วรนาถ อภิจารี
พลอากาศเอก วรนาถ อภิจารี ม.ป.ช., ม.ว.ม., ท.จ. | |
---|---|
![]() | |
ผู้บัญชาการทหารอากาศ | |
ดำรงตำแหน่ง พ.ศ. 2530 – พ.ศ. 2532 | |
ก่อนหน้า | พลอากาศเอก ประพันธ์ ธูปะเตมีย์ |
ถัดไป | พลอากาศเอก เกษตร โรจนนิล |
ผู้บัญชาการทหารสูงสุด | |
ดำรงตำแหน่ง 1 สิงหาคม พ.ศ. 2535 – 30 กันยายน พ.ศ. 2537 | |
ก่อนหน้า | พลอากาศเอก เกษตร โรจนนิล |
ถัดไป | พลเอก วัฒนชัย วุฒิศิริ |
ข้อมูลส่วนบุคคล | |
เกิด | 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2477 |
เสียชีวิต | 27 กันยายน พ.ศ. 2558 (81 ปี 135 วัน) |
คู่สมรส | คุณหญิงพอใจ อภิจารี |
ยศที่ได้รับการแต่งตั้ง | |
รับใช้ | ![]() |
ประจำการ | 2530-2532 (กองทัพอากาศไทย) 2535-2537 (กองบัญชาการทหารสูงสุด) |
ยศ | ![]() ![]() ![]() |
บังคับบัญชา | กองทัพอากาศไทย กองบัญชาการทหารสูงสุด |
พลอากาศเอก วรนาถ อภิจารี หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ บิ๊กอู๊ด อดีตผู้บัญชาการทหารอากาศและอดีตผู้บัญชาการทหารสูงสุด
ประวัติ[แก้]
พลอากาศเอก วรนาถ อภิจารี เกิดเมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2477 สมรสกับ คุณหญิงพอใจ อภิจารี
การศึกษา[แก้]
- โรงเรียนอัสสัมชัญ
- โรงเรียนนายเรืออากาศ
- โรงเรียนนายทหารชั้นผู้บังคับฝูง กรมยุทธศึกษาทหารอากาศ
- โรงเรียนเสนาธิการทหารอากาศรุ่นที่ 19
- วิทยาลัยการทัพอากาศ กรมยุทธศึกษาทหารอากาศ
- วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร รุ่นที่ 26
การทำงาน[แก้]
- นักบินประจำกอง
- ครูการบิน ฝูงฝึกขั้นต้น กองฝึก รร.การบิน
- ผู้บังคับการกองบิน 1 ฝูง 12
- รองผบ.กองฝึก รร.การบิน
- ผบ.กองบิน1 ฝูง 13
- รองผบ.กองบิน1
- เสนาธิการกรมควบคุมการปฏิบัติทางอากาศ
- รองเจ้ากรมยุทธการทหารอากาศ
- เจ้ากรมยุทธการทหารอากาศ
- รองเสนาธิการทหารอากาศ
- ผู้ช่วยผู้บัญชาการทหารอากาศ
- ผู้บัญชาการทหารอากาศ
- ผู้บัญชาการทหารสูงสุด
ถึงแก่อนิจกรรม[แก้]
ถึงแก่อนิจกรรมเมื่อวันที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2558 สิริอายุได้ 81 ปี[1]
เครื่องราชอิสริยาภรณ์[แก้]
- พ.ศ. 2531 –
เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นสูงสุด มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.)[2]
- พ.ศ. 2530 –
เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นสูงสุด มหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.)[3]
- พ.ศ. 2536 –
เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นที่ 2 ทุติยจุลจอมเกล้า (ท.จ.) (ฝ่ายหน้า)[4]
- พ.ศ. 2531 –
เหรียญพิทักษ์เสรีชน ชั้นที่ 1 (ส.ช.)[5]
- พ.ศ. 2511 –
เหรียญราชการชายแดน (ช.ด.)[6]
- พ.ศ. 2511 –
เหรียญจักรมาลา (ร.จ.ม.)[7]
- พ.ศ. 2530 –
เหรียญลูกเสือสดุดี ชั้นที่ 1[8]
- พ.ศ. 2534 –
เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 9 ชั้นที่ 3 (ภ.ป.ร.3)[9]
อ้างอิง[แก้]
- ↑ กองทัพอากาศไทย เฟซบุก
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์, เล่ม ๑๐๕ ตอนที่ ๒๐๑ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๑, ๓ ธันวาคม ๒๕๓๑
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์, เล่ม ๑๐๔ ตอนที่ ๒๔๗ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๓, ๑ ธันวาคม ๒๕๓๐
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์, เล่ม ๑๑๐ ตอนที่ ๕๗ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๑, ๓ พฤษภาคม ๒๕๓๖
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญพิทักษ์เสรีชน, เล่ม ๑๐๕ ตอนที่ ๒๓๔ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๑, ๒๗ ธันวาคม ๒๕๓๑
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญราชการชายแดน, เล่ม ๘๕ ตอนที่ ๘๙ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๔๓, ๓ ตุลาคม ๒๕๑๑
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญจักรมาลาและเหรียญจักรพรรดิมาลา, เล่ม ๘๕ ตอนที่ ๑๒๒ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๑๐๔๓, ๓๑ ธันวาคม ๒๕๑๑
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง พระราชทานเหรียญลูกเสือสดุดี ประจำปี ๒๕๓๐, เล่ม ๑๐๔ ตอนที่ ๒๔๖ หน้า ๘๑๙๕, ๑ ธันวาคม ๒๕๓๐
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์เหรียญรัตนาภรณ์, เล่ม ๑๐๘ ตอนที่ ๑๖๖ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๓, ๒๐ กันยายน ๒๕๓๔
หมวดหมู่:
- บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2477
- บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2558
- ทหารอากาศชาวไทย
- ผู้บัญชาการทหารสูงสุดไทย
- ผู้บัญชาการทหารอากาศไทย
- บุคคลจากโรงเรียนอัสสัมชัญ
- บุคคลจากโรงเรียนนายเรืออากาศนวมินทกษัตริยาธิราช
- บุคคลจากโรงเรียนเสนาธิการทหารอากาศ
- บุคคลจากวิทยาลัยการทัพอากาศ
- บุคคลจากวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
- ผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ม.ป.ช.
- ผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ม.ว.ม.
- ผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ท.จ. (ฝ่ายหน้า)
- ผู้ได้รับเหรียญจักรมาลา