วัฒนชัย วุฒิศิริ
วัฒนชัย วุฒิศิริ | |
---|---|
รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม | |
ดำรงตำแหน่ง 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2540 – 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544 | |
นายกรัฐมนตรี | ชวน หลีกภัย |
ผู้บัญชาการทหารสูงสุด | |
ดำรงตำแหน่ง 1 ตุลาคม พ.ศ. 2537 – 30 กันยายน พ.ศ. 2538 | |
ก่อนหน้า | พลอากาศเอก วรนาถ อภิจารี |
ถัดไป | พลเอก วิโรจน์ แสงสนิท |
ข้อมูลส่วนบุคคล | |
เกิด | 24 มิถุนายน พ.ศ. 2478 จังหวัดพระนคร ประเทศสยาม |
เสียชีวิต | 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2567 (88 ปี) โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย |
พรรคการเมือง | ประชาธิปัตย์ |
คู่สมรส | คุณหญิง สุภา วุฒิศิริ |
ยศที่ได้รับการแต่งตั้ง | |
รับใช้ | ไทย |
ยศ | พลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก |
พลเอก วัฒนชัย วุฒิศิริ (24 มิถุนายน พ.ศ. 2478 - 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2567) อดีตผู้บัญชาการทหารสูงสุด, อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหมในรัฐบาลของนายชวน หลีกภัย, อดีตราชองครักษ์พิเศษ[1], อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดกาญจนบุรี และอดีตผู้บัญชาการกองพลทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยาน
ประวัติ
[แก้]พลเอก วัฒนชัย วุฒิศิริ เกิดเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2478 จบการศึกษาจากโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า รุ่นที่ 4
การทำงาน
[แก้]วัฒนชัย รับราชการทหารสังกัดกองทัพบก เคยดำรงตำแหน่งแม่ทัพภาคที่ 1 และเป็นผู้บัญชาการทหารสูงสุด ต่อมาได้รับแต่งตั้งเป็นสมาชิกวุฒิสภา ในระหว่างปี พ.ศ. 2537 - พ.ศ. 2539 จากนั้นในการเลือกตั้ง พ.ศ. 2539 จึงได้ลงสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดกาญจนบุรี สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และได้รับเลือกตั้งเป็น สส.สมัยแรก ต่อมาได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม ในรัฐบาลชวน หลีกภัย ซึ่งในครั้งนั้นชวน ได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมด้วย[2]
ถึงแก่กรรม
[แก้]วัฒนชัย ถึงแก่กรรมเนื่องจากการติดเชื้อในกระแสเลือด ณ โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า สิริอายุ 88 ปี
เครื่องราชอิสริยาภรณ์
[แก้]เครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย
[แก้]- พ.ศ. 2532 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นสูงสุด มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.)[3]
- พ.ศ. 2530 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นสูงสุด มหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.)[4]
- พ.ศ. 2539 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นที่ 3 ตติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ต.จ.ว.)[5]
- พ.ศ. 2511 – เหรียญชัยสมรภูมิ การรบ ณ สาธารณรัฐเวียดนาม (ช.ส.) (ประดับเปลวระเบิด)[6]
- พ.ศ. 2531 – เหรียญพิทักษ์เสรีชน ชั้นที่ 1 (ส.ช.)[7]
- พ.ศ. 2511 – เหรียญราชการชายแดน (ช.ด.)[8]
- พ.ศ. 2511 – เหรียญจักรมาลา (ร.จ.ม.)[9]
- พ.ศ. 2532 – เหรียญลูกเสือสดุดี ชั้นที่ 1[10]
- พ.ศ. 2534 – เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 9 ชั้นที่ 3 (ภ.ป.ร.3)[11]
- พ.ศ. ไม่ปรากฎ – เหรียญกาชาดสมนาคุณ ชั้นที่ 1 (เหรียญทอง)
เครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศ
[แก้]- สหรัฐอเมริกา :
- สิงคโปร์ :
- พ.ศ. 2538 – เครื่องอิสริยาภรณ์อุตมะ บักติ เจเมอร์ลัง (เท็นเทรา)[12]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2562/E/092/T_0001.PDF
- ↑ คณะรัฐมนตรีคณะที่ 53[ลิงก์เสีย]
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์, เล่ม ๑๐๗ ตอนที่ ๔๘ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๑, ๒๓ มีนาคม ๒๕๓๓
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เก็บถาวร 2015-09-30 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๑๐๔ ตอนที่ ๒๔๗ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๔, ๑ ธันวาคม ๒๕๓๐
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เก็บถาวร 2014-01-08 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๑๑๓ ตอนที่ ๗ ข หน้า ๔, ๔ พฤษภาคม ๒๕๓๙
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องหมายเปลวระเบิดสำหรับประดับแพรแถบเหรียญชัยสมรภูมิ, เล่ม ๘๖ ตอนที่ ๒ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๑๑, ๖ มกราคม ๒๕๑๒
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญพิทักษ์เสรีชน, เล่ม ๑๐๕ ตอนที่ ๒๓๔ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๑, ๒๗ ธันวาคม ๒๕๓๑
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญราชการชายแดน, เล่ม ๘๕ ตอนที่ ๘๙ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๖, ๓ ตุลาคม ๒๕๑๑
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญจักรมาลาและเหรียญจักรพรรดิมาลา, เล่ม ๘๕ ตอนที่ ๑๒๒ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๑๐๔๒, ๓๑ ธันวาคม ๒๕๑๑
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญลูกเสือสดุดี, เล่ม ๑๐๖ ตอนที่ ๑๑๘ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๖, ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๓๒
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์เหรียญรัตนาภรณ์, เล่ม ๑๐๘ ตอนที่ ๑๖๖ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๒, ๒๐ กันยายน ๒๕๓๔
- ↑ Taken at: Ceremonial conferment of the Distinguished Service Order (Military) on General Watanachai Wootisiri, Supreme Commander of the Royal Thai Armed Forces, by President Ong Teng Cheong at the Istana State Room Pictured: President Ong Teng Cheong and First Lady Mrs Ong Teng Cheong, Supreme Commander of the Royal Thai Armed Forces General Watanachai Wootisiri and wife Mrs Watanachai Wootisiri, Deputy Prime Minister and Minister of Defence Dr Tony Tan Keng Yam and wife Mrs Mary Tan, Acting Minister for the Environment and Senior Minister of State for Defence Rear-Admiral Teo Chee Hean and wife Mrs Teo Chee Hean
- บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2478
- บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2567
- บุคคลจากกรุงเทพมหานคร
- ทหารบกชาวไทย
- ผู้บัญชาการทหารสูงสุดไทย
- นักการเมืองไทย
- สมาชิกวุฒิสภาไทยแบบแต่งตั้ง
- สมาชิกวุฒิสภาไทยแบบสรรหา
- สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกาญจนบุรี
- นักการเมืองพรรคประชาธิปัตย์
- บุคคลจากโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า
- แม่ทัพภาคที่ 1
- ผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ม.ป.ช.
- ผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ม.ว.ม.
- ผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ต.จ.ว.
- ผู้ได้รับเหรียญจักรมาลา
- ผู้ได้รับเหรียญรัตนาภรณ์ ภ.ป.ร.3
- บทความเกี่ยวกับ ชีวประวัติ ที่ยังไม่สมบูรณ์