จังหวัดพิษณุโลกในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดพิษณุโลกในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550

← พ.ศ. 2549 (โมฆะ) 23 ธันวาคม พ.ศ. 2550 พ.ศ. 2554 →

5 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ผู้ใช้สิทธิ73.64%
  First party Second party
 
พรรค ประชาธิปัตย์ พลังประชาชน
ที่นั่งก่อนหน้า 2 0
ที่นั่งที่ชนะ 3 2
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น1 เพิ่มขึ้น2
คะแนนเสียง 219,172 135,215
% 54.03 33.33

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

สุรยุทธ์ จุลานนท์
อิสระ (คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ)

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

สมัคร สุนทรเวช
พลังประชาชน

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพิษณุโลก พ.ศ. 2550 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2550 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 2 เขตเลือกตั้ง[1] มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 5 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อปี พ.ศ. 2549 แต่ลดลงจากเดิม 1 ที่นั่งจากการเลือกตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2548 โดยแต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 1) และ 2 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 2)

ภาพรวม[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบสัดส่วน[แก้]

คะแนนรวมทั้งหมดในกลุ่มจังหวัดที่ 2[แก้]

กลุ่มจังหวัดที่ 2 ประกอบไปด้วยจังหวัดอุตรดิตถ์ จังหวัดพิษณุโลก จังหวัดเพชรบูรณ์ จังหวัดพิจิตร จังหวัดชัยภูมิ จังหวัดขอนแก่น จังหวัดลพบุรี จังหวัดนครสวรรค์ และจังหวัดอุทัยธานี ทั้งหมด 9 จังหวัด

e • d ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบสัดส่วน กลุ่มจังหวัดที่ 2
พรรค คะแนนเสียง ร้อยละ
เพื่อแผ่นดิน (1) 237,357 6.34
รวมใจไทยชาติพัฒนา (2) 121,143 3.24
เครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย (3)
ประชาธิปัตย์ (4) 1,251,995 33.45
พลังเกษตรกร (5)
รักเมืองไทย (6)
แรงงาน (7)
เกษตรกรไทย (8)
ประชาราช (9) 77,279 2.06
นิติศาสตร์ไทย (10)
พัฒนาประชาธิปไตย (11)
พลังประชาชน (12) 1,717,141 45.87
ชาติไทย (13) 188,473 5.03
ดำรงไทย (14)
มัชฌิมาธิปไตย (15) 66,627 1.78
ชาติสามัคคี (16)
ความหวังใหม่ (17) 25,417 0.68
ประชากรไทย (18)
ประชามติ (19) 18,752 0.50
ไทเป็นไท (20) 17,909 0.48
พลังแผ่นดินไท (21)
มหาชน (22)
คุณธรรม (23)
ราษฎรรักไทย (24)
กฤษไทยมั่นคง (25)
อยู่ดีมีสุข (26)
ไทยร่ำรวย (27) 10,338 0.28
เอกราช (28)
พลังแผ่นดิน (29) 11,011 0.29
สังคมธิปไตย (30)
นำวิถี (31)
บัตรดี 3,743,442 91.35
บัตรเสีย 248,711 6.07
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 105,865 2.58
ผู้มาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง 4,098,021 71.79
ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง 5,708,145 100.00

ผู้สมัครที่ได้รับการเลือกตั้งในกลุ่มจังหวัดที่ 2[แก้]

แต่ละกลุ่มจังหวัดมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกลุ่มละ 10 คน สำหรับกลุ่มจังหวัดที่ 2 แบ่งออกเป็นตามสัดส่วนคะแนนดังนี้

พรรคการเมือง รายชื่อผู้สมัคร
พรรคพลังประชาชน สันติ พร้อมพัฒน์
ชูศักดิ์ ศิรินิล
สุนัย จุลพงศธร
กฤษณา สีหลักษณ์
สุชน ชามพูนท
พรรคประชาธิปัตย์ ไพฑูรย์ แก้วทอง
มาลินี สุขเวชชวรกิจ
พุฒิพงศ์ สงวนวงศ์ชัย
พรรคเพื่อแผ่นดิน สมเกียรติ ศรลัมพ์
พรรคชาติไทย อัศวิน วิภูศิริ

คะแนนรวมเฉพาะจังหวัดพิษณุโลก[แก้]

e • d ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบสัดส่วน จังหวัดพิษณุโลก
พรรค คะแนนเสียง ร้อยละ
เพื่อแผ่นดิน (1) 11,239 2.77
รวมใจไทยชาติพัฒนา (2) 12,356 3.05
เครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย (3)
ประชาธิปัตย์ (4) 219,172 54.03
พลังเกษตรกร (5)
รักเมืองไทย (6)
แรงงาน (7)
เกษตรกรไทย (8)
ประชาราช (9) 8,556 2.11
นิติศาสตร์ไทย (10)
พัฒนาประชาธิปไตย (11)
พลังประชาชน (12) 135,215 33.33
ชาติไทย (13) 6,498 1.60
ดำรงไทย (14)
มัชฌิมาธิปไตย (15) 5,141 1.27
ชาติสามัคคี (16)
ความหวังใหม่ (17) 2,011 0.50
ประชากรไทย (18)
ประชามติ (19) 1,553 0.38
ไทเป็นไท (20) 2,193 0.54
พลังแผ่นดินไท (21)
มหาชน (22)
คุณธรรม (23)
ราษฎรรักไทย (24)
กฤษไทยมั่นคง (25)
อยู่ดีมีสุข (26)
ไทยร่ำรวย (27) 929 0.23
เอกราช (28)
พลังแผ่นดิน (29) 787 0.19
สังคมธิปไตย (30)
นำวิถี (31)
บัตรดี 405,650 91.01
บัตรเสีย 25,631 5.75
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 14,422 3.24
ผู้มาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง 445,705 73.64
ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง 605,277 100.00

