉพาะตำบลปากช่อง ตำบลบ้านโสก ตำบลฝายนาแซง ตำบลบ้านติ้ว ตำบลหนองสว่าง ตำบลห้วยไร่ ตำบลน้ำเฮี้ย ตำบลน้ำก้อ ตำบลสักหลง ตำบลน้ำชุน ตำบลท่าอิบุญ และตำบลบ้านหวาย) · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอชนแดน, อำเภอวังโป่ง และอำเภอหนองไผ่ (เฉพาะตำบลหนองไผ่ ตำบลนาเฉลียง ตำบลห้วยโป่ง ตำบลยางงาม และตำบลบัววัฒนา) · เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอบึงสามพัน, อำเภอหนองไผ่ (ยกเว้นตำบลหนองไผ่ ตำบลนาเฉลียง ตำบลห้วยโป่ง ตำบลยางงาม และตำบลบัววัฒนา) และอำเภอวิเชียรบุรี (เฉพาะตำบลสามแยก ตำบลซับน้อย ตำบลโคกปรง ตำบลซับสมบูรณ์ และตำบลบึงกระจับ) · เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอศรีเทพและอำเภอวิเชียรบุรี (ยกเว้นตำบลสามแยก ตำบลซับน้อย ตำบลโคกปรง ตำบลซับสมบูรณ์ และตำบลบึงกระจับ) |
6 คน (เขตละ 1 คน) | |
พ.ศ. 2557 | |||
พ.ศ. 2562 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเขาค้อ, อำเภอเมืองเพชรบูรณ์ (เฉพาะตำบลป่าเลา ตำบลสะเดียง ตำบลในเมือง ตำบลดงมูลเหล็ก ตำบลบ้านโคก ตำบลห้วยใหญ่ ตำบลนางั่ว และตำบลท่าพล) และอำเภอหล่มสัก (เฉพาะตำบลบุ่งคล้า ตำบลบุ่งน้ำเต้า ตำบลน้ำชุน ตำบลน้ำก้อ และตำบลหนองไขว่) · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอน้ำหนาว, อำเภอหล่มเก่า และอำเภอหล่มสัก (ยกเว้นตำบลบุ่งคล้า ตำบลบุ่งน้ำเต้า ตำบลน้ำชุน ตำบลน้ำก้อ และตำบลหนองไขว่) · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอวังโป่ง, อำเภอชนแดน และอำเภอเมืองเพชรบูรณ์ (เฉพาะตำบลห้วยสะแก ตำบลวังชมภู ตำบลบ้านโตก ตำบลชอนไพร ตำบลนาป่า ตำบลตะเบาะ ตำบลน้ำร้อน และตำบลนายม) · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอบึงสามพัน, อำเภอหนองไผ่, อำเภอเมืองเพชรบูรณ์ (เฉพาะตำบลระวิง) และอำเภอวิเชียรบุรี (เฉพาะตำบลสามแยก) · เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอศรีเทพและอำเภอวิเชียรบุรี (ยกเว้นตำบลสามแยก) |
5 คน (เขตละ 1 คน) | |
พ.ศ. 2566 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองเพชรบูรณ์ (ยกเว้นตำบลท่าพล ตำบลนางั่ว และตำบลป่าเลา) · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอน้ำหนาว, อำเภอหล่มสัก (ยกเว้นตำบลท่าอิบุญ ตำบลสักหลง ตำบลหนองสว่าง ตำบลฝายนาแซง ตำบลน้ำเฮี้ย ตำบลน้ำก้อ ตำบลน้ำชุน ตำบลบุ่งน้ำเต้า และตำบลบุ่งคล้า) และอำเภอเมืองเพชรบูรณ์ (เฉพาะตำบลท่าพล ตำบลนางั่ว และตำบลป่าเลา) · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอเขาค้อ, อำเภอหล่มเก่า และอำเภอหล่มสัก (เฉพาะตำบลท่าอิบุญ ตำบลสักหลง ตำบลหนองสว่าง ตำบลฝายนาแซง ตำบลน้ำเฮี้ย ตำบลน้ำก้อ ตำบลน้ำชุน ตำบลบุ่งน้ำเต้า และตำบลบุ่งคล้า) · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอวังโป่ง, อำเภอชนแดน และอำเภอหนองไผ่ (เฉพาะตำบลห้วยโป่ง ตำบลนาเฉลียง ตำบลยางงาม ตำบลหนองไผ่ และตำบลบัววัฒนา) · เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอบึงสามพัน, อำเภอหนองไผ่ (ยกเว้นตำบลห้วยโป่ง ตำบลนาเฉลียง ตำบลยางงาม ตำบลหนองไผ่ และตำบลบัววัฒนา) และอำเภอวิเชียรบุรี (เฉพาะตำบลสามแยก ตำบลบึงกระจับ ตำบลโคกปรง และตำบลยางสาว) · เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอศรีเทพและอำเภอวิเชียรบุรี (ยกเว้นตำบลสามแยก ตำบลบึงกระจับ ตำบลโคกปรง และตำบลยางสาว) |
