ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดพิษณุโลกในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดพิษณุโลกในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554

← พ.ศ. 2550 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 พ.ศ. 2557 (โมฆะ) →

5 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ผู้ใช้สิทธิ73.51%
  First party Second party Third party
 
Abhisit Vejjajiva 2009 official.jpg
9153ri-Yingluck Shinawatra.jpg
Suwit Khunkitti.jpg
พรรค ประชาธิปัตย์ เพื่อไทย กิจสังคม
ที่นั่งก่อนหน้า 3 1 1
ที่นั่งที่ชนะ 3 2 ไม่ส่งผู้สมัคร
ที่นั่งเปลี่ยน Steady เพิ่มขึ้น 1 ลดลง 1
คะแนนเสียง 210,840 176,581 511
% 48.61 40.71 0.12

ผลการเลือกตั้ง ส.ส. แบบแบ่งเขต

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
ประชาธิปัตย์

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร
เพื่อไทย

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพิษณุโลก พ.ศ. 2554 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น5 เขตเลือกตั้ง[1] จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อปี 2550 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 1 คน

ภาพรวม

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ (รวมทั้งจังหวัดพิษณุโลก)

[แก้]
พรรค คะแนนเสียง
จน. % +/–
ประชาธิปัตย์ 210,840 48.61% ลดลง5.42%
เพื่อไทย 176,581 40.71% เพิ่มขึ้น7.38%
อื่น ๆ 46,351 10.68% ลดลง1.96%
ผลรวม 433,772 100.00%
  • คะแนนเลือกตั้งบัญชีรายชื่อพรรคเพื่อไทย เปรียบเทียบจากคะแนนเลือกตั้งแบบสัดส่วนของ พรรคพลังประชาชน
คะแนนเสียง
ประชาธิปัตย์
  
48.61%
เพื่อไทย
  
40.71%
อื่น ๆ
  
10.68%

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ (รายเขตเลือกตั้ง)

[แก้]
เขตการเลือกตั้ง ประชาธิปัตย์ เพื่อไทย อื่น ๆ ผลรวม ผลการเลือก ส.ส.แบ่งเขต
คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง %
เขต 1 44,098 50.12% 33,686 38.29% 10,199 11.59% 87,983 100.00% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
เขต 2 32,880 35.63% 43,864 47.53% 15,544 16.84% 92,288 100.00% เพื่อไทย ได้ที่นั่ง
เขต 3 43,855 52.93% 32,744 39.52% 6,253 7.55% 82,852 100.00% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
เขต 4 37,868 43.73% 42,230 48.77% 6,491 7.50% 86,589 100.00% เพื่อไทย รักษาที่นั่ง
เขต 5 52,139 62.03% 24,057 28.62% 7,864 9.36% 84,060 100.00% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ผลรวม 210,840 48.61% 176,581 40.71% 46,351 10.68% 433,772 100.00%

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต (รวมทั้งจังหวัดพิษณุโลก)

[แก้]
พรรค จำนวน
ผู้สมัคร
คะแนนเสียง ที่นั่ง
จน. % จน. +/– %
ประชาธิปัตย์ 5 214,399 50.59% 3 Steady 60.00%
เพื่อไทย 5 172,594 40.73% 2 เพิ่มขึ้น1 40.00%
กิจสังคม 0 0 ลดลง1 0.00%
อื่น ๆ 16 36,813 8.69% 0 Steady 0.00%
ผลรวม 26 423,806 100.00% 5 Steady 100.00%
คะแนนเสียง
ประชาธิปัตย์
  
50.59%
เพื่อไทย
  
40.73%
อื่น ๆ
  
8.69%
ที่นั่ง
ประชาธิปัตย์
  
60.00%
เพื่อไทย
  
40.00%

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต (รายเขตเลือกตั้ง)

[แก้]
เขตการเลือกตั้ง ประชาธิปัตย์ เพื่อไทย อื่น ๆ ผลรวม ผลการเลือกตั้ง
คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง %
เขต 1 48,530 57.36% 35,456 41.90% 628 0.75% 84,614 100.00% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
เขต 2 21,520 23.45% 36,331 39.58% 33,936 36.97% 91,787 100.00% เพื่อไทย ได้ที่นั่ง
เขต 3 48,284 58.98% 32,741 40.00% 834 1.02% 81,859 100.00% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
เขต 4 39,559 47.36% 43,177 51.69% 799 0.96% 83,535 100.00% เพื่อไทย รักษาที่นั่ง
เขต 5 56,506 68.90% 24,889 30.35% 616 0.75% 82,011 100.00% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ผลรวม 214,399 50.59% 172,594 40.73% 36,813 8.69% 423,806 100.00%

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ

[แก้]
 •  ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ จังหวัดพิษณุโลก
พรรค คะแนนเสียง ร้อยละ
เพื่อไทย (1) 176,581 40.71
ชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน (2) 1,495 0.35
ประชาธิปไตยใหม่ (3) 2,251 0.52
ประชากรไทย (4) 526 0.12
รักประเทศไทย (5) 13,608 3.14
พลังชล (6) 310 0.07
ประชาธรรม (7) 177 0.04
ดำรงไทย (8) 193 0.05
พลังมวลชน (9) 1,182 0.27
ประชาธิปัตย์ (10) 210,840 48.61
ไทยพอเพียง (11) 1,024 0.24
รักษ์สันติ (12) 2,254 0.52
ไทยเป็นสุข (13) 111 0.03
กิจสังคม (14) 511 0.12
ไทยเป็นไท (15) 173 0.04
ภูมิใจไทย (16) 1,112 0.26
แทนคุณแผ่นดิน (17) 93 0.02
เพื่อฟ้าดิน (18) 135 0.03
เครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย (19) 243 0.06
การเมืองใหม่ (20) 553 0.13
ชาติไทยพัฒนา (21) 13,059 3.01
เสรีนิยม (22) 361 0.08
ชาติสามัคคี (23) 146 0.03
บำรุงเมือง (24) 107 0.03
กสิกรไทย (25) 157 0.04
มาตุภูมิ (26) 361 0.08
ชีวิตที่ดีกว่า (27) 96 0.02
พลังสังคมไทย (28) 79 0.02
เพื่อประชาชนไทย (29) 298 0.07
มหาชน (30) 4,016 0.93
ประชาชนชาวไทย (31) 334 0.08
รักแผ่นดิน (32) 127 0.03
ประชาสันติ (33) 199 0.05
ความหวังใหม่ (34) 49 0.01
อาสามาตุภูมิ (35) 48 0.01
พลังคนกีฬา (36) 96 0.02
พลังชาวนาไทย (37) 64 0.02
ไทยสร้างสรรค์ (38) 41 0.01
เพื่อนเกษตรไทย (39) 430 0.10
มหารัฐพัฒนา (40) 332 0.08
บัตรดี 433,772 91.60
บัตรเสีย 25,263 5.33
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 14,547 3.07
ผู้มาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง 473,582 73.51
ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง 644,229 100.00

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

[แก้]

เขต 1เขต 2เขต 3เขต 4เขต 5

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบไปด้วยอำเภอเมืองพิษณุโลก (เฉพาะตำบลในเมือง ตำบลอรัญญิก ตำบลวัดจันทร์ ตำบลบ้านคลอง ตำบลพลายชุมพล ตำบลท่าทอง ตำบลบึงพระ ตำบลวัดพริก และตำบลวังน้ำคู้)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดพิษณุโลก
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ วรงค์ เดชกิจวิกรม (10)* 48,530 57.36
เพื่อไทย ณัฐทรัชต์ ชามพูนท (1) 35,456 41.90
ชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน ปัทมาภรณ์ คำรังษี (2) 258 0.31
การเมืองใหม่ สานิตย์ โสวัณณะ (20) 239 0.28
เพื่อนเกษตรไทย ส่งศักดิ์ มาดิษฐ์ (39) 131 0.16
ผลรวม 84,614 100.00
บัตรดี 84,614 87.10
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 7,367 7.58
บัตรเสีย 5,169 5.32
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 97,150 73.72
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 131,781 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 2

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบไปด้วยอำเภอพรหมพิราม และอำเภอเมืองพิษณุโลก (เฉพาะตำบลไผ่ขอดอน ตำบลบ้านกร่าง ตำบลจอมทอง ตำบลมะขามสูง ตำบลปากโทก ตำบลหัวรอ ตำบลบ้านป่า ตำบลดอนทอง และตำบลสมอแข)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดพิษณุโลก
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
เพื่อไทย นพพล เหลืองทองนารา (1) 36,331 39.58
ชาติไทยพัฒนา มนต์ชัย วิวัฒน์ธนาฒย์ (21)* 31,530 34.35
ประชาธิปัตย์ พงษ์มนู ทองหนัก (10) 21,520 23.45
ภูมิใจไทย นิพนธ์ ศิริวัฒน์ (16) 2,061 2.25
ชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน ประทวน แก้วมงคล (2) 224 0.24
เพื่อนเกษตรไทย ปรีชา แย้มสมพร (39) 121 0.13
ผลรวม 91,787 100.00
บัตรดี 91,787 90.81
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 3,384 3.35
บัตรเสีย 5,905 5.84
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 101,076 76.00
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 132,991 100.00
เพื่อไทย ได้ที่นั่งจาก กิจสังคม

เขตเลือกตั้งที่ 3

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 3 ประกอบไปด้วยอำเภอวังทอง และอำเภอเนินมะปราง

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 3 จังหวัดพิษณุโลก
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ จุติ ไกรฤกษ์ (10)* 48,284 58.98
เพื่อไทย หัสนัยน์ สอนสิทธิ์ (1)✔ 32,741 40.00
ประชาธิปไตยใหม่ วิมล สารมะโน (3) 356 0.44
ชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน วิรัตน์ คุ้มเกตุ (2) 247 0.30
พลังมวลชน อธิษฐ์ พรมมา (9) 231 0.28
ผลรวม 81,859 100.00
บัตรดี 81,859 90.40
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,605 2.88
บัตรเสีย 6,084 6.72
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 90,548 68.13
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 132,900 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 4

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 4 ประกอบไปด้วยอำเภอบางกระทุ่ม อำเภอบางระกำ และอำเภอเมืองพิษณุโลก (เฉพาะตำบลท่าโพธิ์ และตำบลงิ้วงาม)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 4 จังหวัดพิษณุโลก
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
เพื่อไทย นิยม ช่างพินิจ (1)* 43,177 51.69
ประชาธิปัตย์ ปานทิพย์ ศุภกิจเจริญ (10) 39,559 47.36
พลังมวลชน ธนพล พะตัน (9) 308 0.37
ชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน กำแหง ศรีสวัสดิ์ (2) 281 0.34
การเมืองใหม่ สุธน หลิ่มไพศาล (20) 135 0.16
เพื่อนเกษตรไทย กิตติศักดิ์ ศิรินันทยา (39) 75 0.09
ผลรวม 83,535 100.00
บัตรดี 83,535 90.11
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 3,203 3.46
บัตรเสีย 5,963 6.43
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 92,701 74.22
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 124,901 100.00
เพื่อไทย รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 5

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 5 ประกอบไปด้วยอำเภอวัดโบสถ์ อำเภอชาติตระการ และอำเภอนครไทย

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 5 จังหวัดพิษณุโลก
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ นคร มาฉิม (10)* 56,506 68.90
เพื่อไทย วรรณา ไกรสิทธิพงศ์ (1) 24,889 30.35
ชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน โปร่ง ลิสันเทียะ (2) 413 0.50
เพื่อนเกษตรไทย สมชาย อุ่นวงค์ (39) 203 0.25
ผลรวม 82,011 100.00
บัตรดี 82,011 89.03
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,593 2.82
บัตรเสีย 7,506 8.15
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 92,110 75.71
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 121,656 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

อ้างอิง

[แก้]
  1. สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง. "ข้อมูลสถิติการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2554" (PDF). สืบค้นเมื่อ 13 ธันวาคม 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)

ดูเพิ่ม

[แก้]