สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกำแพงเพชร

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
จังหวัดกำแพงเพชร
เขตเลือกตั้งในปัจจุบัน
จำนวนเขต4
คะแนนเสียง150,611 (พลังประชารัฐ)
เขตเลือกตั้งปัจจุบัน
ก่อตั้งพ.ศ. 2476
ที่นั่งพลังประชารัฐ (4)
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรดูในบทความ

จังหวัดกำแพงเพชร มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 4 เขต (สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ. 2566)[1] และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 4 คน จากทั้งหมด 400 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย

ประวัติศาสตร์[แก้]

หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยจังหวัดกำแพงเพชรมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนแรก คือ นายฮั้ว ตามไท

เขตเลือกตั้ง[แก้]

การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้ง แผนที่ จำนวน ส.ส.
พ.ศ. 2476 เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด 1 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2480
พ.ศ. 2481
พ.ศ. 2489
พ.ศ. 2491
พ.ศ. 2492
พ.ศ. 2495
พ.ศ. 2500/1
พ.ศ. 2500/2
พ.ศ. 2512 2 คน (เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2518 3 คน (เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2519
พ.ศ. 2522 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองกำแพงเพชร, อำเภอพรานกระต่าย และกิ่งอำเภอลานกระบือ
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอขาณุวรลักษบุรี, อำเภอคลองขลุง, กิ่งอำเภอไทรงาม และกิ่งอำเภอคลองลาน
4 คน (เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2526 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองกำแพงเพชร, อำเภอพรานกระต่าย และกิ่งอำเภอลานกระบือ
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอขาณุวรลักษบุรี, อำเภอคลองขลุง, อำเภอไทรงาม และกิ่งอำเภอคลองลาน
พ.ศ. 2529 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองกำแพงเพชร, อำเภอพรานกระต่าย และอำเภอลานกระบือ
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอขาณุวรลักษบุรี, อำเภอคลองขลุง, อำเภอไทรงาม และอำเภอคลองลาน
พ.ศ. 2531
พ.ศ. 2535/1
พ.ศ. 2535/2 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองกำแพงเพชร, อำเภอพรานกระต่าย และอำเภอลานกระบือ
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอขาณุวรลักษบุรี, อำเภอคลองขลุง, อำเภอไทรงาม, อำเภอคลองลาน และกิ่งอำเภอทุ่งทราย
พ.ศ. 2538 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองกำแพงเพชร, อำเภอพรานกระต่าย, อำเภอลานกระบือ, อำเภอคลองลาน และกิ่งอำเภอปางศิลาทอง
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอขาณุวรลักษบุรี, อำเภอคลองขลุง, อำเภอไทรงาม, กิ่งอำเภอทุ่งทราย และกิ่งอำเภอบึงสามัคคี
5 คน (เขต 1 เขตละ 3 คน และเขต 2 เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2539 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองกำแพงเพชร, อำเภอพรานกระต่าย, อำเภอลานกระบือ, อำเภอคลองลาน, กิ่งอำเภอปางศิลาทอง และกิ่งอำเภอโกสัมพีนคร
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอขาณุวรลักษบุรี, อำเภอคลองขลุง, อำเภอไทรงาม, กิ่งอำเภอทรายทองวัฒนา และกิ่งอำเภอบึงสามัคคี
พ.ศ. 2544 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองกำแพงเพชร (ยกเว้นตำบลหนองปลิง ตำบลลานดอกไม้ ตำบลนาบ่อคำ ตำบลคลองแม่ลาย ตำบลท่าขุนราม ตำบลทรงธรรม และตำบลวังทอง)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอลานกระบือ, อำเภอพรานกระต่าย, อำเภอเมืองกำแพงเพชร (เฉพาะตำบลหนองปลิงและตำบลลานดอกไม้) และกิ่งอำเภอโกสัมพีนคร
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอปางศิลาทอง, อำเภอคลองลาน และอำเภอเมืองกำแพงเพชร (เฉพาะตำบลนาบ่อคำ ตำบลคลองแม่ลาย ตำบลท่าขุนราม ตำบลทรงธรรม และตำบลวังทอง)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอคลองขลุง, อำเภอทรายทองวัฒนา (ยกเว้นตำบลทุ่งทอง) และอำเภอไทรงาม (ยกเว้นตำบลหนองแม่แตง)
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอขาณุวรลักษบุรี, อำเภอทรายทองวัฒนา (เฉพาะตำบลทุ่งทอง), อำเภอไทรงาม (เฉพาะตำบลหนองแม่แตง) และกิ่งอำเภอบึงสามัคคี
5 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2550 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองกำแพงเพชร, อำเภอพรานกระต่าย, อำเภอคลองลาน, อำเภอลานกระบือ, อำเภอปางศิลาทอง และอำเภอโกสัมพีนคร
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอขาณุวรลักษบุรี, อำเภอคลองขลุง, อำเภอไทรงาม, อำเภอบึงสามัคคี และอำเภอทรายทองวัฒนา
5 คน (เขต 1 เขตละ 3 คน และเขต 2 เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2554 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองกำแพงเพชร (ยกเว้นตำบลสระแก้วและตำบลไตรตรึงษ์)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอโกสัมพีนคร, อำเภอพรานกระต่าย, อำเภอลานกระบือ, อำเภอไทรงาม (ยกเว้นตำบลหนองแม่แตง ตำบลหนองไม้กอง และตำบลไทรงาม) และอำเภอเมืองกำแพงเพชร (เฉพาะตำบลสระแก้ว)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอคลองลาน, อำเภอปางศิลาทอง, อำเภอคลองขลุง และอำเภอเมืองกำแพงเพชร (เฉพาะตำบลไตรตรึงษ์)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอขาณุวรลักษบุรี, อำเภอบึงสามัคคี, อำเภอทรายทองวัฒนา และอำเภอไทรงาม (เฉพาะตำบลหนองแม่แตง ตำบลหนองไม้กอง และตำบลไทรงาม)
4 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2562
พ.ศ. 2566

รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต[แก้]

ชุดที่ 1–7; พ.ศ. 2476–2495[แก้]

ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 1 พ.ศ. 2476 นายฮั้ว ตามไท
ชุดที่ 2 พ.ศ. 2480
ชุดที่ 3 พ.ศ. 2481 นายบุญช่วย ชูทรัพย์
ชุดที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2489 นายประสิทธิ์ ชูพินิจ
สิงหาคม พ.ศ. 2489 – (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
ชุดที่ 5 พ.ศ. 2491 นายประสิทธิ์ ชูพินิจ
พ.ศ. 2492 – (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
ชุดที่ 7 พ.ศ. 2495 นายประสิทธิ์ ชูพินิจ

ชุดที่ 8–9; พ.ศ. 2500[แก้]

      พรรคเสรีมนังคศิลา
      พรรคสหภูมิพรรคชาติสังคม
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 นายประสิทธิ์ ชูพินิจ
ชุดที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2500 นายเกษม จงสวัสดิ์

ชุดที่ 10; พ.ศ. 2512[แก้]

      พรรคสหประชาไทย
เขต ชุดที่ 10 พ.ศ. 2512
1 นายเกษม จงสวัสดิ์
นายประสิทธิ์ ชูพินิจ

ชุดที่ 11–12; พ.ศ. 2518–2519[แก้]

      พรรคประชาธิปัตย์
เขต ชุดที่ 11 พ.ศ. 2518 ชุดที่ 12 พ.ศ. 2519
1 นายปรีชา มุสิกุล
นายมีชัย พันธุวร พันตำรวจตรี อร่าม จงสวัสดิ์
นายเสนาะ พึ่งเจียม

ชุดที่ 13–18; พ.ศ. 2522–2535[แก้]