6 คน (เขตละ 1 คน) |
รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต
[แก้]ชุดที่ 1–7; พ.ศ. 2476–2495
[แก้]ชุดที่ | การเลือกตั้ง | เขตเลือกตั้งที่ 1 |
ชุดที่ 1 | พ.ศ. 2476 | ขุนอินทรภักดี (ทองอิน ทองมาก) |
ชุดที่ 2 | พ.ศ. 2480 | ขุนอนุสรสิทธิกรรม (ทองดี วัชโรทยาน) |
ชุดที่ 3 | พ.ศ. 2481 | |
ชุดที่ 4 | มกราคม พ.ศ. 2489 | นายเชื้อ สนั่นเมือง |
สิงหาคม พ.ศ. 2489 | – (เลือกตั้งเพิ่มเติม) | |
ชุดที่ 5 | พ.ศ. 2491 | ร้อยตำรวจโท สงกรานต์ อุดมสิทธิ์ |
พ.ศ. 2492 | – (เลือกตั้งเพิ่มเติม) | |
ชุดที่ 7 | พ.ศ. 2495 | พันตำรวจตรี สงกรานต์ อุดมสิทธิ์ |
ชุดที่ 8–9; พ.ศ. 2500
[แก้]ลำดับ | ชุดที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 |
ชุดที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2500 |
1 | พันตำรวจตรี สงกรานต์ อุดมสิทธิ์ | นายมนัส พรหมบุญ |
2 | ร้อยตำรวจตรี ชัยชาญ งามสง่า | ร้อยตำรวจตรี ชัยชาญ งามสง่า |
ชุดที่ 10; พ.ศ. 2512
[แก้]ลำดับ | ชุดที่ 10 พ.ศ. 2512 |
1 | เรือตรี สุพจน์ ตั้งตระกูล |
2 | พันตำรวจตรี สงกรานต์ อุดมสิทธิ์ |
3 | นายปัญจะ เกสรทอง |
ชุดที่ 11–12; พ.ศ. 2518–2519
[แก้]เขต | ชุดที่ 11 พ.ศ. 2518 | ชุดที่ 12 พ.ศ. 2519 |
1 | นายเทียนชัย อุทัยวงศ์ | เรือตรี สุพจน์ ตั้งตระกูล |
นายปัญจะ เกสรทอง | ||
2 | นายไชยวัฒน์ ไตรยสุนันท์ | |
นายเกษม บุตรขุนทอง |
ชุดที่ 13–14; พ.ศ. 2522–2526
[แก้]เขต | ชุดที่ 13 พ.ศ. 2522 | ชุดที่ 14 พ.ศ. 2526 |
1 | นายจรัส พั้วช่วย | |
นายปัญจะ เกสรทอง | นายปัญจะ เกสรทอง | |
นายไพศาล จันทรภักดี | นายไพศาล จันทรภักดี | |
2 | นายพล กุรุพิลวคุปต์ | นายเกษม บุตรขุนทอง |
นายบัญญัติ ทือเกาะ | นายวิเชียร สอนน้อย |
ชุดที่ 15–18; พ.ศ. 2529–2535
[แก้]- พรรคราษฎร (พ.ศ. 2529)
- พรรคกิจประชาคม (2529) → พรรคเอกภาพ (2531)
- พรรคชาติไทย
- พรรคประชาธิปัตย์
- พรรครวมไทย (2529) → พรรคเอกภาพ (2531)
- พรรคพลังธรรม
- พรรคสามัคคีธรรม
- พรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)
- พรรคเสรีธรรม (พ.ศ. 2535)
- พรรคความหวังใหม่
เขต | ชุดที่ 15 พ.ศ. 2529 | ชุดที่ 16 พ.ศ. 2531 | ชุดที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2535 |
ชุดที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2535 |
1 | นายวิศัลย์ โฆษิตานนท์ | นายไพศาล จันทรภักดี | ||
นายจรัส พั้วช่วย | นายจรัส พั้วช่วย | |||
นายปัญจะ เกสรทอง | นายปัญจะ เกสรทอง | |||
2 | นายเอี่ยม ทองใจสด | นายเอี่ยม ทองใจสด | ||
เรือตรี สุพจน์ ตั้งตระกูล | เรือตรี สุพจน์ ตั้งตระกูลไท | เรือตรี สุพจน์ ตั้งตระกูลไท | ||
นายวิเชียร สอนน้อย | นายแก้ว บัวสุวรรณ | นายเกษม บุตรขุนทอง | นายแก้ว บัวสุวรรณ |
ชุดที่ 19–20; พ.ศ. 2538–2539
[แก้]- พรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)
- พรรคนำไทย
- พรรคพลังธรรม
- พรรคความหวังใหม่
- พรรคชาติไทย
- พรรคประชาธิปัตย์
- พรรคกิจสังคม
