ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิเชษฐ์ เกษมทองศรี"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Famefill (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Pongsak ksm (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 31: บรรทัด 31:


== การทำงาน ==
== การทำงาน ==
นายวิเชษฐ์ เกษมทองศรี เป็น[[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดราชบุรี]] เคยดำรงตำแหน่งผู้ช่วยเลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ในระหว่างปี พ.ศ. 2539 - พ.ศ. 2540 ต่อมาในปี พ.ศ. 2542 เป็นเลขานุการคณะกรรมาธิการการต่างประเทศ และเป็นรองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในปี [[พ.ศ. 2544]]<ref>[http://www.thaigov.go.th/pageconfig/viewcontent/viewcontent1.asp?pageid=467&directory=2256&contents=5046 เว็บไซต์รัฐบาลไทย]</ref> ต่อมาในปี [[พ.ศ. 2546]] จึงได้รับการแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลของพันตำรวจโททักษิณ ชินวัตร
นายวิเชษฐ์ เกษมทองศรี เป็น[[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดราชบุรี]] เคยดำรงตำแหน่งผู้ช่วยเลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ในระหว่างปี พ.ศ. 2539 - พ.ศ. 2540 เป็นผู้ช่วยเลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ในปี พ.ศ. 2541<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2541/D/089/134.PDF คำสั่งกระทรวงพาณิชย์ ที่ ๓๔๒/๒๕๔๑ เรื่อง แต่งตั้งข้าราชการการเมือง (นายวิเชษฐ์ เกษมทองศรี)]</ref> ต่อมาในปี พ.ศ. 2542 เป็นเลขานุการคณะกรรมาธิการการต่างประเทศ และเป็นรองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในปี [[พ.ศ. 2544]]<ref>[http://www.thaigov.go.th/pageconfig/viewcontent/viewcontent1.asp?pageid=467&directory=2256&contents=5046 เว็บไซต์รัฐบาลไทย]</ref> ต่อมาในปี [[พ.ศ. 2546]] จึงได้รับการแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลของพันตำรวจโททักษิณ ชินวัตร


ในปี พ.ศ. 2550 ได้ถูกตัดสิทธิทางการเมืองเป็นเวลา 5 ปี เนื่องจากเป็นกรรมการบริหารพรรคไทยรักไทยซึ่งถูกยุบใน[[คดียุบพรรคการเมือง พ.ศ. 2549]]<ref>[http://www.moneychannel.co.th/Menu6/BreakingNews/tabid/98/newsid533/22585/Default.aspx เปิดรายชื่อ ทั้ง 111 กรรมการบริหารพรรคไทยรักไทยที่ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมืองเป็นระยะเวลา 5 ปี !!!]</ref> ต่อมาในปี พ.ศ. 2555 ได้สมัครเข้าเป็นสมาชิกพรรคเพื่อไทย<ref>[http://www.bangkokbiznews.com/home/detail/politics/politics/20120601/454583/บ้านเลขที่-111-ซบอกเพื่อไทยแล้ว.html บ้านเลขที่ 111 ซบอก'เพื่อไทย'แล้ว]</ref> และได้รับแต่งตั้งเป็น[[รัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม]] ในรัฐบาลนางสาว[[ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร]]<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2556/E/079/1.PDF พระบรมราชโองการ ประกาศให้รัฐมนตรีพ้นจากความเป็นรัฐมนตรีและแต่งตั้งรัฐมนตรี (รัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร ๕)]</ref>
ในปี พ.ศ. 2550 ได้ถูกตัดสิทธิทางการเมืองเป็นเวลา 5 ปี เนื่องจากเป็นกรรมการบริหารพรรคไทยรักไทยซึ่งถูกยุบใน[[คดียุบพรรคการเมือง พ.ศ. 2549]]<ref>[http://www.moneychannel.co.th/Menu6/BreakingNews/tabid/98/newsid533/22585/Default.aspx เปิดรายชื่อ ทั้ง 111 กรรมการบริหารพรรคไทยรักไทยที่ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมืองเป็นระยะเวลา 5 ปี !!!]</ref> ต่อมาในปี พ.ศ. 2555 ได้สมัครเข้าเป็นสมาชิกพรรคเพื่อไทย<ref>[http://www.bangkokbiznews.com/home/detail/politics/politics/20120601/454583/บ้านเลขที่-111-ซบอกเพื่อไทยแล้ว.html บ้านเลขที่ 111 ซบอก'เพื่อไทย'แล้ว]</ref> และได้รับแต่งตั้งเป็น[[รัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม]] ในรัฐบาลนางสาว[[ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร]]<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2556/E/079/1.PDF พระบรมราชโองการ ประกาศให้รัฐมนตรีพ้นจากความเป็นรัฐมนตรีและแต่งตั้งรัฐมนตรี (รัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร ๕)]</ref>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:49, 22 เมษายน 2562

นายวิเชษฐ์ เกษมทองศรี
ไฟล์:วิเชษฐ์ เกษมทองศรี.jpg
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ดำรงตำแหน่ง
30 มิถุนายน พ.ศ. 2556 – 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2557
นายกรัฐมนตรียิ่งลักษณ์ ชินวัตร
ก่อนหน้าปรีชา เร่งสมบูรณ์สุข
ถัดไปพลเอก ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ
รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม
ดำรงตำแหน่ง
8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2546 – 11 มีนาคม พ.ศ. 2548
นายกรัฐมนตรีพันตำรวจโททักษิณ ชินวัตร
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด7 กรกฎาคม พ.ศ. 2505 (61 ปี)
จังหวัดราชบุรี ประเทศไทย
ศาสนาพุทธ
พรรคการเมืองเพื่อไทย
คู่สมรสนางวานิพรรณ เกษมทองศรี

นายวิเชษฐ์ เกษมทองศรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ในรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลของพันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร[1] และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดราชบุรี สังกัดพรรคไทยรักไทย

ประวัติ

นายวิเชษฐ์ เกษมทองศรี เกิดเมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2505 ที่อำเภอเมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี เป็นบุตรของนายชัยวัฒน์ กับนางสุภาพร เกษมทองศรี สำเร็จการศึกษาระดับประกาศนยีบัตรวิชาชีพ (ปวช.) จากวิทยาเขตบพิตรพิมุข ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง จากวิทยาลัยเทคนิคกรุงเทพ ต่อมาจึงได้เข้ารับการศึกษาในระดับปริญญาตรี สาขาบริหารธุรกิจ จากวิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา (วิทยาเขตบพิตรพิมุข จักวรรดิ) เมื่อปี พ.ศ. 2529 และปริญญาโท สาขารัฐประศาสนศาสตร์ จากสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ปี พ.ศ. 2541

การทำงาน

นายวิเชษฐ์ เกษมทองศรี เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดราชบุรี เคยดำรงตำแหน่งผู้ช่วยเลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ในระหว่างปี พ.ศ. 2539 - พ.ศ. 2540 เป็นผู้ช่วยเลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ในปี พ.ศ. 2541[2] ต่อมาในปี พ.ศ. 2542 เป็นเลขานุการคณะกรรมาธิการการต่างประเทศ และเป็นรองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในปี พ.ศ. 2544[3] ต่อมาในปี พ.ศ. 2546 จึงได้รับการแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลของพันตำรวจโททักษิณ ชินวัตร

ในปี พ.ศ. 2550 ได้ถูกตัดสิทธิทางการเมืองเป็นเวลา 5 ปี เนื่องจากเป็นกรรมการบริหารพรรคไทยรักไทยซึ่งถูกยุบในคดียุบพรรคการเมือง พ.ศ. 2549[4] ต่อมาในปี พ.ศ. 2555 ได้สมัครเข้าเป็นสมาชิกพรรคเพื่อไทย[5] และได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ในรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร[6]

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

อ้างอิง

  1. คณะรัฐมนตรีคณะที่ 54 จากสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี
  2. คำสั่งกระทรวงพาณิชย์ ที่ ๓๔๒/๒๕๔๑ เรื่อง แต่งตั้งข้าราชการการเมือง (นายวิเชษฐ์ เกษมทองศรี)
  3. เว็บไซต์รัฐบาลไทย
  4. เปิดรายชื่อ ทั้ง 111 กรรมการบริหารพรรคไทยรักไทยที่ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมืองเป็นระยะเวลา 5 ปี !!!
  5. บ้านเลขที่ 111 ซบอก'เพื่อไทย'แล้ว
  6. พระบรมราชโองการ ประกาศให้รัฐมนตรีพ้นจากความเป็นรัฐมนตรีและแต่งตั้งรัฐมนตรี (รัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร ๕)
  7. ราชกิจจานุเบกษา ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย (ชั้นสายสะพาย ในโอกาสพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๔๖) เล่ม 120 ตอนที่ 19ข วันที่ 1 ธันวาคม 2546
  8. ราชกิจจานุเบกษา ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย (ชั้นสายสะพาย ในโอกาสพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๔๕) เล่ม 119 ตอนที่ 21ข วันที่ 4 ธันวาคม 2545

แหล่งข้อมูลอื่น