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต[แก้]

เขต 1เขต 2

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบไปด้วยอำเภอเมืองพิษณุโลก อำเภอบางระกำ อำเภอบางกระทุ่ม และอำเภอพรหมพิราม

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดพิษณุโลก
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ วรงค์ เดชกิจวิกรม (10)* 124,429 49.85
พลังประชาชน นิยม ช่างพินิจ (9)* 105,057 42.09
พลังประชาชน มนต์ชัย วิวัฒน์ธนาฒย์ (7)* 102,300 40.98
พลังประชาชน เฉลิม ประเสริฐกุล (8) 83,609 33.49
ประชาธิปัตย์ พงษ์มนู ทองหนัก (11) 75,188 30.12
ประชาธิปัตย์ สุนทร วชิราศรีศิริกุล (12) 70,686 28.32
ชาติไทย ราม ตันรัตนวงศ์ (16) 38,791 15.54
มัชฌิมาธิปไตย นพพล เหลืองทองนารา (6) 27,615 11.06
มัชฌิมาธิปไตย พิษณุ พลไวย์ (4)** 11,112 4.45
มัชฌิมาธิปไตย โกมลสิทธิ์ ชิตประเสริฐ (5) 5,095 2.04
รักเมืองไทย สกรรจ์ เกตุแก้ว (1) 4,325 1.73
รวมใจไทยชาติพัฒนา ชัยวัฒน์ คลศรีชัย (13) 4,288 1.72
รักเมืองไทย ดาบตำรวจ มนตรี กมล (2) 3,911 1.57
ชาติไทย จุฑามาศ หร่ำพึ่ง (17) 2,909 1.17
รักเมืองไทย สุวิทย์ สั่งสมธนะ (3) 2,564 1.03
รวมใจไทยชาติพัฒนา สุรชัย สมเชื้อ (15) 2,191 0.88
รวมใจไทยชาติพัฒนา ทรงวุฒิ เชื้อน่วม (14) 2,051 0.82
ชาติไทย โสภณ มั่นประสงค์ (18) 1,667 0.67
ประชามติ กาญจนา นามประยูร (19) 1,319 0.53
ไทยร่ำรวย ฐิติพงศ์ชาญ ทรัพย์เพิ่มพูนทวี (22) 1,150 0.46
ประชามติ ปานพิมพ์ กุญจนาทไพบูลย์ (20) 932 0.37
ประชามติ ณัฏฐพล พงษ์วิทยานุกฤต (21) 849 0.34
เพื่อแผ่นดิน กฤษณ์ รื่นฤทธิ์ (25) 702 0.28
ไทยร่ำรวย พันตรี ไพบูลย์ ทองศรี (23) 645 0.26
ไทยร่ำรวย รักษพร ฟ้าสะท้อน (24) 610 0.24
เพื่อแผ่นดิน ดรุน เคหะทุ่ม (26) 580 0.23
เพื่อแผ่นดิน บุญฤทธิ์ พยอมหอม (27) 361 0.14
บัตรดี 249,627 92.39
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 14,685 5.43
บัตรเสีย 5,887 2.18
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 270,199 74.34
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 363,487 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
พลังประชาชน ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย
พลังประชาชน ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย

เขตเลือกตั้งที่ 2[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบไปด้วยอำเภอนครไทย อำเภอชาติตระการ อำเภอวัดโบสถ์ อำเภอวังทอง และอำเภอเนินมะปราง

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดพิษณุโลก
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ นคร มาฉิม (2)* 89,163 54.98
ประชาธิปัตย์ จุติ ไกรฤกษ์ (1)✔ 86,469 53.32
พลังประชาชน หัสนัยน์ สอนสิทธิ์ (12)* 45,744 28.21
ชาติไทย วิเชียร ภักดี (4) 26,612 16.41
พลังประชาชน ศุภฤกษ์ สอนสิทธิ์ (11) 24,317 14.99
มัชฌิมาธิปไตย ประสงค์ สระคู (5) 11,625 7.17
ชาติไทย จำนงค์ จันทรา (3) 2,838 1.75
รักเมืองไทย ระวีวรรณ ศรีจันทร์โต (8) 1,320 0.81
ประชามติ กิตติ์ขจร ศรีนราจาวงศ์ (10) 1,230 0.76
ไทยร่ำรวย อำนาจ อ้นชาวนา (13) 1,008 0.62
มัชฌิมาธิปไตย นันทพงศ์ ภู่ผกา (6) 902 0.56
รักเมืองไทย คำพันธ์ ขันธะบูรณ์ (7) 870 0.54
ไทยร่ำรวย ขัมพ์ ขาวพรต (14) 822 0.51
ประชามติ รุ่งโรจน์ ศรีนรานฤดล (9) 710 0.44
บัตรดี 162,182 92.40
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 6,209 3.54
บัตรเสีย 7,123 4.06
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 175,514 72.59
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 241,790 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง. "ข้อมูลสถิติการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2550". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-06-06. สืบค้นเมื่อ 13 ธันวาคม 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]