เขต | ชุดที่ 19 พ.ศ. 2538 | ชุดที่ 20 พ.ศ. 2539 |
1 | นายปัญจะ เกสรทอง | นายปัญจะ เกสรทอง |
พลตำรวจตรี ประธาน สว่างวโรรส | นายไพศาล จันทรภักดี | |
นายจรัส พั้วช่วย | นายจรัส พั้วช่วย | |
2 | นายสันติ พร้อมพัฒน์ | |
พันจ่าอากาศโท กิตติคุณ นาคะบุตร | นายสุรศักดิ์ อนรรฆพันธ์ | |
3 | นายแก้ว บัวสุวรรณ | |
นายเอี่ยม ทองใจสด | นายเอี่ยม ทองใจสด |
ชุดที่ 21–22; พ.ศ. 2544–2548
[แก้]เขต | ชุดที่ 21[3] พ.ศ. 2544 | ชุดที่ 22[4] พ.ศ. 2548 |
1 | นายเรวัต แสงวิจิตร | นายเรวัต แสงวิจิตร |
นายวิจิตร พรพฤฒิพันธุ์ (แทนนายเรวัต) | ||
2 | นายสุรศักดิ์ อนรรฆพันธ์ | |
3 | นายทวีศักดิ์ อนรรฆพันธ์ | |
4 | นายณรงค์กร ชวาลสันตติ | นายณรงค์กร ชวาลสันตติ |
นายจรัส พั้วช่วย (แทนนายณรงค์กร) | ||
5 | พันจ่าอากาศโท กิตติคุณ นาคะบุตร | |
6 | นายแก้ว บัวสุวรรณ | นายเอี่ยม ทองใจสด |
7 | นายไพศาล จันทรภักดี |
ชุดที่ 23; พ.ศ. 2550
[แก้]เขต | ชุดที่ 23[5] พ.ศ. 2550 | |
1 | นายจักรัตน์ พั้วช่วย | |
นายวิจิตร พรพฤฒิพันธุ์ | ||
นายสุทัศน์ จันทร์แสงศรี | นายณรงค์กร ชวาลสันตติ (แทนนายสุทัศน์) | |
2 | นายเอี่ยม ทองใจสด | |
นางวันเพ็ญ พร้อมพัฒน์ | ||
นายสุรศักดิ์ อนรรฆพันธ์ |
ชุดที่ 24–26; พ.ศ. 2554–2566
[แก้]เขต | ชุดที่ 24 พ.ศ. 2554 | ชุดที่ 25 พ.ศ. 2562 | ชุดที่ 26 พ.ศ. 2566 |
1 | นายสุทัศน์ จันทร์แสงศรี | นางสาวพิมพ์พร พรพฤฒิพันธุ์ | |
2 | นายจักรัตน์ พั้วช่วย | นายจักรัตน์ พั้วช่วย | |
3 | นายยุพราช บัวอินทร์ | นางวันเพ็ญ พร้อมพัฒน์ | นายบุญชัย กิตติธาราทรัพย์ |
4 | นางวันเพ็ญ พร้อมพัฒน์ | นายสุรศักดิ์ อนรรฆพันธ์ | นายวรโชติ สุคนธ์ขจร |
5 | นายสุรศักดิ์ อนรรฆพันธ์ | นายเอี่ยม ทองใจสด | นางวันเพ็ญ พร้อมพัฒน์ |
6 | นายเอี่ยม ทองใจสด | ยุบเขต 6 | นายอัคร ทองใจสด |
รูปภาพ
[แก้]-
ขุนอินทรภักดี (ทองอิน ทองมาก)
-
พันตำรวจตรี สงกรานต์ อุดมสิทธิ์
-
นายปัญจะ เกสรทอง
-
นายเอี่ยม ทองใจสด
-
นายสันติ พร้อมพัฒน์
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งและเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัดจะพึงมี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 140 (14 ก): 38–42. 3 มีนาคม 2566.
- ↑ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจากการเลือกตั้งครั้งแรก จาก เว็บไซต์ สำนักข่าวออนไลน์อาร์วายทีไนน์
- ↑ ทำเนียบสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่ 21 เก็บถาวร 2011-07-07 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน จาก เว็บไซต์ รัฐสภาไทย
- ↑ ทำเนียบสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่ 22 เก็บถาวร 2011-07-07 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน จาก เว็บไซต์ รัฐสภาไทย
- ↑ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดที่ 23 เก็บถาวร 2010-03-10 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน จาก เว็บไซต์ รัฐสภาไทย
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- คณะกรรมการการเลือกตั้งจังหวัดเพชรบูรณ์ เก็บถาวร 2014-01-29 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน