สำราญ แพทยกุล
พลเอกสำราญ แพทยกุล | |
---|---|
![]() | |
รองประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ คนที่ 1 | |
ดำรงตำแหน่ง 29 ธันวาคม พ.ศ. 2516 – 7 ตุลาคม พ.ศ. 2517 | |
ข้อมูลส่วนบุคคล | |
เสียชีวิต | 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 |
คู่สมรส | คุณหญิงส่าหรี แพทยกุล |
ศาสนา | พุทธ |
พลเอก สำราญ แพทยกุล (? - 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2529) อดีตรองประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ[1] อดีตแม่ทัพภาคที่ 1และแม่ทัพภาคที่ 3 และองคมนตรีไทย
พลเอก สำราญ แพทยกุล เคยดำรงตำแหน่งผู้บังคับบัญชา กรมทหารราบที่ 31 รักษาพระองค์ ระหว่าง พ.ศ. 2500 - 2504 [2] กองพลทหารราบที่ 4 ค่ายสมเด็จพระนเรศวรมหาราช จังหวัดพิษณุโลก เมื่อ พ.ศ. 2504 [3] ดำรงตำแหน่งแม่ทัพภาคที่ 3 ระหว่าง พ.ศ. 2505 - 2507 [4] และตำแหน่งแม่ทัพภาคที่ 1 ระหว่าง พ.ศ. 2510 - 2512 [5] และเคยได้รับแต่งตั้งเป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ในปี พ.ศ. 2516[6]
สำราญ เป็นหนึ่งในผู้ร่วมก่อตั้งกลุ่มนวพล เมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ. 2517 มีรหัส นวพล 001 ได้รับโปรดเกล้า ให้ดำรงตำแหน่งองคมนตรีเมื่อวันที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2518 [7] ดำรงตำแหน่งจนถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 [7] สำราญมีความเกี่ยวข้องกับ เหตุการณ์ 6 ตุลา พ.ศ. 2519 ในการสั่งฆ่านักศึกษาและประชาชน[8]
เครื่องราชอิสริยาภรณ์[แก้]
- พ.ศ. ไม่ปรากฏ -
เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นสูงสุด มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.)
- พ.ศ. ไม่ปรากฏ -
เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นสูงสุด มหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.)
- พ.ศ. 2512 -
เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ท.จ.ว.)[9]
- พ.ศ. ไม่ปรากฏ -
เหรียญจักรมาลา (ร.จ.ม.)
อ้างอิง[แก้]
- ↑ พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งประธานและรองประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
- ↑ กรมทหารราบที่ 31 รักษาพระองค์
- ↑ กองพลทหารราบที่ 4
- ↑ กองทัพภาคที่ 3
- ↑ กองทัพภาคที่ 1
- ↑ พระบรมราชโองการ แต่งตั้งสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
- ↑ 7.0 7.1 จีรวัฒน์ ครองแก้ว. องคมนตรี ศักดิ์ศรีแผ่นดิน. กรุงเทพ : มูลนิธิทรัพยากรมนุษย์ระหว่างประเทศ, พ.ศ. 2550. 269 หน้า. หน้า หน้าที่. ISBN 978-974-7362-09-1
- ↑ https://www.youtube.com/watch?v=Sy08LNixgtg
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์เล่ม 86 ตอนที่ 46 วันที่ 27 พฤษภาคม 2512
- บุคคลที่ยังไม่ทราบปีที่เกิด
- บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2529
- ทหารบกชาวไทย
- แม่ทัพภาคที่ 1
- แม่ทัพภาคที่ 3
- องคมนตรี
- รองประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
- สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
- บุคคลที่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ 6 ตุลา
- ผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ม.ป.ช.
- ผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ม.ว.ม.
- ผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ท.จ.ว.
- ผู้ได้รับเหรียญจักรมาลา
- ผู้บัญชาการโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า
- บทความเกี่ยวกับ ชีวประวัติ ที่ยังไม่สมบูรณ์