      พรรคชาติไทย
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคกิจสังคม
      พรรคสหประชาธิปไตย
      พรรครวมไทย (พ.ศ. 2529)พรรคเอกภาพ
      พรรคสามัคคีธรรม
      พรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1 เขตเลือกตั้งที่ 2
ชุดที่ 13 พ.ศ. 2522 นายมานิต สุคนธพาณิช พันตำรวจตรี อร่าม จงสวัสดิ์ นายเสนาะ พึ่งเจียม นายเสนอ พึ่งเจียม
ชุดที่ 14 พ.ศ. 2526 นายเรืองวิทย์ ลิกค์ นายปรีชา มุสิกุล
ชุดที่ 15 พ.ศ. 2529 นายเรืองวิทย์ ลิกค์ พันตำรวจตรี อร่าม จงสวัสดิ์ นายถวิล ฤกษ์หร่าย นายมีชัย พันธุวร
ชุดที่ 16 พ.ศ. 2531 นายเรืองวิทย์ ลิกค์ นายปรีชา มุสิกุล นายเสนาะ พึ่งเจียม นายเสนอ พึ่งเจียม
ชุดที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2535 นายเรืองวิทย์ ลิกค์ นายวราเทพ รัตนากร นายสนั่น สบายเมือง
ชุดที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2535 นายเรืองวิทย์ ลิกค์ นายวราเทพ รัตนากร นายถวิล ฤกษ์หร่าย

ชุดที่ 19–20; พ.ศ. 2538–2539[แก้]

      พรรคชาติไทย
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคความหวังใหม่
      พรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)
เขต ชุดที่ 19 พ.ศ. 2538 ชุดที่ 20 พ.ศ. 2539
1 นายเรืองวิทย์ ลิกค์ นายเรืองวิทย์ ลิกค์
นางสาวคนึง ไทยประสิทธิ์ พันตำรวจโท ไวพจน์ อาภรณ์รัตน์
นายปรีชา มุสิกุล
2 นายวราเทพ รัตนากร นายวราเทพ รัตนากร
นายสนั่น สบายเมือง นายถวิล ฤกษ์หร่าย

ชุดที่ 21–22; พ.ศ. 2544–2548[แก้]

      พรรคไทยรักไทย
      พรรคประชาธิปัตย์
เขต ชุดที่ 21 พ.ศ. 2544 ชุดที่ 22 พ.ศ. 2548
1 นายปรีชา มุสิกุล นายเรืองวิทย์ ลิกค์
2 นางสาวคนึง ไทยประสิทธิ์
3 พันตำรวจโท ไวพจน์ อาภรณ์รัตน์
4 นายสนั่น สบายเมือง
5 นายถวิล ฤกษ์หร่าย

ชุดที่ 23; พ.ศ. 2550[แก้]

      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
เขต ชุดที่ 23 พ.ศ. 2550
1 นายปรีชา มุสิกุล
นายสุขวิชชาญ มุสิกุล
นายสำราญ ศรีแปงวงค์
2 นายปริญญา ฤกษ์หร่าย
นายอนันต์ ผลอำนวย

ชุดที่ 24–26; พ.ศ. 2554–2566[แก้]

      พรรคเพื่อไทย
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคพลังประชารัฐ พรรคเศรษฐกิจไทย → พรรคพลังประชารัฐ
      พรรคพลังประชารัฐ
เขต ชุดที่ 24 พ.ศ. 2554 ชุดที่ 25 พ.ศ. 2562 ชุดที่ 26 พ.ศ. 2566
1 นายไผ่ ลิกค์ นายไผ่ ลิกค์ นายไผ่ ลิกค์
2 นายปรีชา มุสิกุล พันตำรวจโท ไวพจน์ อาภรณ์รัตน์
(พ้นจากตำแหน่ง)
นายเพชรภูมิ อาภรณ์รัตน์
นายเพชรภูมิ อาภรณ์รัตน์
(แทนพันตำรวจโท ไวพจน์)
3 นายอนันต์ ผลอำนวย นายอนันต์ ผลอำนวย
4 นายปริญญา ฤกษ์หร่าย นายปริญญา ฤกษ์หร่าย

รูปภาพ[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งและเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัดจะพึงมี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 140 (14 ก): 38–42. 3 มีนาคม 2566.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]