จังหวัดนครศรีธรรมราชในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดนครศรีธรรมราชในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550

← พ.ศ. 2549 (โมฆะ) 23 ธันวาคม พ.ศ. 2550 พ.ศ. 2554 →

10 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ผู้ใช้สิทธิ73.31%
  First party Second party
 
พรรค ประชาธิปัตย์ พลังประชาชน
ที่นั่งก่อนหน้า 10 0
ที่นั่งที่ชนะ 10 0
ที่นั่งเปลี่ยน Steady0 Steady0
คะแนนเสียง 645,762 32,193
% 89.84 4.48

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

สุรยุทธ์ จุลานนท์
อิสระ (คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ)

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

สมัคร สุนทรเวช
พลังประชาชน

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครศรีธรรมราช พ.ศ. 2550 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2550 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 4 เขตเลือกตั้ง[1] มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 10 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อปี พ.ศ. 2549 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 1 และ 2) และ 2 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 3 และ 4)

ภาพรวม[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบสัดส่วน[แก้]

คะแนนรวมทั้งหมดในกลุ่มจังหวัดที่ 8[แก้]

กลุ่มจังหวัดที่ 8 ประกอบไปด้วยจังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัดพังงา จังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัดกระบี่ จังหวัดภูเก็ต จังหวัดตรัง จังหวัดพัทลุง จังหวัดสตูล จังหวัดสงขลา จังหวัดปัตตานี จังหวัดนราธิวาส และจังหวัดยะลา

e • d ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบสัดส่วน กลุ่มจังหวัดที่ 8
พรรค คะแนนเสียง ร้อยละ
เพื่อแผ่นดิน (1) 156,932 4.08
รวมใจไทยชาติพัฒนา (2) 61,688 1.60
เครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย (3) 33,729 0.88
ประชาธิปัตย์ (4) 3,086,262 80.17
พลังเกษตรกร (5) 26,029 0.68
รักเมืองไทย (6)
แรงงาน (7)
เกษตรกรไทย (8)
ประชาราช (9) 26,472 0.69
นิติศาสตร์ไทย (10)
พัฒนาประชาธิปไตย (11)
พลังประชาชน (12) 319,984 8.31
ชาติไทย (13) 57,589 1.50
ดำรงไทย (14)
มัชฌิมาธิปไตย (15) 17,999 0.47
ชาติสามัคคี (16)
ความหวังใหม่ (17) 13,108 0.34
ประชากรไทย (18) 6,801 0.18
ประชามติ (19) 6,382 0.17
ไทเป็นไท (20) 14,823 0.39
พลังแผ่นดินไท (21) 6,440 0.17
มหาชน (22)
คุณธรรม (23)
ราษฎรรักไทย (24) 5,297 0.14
กฤษไทยมั่นคง (25)
อยู่ดีมีสุข (26)
ไทยร่ำรวย (27) 6,587 0.17
เอกราช (28)
พลังแผ่นดิน (29)
สังคมธิปไตย (30)
นำวิถี (31) 3,480 0.09
บัตรดี 3,849,602 92.19
บัตรเสีย 240,163 5.75
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 86,016 2.06
ผู้มาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง 4,175,781 77.96
ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง 5,356,089 100.00

ผู้สมัครได้รับการเลือกตั้งในกลุ่มจังหวัดที่ 8[แก้]

แต่ละกลุ่มจังหวัดมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกลุ่มละ 10 คน สำหรับกลุ่มจังหวัดที่ 8 แบ่งออกเป็นตามสัดส่วนคะแนนดังนี้

พรรคการเมือง รายชื่อผู้สมัคร
พรรคประชาธิปัตย์ ชวน หลีกภัย
บัญญัติ บรรทัดฐาน
ไตรรงค์ สุวรรณคีรี
จุรินทร์ ลักษณวิศิษฎ์
ชำนิ ศักดิเศรษฐ์
นิพนธ์ บุญญามณี
พีรยศ ราฮิมมูลา
เฉลิมลักษณ์ เก็บทรัพย์
พรรคพลังประชาชน อารีเพ็ญ อุตรสินธุ์
พรรคเพื่อแผ่นดิน มานพ ปัตนวงศ์

คะแนนรวมเฉพาะจังหวัดนครศรีธรรมราช[แก้]

e • d ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบสัดส่วน จังหวัดนครศรีธรรมราช
พรรค คะแนนเสียง ร้อยละ
เพื่อแผ่นดิน (1) 11,615 1.62
รวมใจไทยชาติพัฒนา (2) 3,647 0.51
เครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย (3) 4,163 0.58
ประชาธิปัตย์ (4) 645,762 89.84
พลังเกษตรกร (5) 2,258 0.31
รักเมืองไทย (6)
แรงงาน (7)
เกษตรกรไทย (8)
ประชาราช (9) 3,625 0.50
นิติศาสตร์ไทย (10)
พัฒนาประชาธิปไตย (11)
พลังประชาชน (12) 32,193 4.48
ชาติไทย (13) 4,509 0.63
ดำรงไทย (14)
มัชฌิมาธิปไตย (15) 1,920 0.27
ชาติสามัคคี (16)
ความหวังใหม่ (17) 1,381 0.19
ประชากรไทย (18) 1,097 0.15
ประชามติ (19) 648 0.09
ไทเป็นไท (20) 3,644 0.51
พลังแผ่นดินไท (21) 559 0.08
มหาชน (22)
คุณธรรม (23)
ราษฎรรักไทย (24) 673 0.09
กฤษไทยมั่นคง (25)
อยู่ดีมีสุข (26)
ไทยร่ำรวย (27) 754 0.11
เอกราช (28)
พลังแผ่นดิน (29)
สังคมธิปไตย (30)
นำวิถี (31) 377 0.05
บัตรดี 718,825 92.91
บัตรเสีย 42,980 5.56
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 11,844 1.53
ผู้มาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง 773,649 73.31
ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง 1,055,247 100.00

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต[แก้]

เขต 1เขต 2เขต 3เขต 4

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองนครศรีธรรมราช อำเภอพระพรหม อำเภอจุฬาภรณ์ อำเภอร่อนพิบูลย์ และ อำเภอเฉลิมพระเกียรติ

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดนครศรีธรรมราช
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ นริศา อดิเทพวรพันธุ์ (2)* 164,088 79.40
ประชาธิปัตย์ อภิชาต ศักดิเศรษฐ์ (3)* 160,306 77.57
ประชาธิปัตย์ สัมพันธ์ ทองสมัคร (1)✔ 148,700 71.96
พลังประชาชน นัฎฐ์ประชา เกื้อสกุล (10) 21,767 10.53
รวมใจไทยชาติพัฒนา อำนาจ รอดช่วย (4) 15,997 7.74
พลังประชาชน วิโรจน์ วรินทรเวช (12) 10,852 5.25
พลังประชาชน ปิติ เทพภักดี (11) 9,181 4.44
ชาติไทย สมชาติ จิตรามวงศ์ (7) 8,204 3.97
เพื่อแผ่นดิน สิทธิพล คำวิจิตร (14) 4,671 2.26
ชาติไทย มนัส วิชชุปกรณ์ (8) 4,530 2.19
เพื่อแผ่นดิน ศิริพร เพชรหนองชุม (15) 3,333 1.61
ชาติไทย ฐานุวัฒน์ ภูมี (9) 3,180 1.54
รวมใจไทยชาติพัฒนา อนันต์ พรหมอินทร์ (5) 2,801 1.36
ประชากรไทย พันโท สุพจน์ วงศ์พิศาล (16) 2,491 1.21
รวมใจไทยชาติพัฒนา พะโยม กั่งเซ่ง (6) 1,875 0.91
ประชากรไทย เฉลิมชัย นิจพรหม (17) 1,730 0.84
ประชากรไทย ฐปกรณ์ มีล่อง (18) 1,649 0.80
ประชามติ วาสนา วิมลทรง (22) 1,572 0.76
เพื่อแผ่นดิน สุพจน์ ขนอม (13) 1,542 0.75
พลังแผ่นดินไท พันจ่าอากาศเอก อากร ณ นคร (25) 744 0.36
ประชามติ วิศิษฐ์ หัตถวาศรี (24) 645 0.31
ไทยร่ำรวย สุนิสา เดชอัครกำแหง (20) 630 0.31
ประชามติ วิรัตน์ คงจันทร์ (23) 629 0.30
พลังแผ่นดินไท จิณัฐศิกาญ พิพัฒพงษ์ภัค (27) 568 0.28
ไทยร่ำรวย วิหาร บุญธรรม (19) 533 0.26
ไทยร่ำรวย รัชนี เหมทานนท์ (21) 490 0.24
พลังแผ่นดินไท วันวิสาข์ ภู่ทรัพย์มี (26) 224 0.11
บัตรดี 206,654 93.07
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 9,650 4.35
บัตรเสีย 5,718 2.58
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 222,022 71.10
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 312,277 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 2[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอทุ่งสง อำเภอทุ่งใหญ่ อำเภอบางขัน อำเภอฉวาง อำเภอพิปูน อำเภอนาบอน อำเภอลานสกา อำเภอถ้ำพรรณรา และอำเภอช้างกลาง

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดนครศรีธรรมราช
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ ชินวรณ์ บุณยเกียรติ (1)* 187,663 78.33
ประชาธิปัตย์ เทพไท เสนพงศ์ (2)* 185,984 77.63
ประชาธิปัตย์ ประกอบ รัตนพันธ์ (3)* 179,950 75.11
พลังประชาชน อารี ไกรนรา (10) 21,484 8.97
ประชากรไทย นพวรรณ วงศ์เบี้ยสัจจ์ (4) 15,470 6.46
พลังประชาชน อุดมเกียรติ อภินันทิกุล ปานมี (12) 9,819 4.10
พลังประชาชน โชคดี ประทุมมาศ (11) 9,253 3.86
เพื่อแผ่นดิน วรพจน์ ธรฤทธิ์ (7) 4,240 1.77
ชาติไทย สนธิญา สวัสดี (13) 3,673 1.53
ประชาราช นิติ จิตรัตน์ (19) 3,668 1.53
รวมใจไทยชาติพัฒนา อรรถสิทธิ์ ทองอร่าม (16) 3,478 1.45
รวมใจไทยชาติพัฒนา สมนึก พิบูลย์ (17) 3,024 1.26
ชาติไทย วีระศักดิ์ อนุเคราะห์กุล (15) 2,580 1.08
ประชากรไทย ไกรศรี ขุท์ทะกะพันธ์ (5) 2,464 1.03
เพื่อแผ่นดิน บุญเลิศ ถังมณี (8) 2,221 0.93
รวมใจไทยชาติพัฒนา สมยศ ส้มเขียวหวาน (18) 2,122 0.89
เพื่อแผ่นดิน จ่าสิบเอก นิเวศน์ รุ่งเรือง (9) 1,895 0.79
ไทยร่ำรวย พันตำรวจตรี เอกเกษม โชติ (26) 1,652 0.69
ประชากรไทย สุรวงศ์ มีล่อง (6) 1,463 0.61
พลังแผ่นดิน กิติรัตน์ เกื้อสังข์ (29) 1,332 0.56
ไทเป็นไท สมนึก สามารถ (22) 1,119 0.47
ประชาราช สมโชค โกศล (20) 1,014 0.42
ไทเป็นไท ราเชนทร์ เครือจันทร์ (24) 1,006 0.42
ชาติไทย เรวดี สวัสดี (14) 940 0.39
ประชาราช จรัญ พรหมเพศ (21) 901 0.38
ไทเป็นไท จ่าสิบเอก สำราญ ก๋งเม่ง (23) 601 0.25
พลังแผ่นดิน สมบูรณ์ กุลภักดี (30) 599 0.25
ไทยร่ำรวย โอรส เทวฤทธิ์ (25) 410 0.17
พลังแผ่นดิน พิมพ์ลภัส แก้วมีศรี (28) 376 0.16
ไทยร่ำรวย จุฑามาศ ทองทรัพย์ (27) 281 0.12
บัตรดี 239,572 94.83
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 7,981 3.16
บัตรเสีย 5,085 2.01
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 252,638 78.35
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 322,461 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 3[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วยอำเภอปากพนัง อำเภอหัวไทร อำเภอเชียรใหญ่ และอำเภอชะอวด

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 3 จังหวัดนครศรีธรรมราช
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ วิทยา แก้วภราดัย (11)* 98,429 71.80
ประชาธิปัตย์ อภิชาต การิกาญจน์ (12)* 84,796 61.86
ประชากรไทย สุธี จันทร์เอียด (4) 10,454 7.63
เพื่อแผ่นดิน ประกอบ คงพรหม (5) 9,587 6.99
รวมใจไทยชาติพัฒนา พันโท สุรชัย สมาคม (8) 9,037 6.59
พลังประชาชน เร็วจริง รัตนวิชา (1) 7,779 5.67
มัชฌิมาธิปไตย มาโนช เสนาชู (15) 7,566 5.52
พลังประชาชน สมบูรณ์ เกตุแก้ว (2) 5,574 4.07
ชาติไทย กฤษณะ ทองแก้ว (10) 5,062 3.69
ชาติไทย ชนะวัฒน์ ษารักษ์ (9) 4,254 3.10
รวมใจไทยชาติพัฒนา ธีรพล ฉายวิริยะนนท์ (7) 2,764 2.02
เพื่อแผ่นดิน อัจฉวี พลสังข์ (6) 2,586 1.89
ประชามติ โชติช่วง คงแก้ว (13) 2,186 1.60
ประชามติ ข้อเหรด นิยมเดชา (14) 1,983 1.45
ประชากรไทย จุรีรัตน์ บุญฤทธิ์ (3) 1,561 1.14
มัชฌิมาธิปไตย พันธมิตร ดวงทิพย์ (16) 617 0.45
ไทยร่ำรวย จุฑามาศ คานแก้ว (18) 467 0.34
ไทยร่ำรวย สุธรรม แก้วมล (17) 450 0.33
ไทเป็นไท บุญนา เกิดบัวทอง (19) 325 0.24
ไทเป็นไท ชุมพล ปานนาค (20) 169 0.12
บัตรดี 137,089 93.29
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 4,139 2.82
บัตรเสีย 5,712 3.89
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 146,940 66.02
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 222,554 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 4[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 4 ประกอบด้วยอำเภอท่าศาลา อำเภอขนอม อำเภอพรหมคีรี อำเภอสิชล และอำเภอนบพิตำ

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 4 จังหวัดนครศรีธรรมราช
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ สุรเชษฐ์ มาศดิตถ์ (7)* 100,419 70.41
ประชาธิปัตย์ พิมพ์ภัทรา วิชัยกุล (8) 87,954 61.67
รวมใจไทยชาติพัฒนา ชัยสิรัตน์ ตรึกตรอง (9) 22,657 15.89
รวมใจไทยชาติพัฒนา พอพันธ์ รัตนคช (10) 12,397 8.69
ประชากรไทย จารึก อินรินทร์ (4) 10,852 7.61
พลังประชาชน สุรชัย ด่านวัฒนานุสรณ์ (1) 9,914 6.95
พลังประชาชน ดล ศรีสว่าง (2) 8,344 5.85
เพื่อแผ่นดิน ไชยนาท ทิพย์รักษา (5) 5,148 3.61
เพื่อแผ่นดิน เอกชาติ ศรีวิชัย (6) 2,760 1.94
ประชากรไทย พันเอก อัมพร ฉิมมี (3) 2,393 1.68
ไทยร่ำรวย วิศิษฎ์ จันทรมณี (12) 1,198 0.84
ไทยร่ำรวย ร้อยตรี สุวรรณ ทองทรัพย์ (11) 516 0.36
บัตรดี 142,619 93.80
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 4,286 2.82
บัตรเสีย 5,146 3.38
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 152,051 76.81
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 197,955 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง. "ข้อมูลสถิติการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2550". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-06-06. สืบค้นเมื่อ 13 December 2019.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]