ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tondeknoi1802 (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 64: บรรทัด 64:
* [[พ.ศ. 2560]]
* [[พ.ศ. 2560]]
** ''[[9 สิงหาคม]]: เปิดให้บริการส่วนต่อขยาย[[รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล|สายเฉลิมรัชมงคล]] ([[สถานีเตาปูน|เตาปูน]])''<ref name="กรุงเทพธุรกิจ">{{Cite news|url=http://www.bangkokbiznews.com/news/detail/739384|title=ดีเดย์! เปิดเดินรถสถานีเตาปูน-บางซื่อ 9 ส.ค.นี้|date=7 Feb 2017|work=กรุงเทพธุรกิจ|access-date=7 Feb 2017}}</ref><ref>http://news.voicetv.co.th/business/464370.html</ref>
** ''[[9 สิงหาคม]]: เปิดให้บริการส่วนต่อขยาย[[รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล|สายเฉลิมรัชมงคล]] ([[สถานีเตาปูน|เตาปูน]])''<ref name="กรุงเทพธุรกิจ">{{Cite news|url=http://www.bangkokbiznews.com/news/detail/739384|title=ดีเดย์! เปิดเดินรถสถานีเตาปูน-บางซื่อ 9 ส.ค.นี้|date=7 Feb 2017|work=กรุงเทพธุรกิจ|access-date=7 Feb 2017}}</ref><ref>http://news.voicetv.co.th/business/464370.html</ref>
* [[พ.ศ. 2561]]
** ''เปิดให้บริการส่วนต่อขยาย[[รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท|สายสุขุมวิท]] ([[สถานีแบริ่ง|แบริ่ง]] - [[สถานีเคหะสมุทรปราการ|เคหะสมุทรปราการ]])''<ref name="Mango Zero">{{Cite news|url=https://www.mangozero.com/update-6-sky-train-line-will-be-open-in-3-years/|title=อัพเดทรถไฟฟ้า 6 สายที่จะมาหานะเธอในอีก 3 ปีข้างหน้า|last=Writer|first=Sam The Rider|date=14 Feb 2017|work=Mango Zero|access-date=14 Feb 2017}}</ref>
* [[พ.ศ. 2562]]
** ''เปิดให้บริการส่วนต่อขยาย[[รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล|สายเฉลิมรัชมงคล]] ([[สถานีเตาปูน|เตาปูน]] - [[สถานีท่าพระ|ท่าพระ]] - [[สถานีหัวลำโพง (รถไฟฟ้ามหานคร)|หัวลำโพง]] - [[สถานีหลักสอง (รถไฟฟ้าสายสีน้ำเงิน)|หลักสอง]])''<ref name="Mango Zero"/>
* [[พ.ศ. 2563]]
** ''เปิดให้บริการ[[รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงเข้ม]] ([[สถานีกลางบางซื่อ|บางซื่อ]] - [[สถานีรังสิต (รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงเข้ม)|รังสิต]])''<ref name="Mango Zero"/>
** ''เปิดให้บริการส่วนต่อขยาย[[รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท|สายสุขุมวิท]] ([[สถานีหมอชิต|หมอชิต]] - [[สถานีคูคต|คูคต]])''<ref name="Mango Zero"/>


== รายชื่อสายรถไฟฟ้า ==
== รายชื่อสายรถไฟฟ้า ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:52, 1 มีนาคม 2560

รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
ข้อมูลทั่วไป
เจ้าของกรุงเทพมหานคร
การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย
การรถไฟแห่งประเทศไทย
ที่ตั้งกรุงเทพมหานคร, สมุทรปราการ, นนทบุรี
ประเภทระบบขนส่งมวลชนความเร็วสูง, รถไฟฟ้าโมโนเรล, รถไฟฟ้าชานเมือง, รถไฟล้อยาง
จำนวนสาย5 สาย (ปัจจุบัน)
จำนวนสถานี93* จากแผนงาน 310*
(*ถ้านับสถานีเชื่อมต่อเป็นหนึ่งสถานี)
ผู้โดยสารต่อวันบีทีเอส: 900,000 คน
มหานคร: 300,000 คน
เชื่อมท่าอากาศยาน: 65,000 คน
การให้บริการ
เริ่มดำเนินงาน5 ธันวาคม พ.ศ. 2542 (24 ปี)
ผู้ดำเนินงานบริษัท ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ จำกัด (มหาชน)
บริษัท กรุงเทพธนาคม จำกัด
ทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพ
รถไฟฟ้า ร.ฟ.ท.
ข้อมูลทางเทคนิค
ระยะทาง110.29 กม. จากแผนงาน 567.34 กม.
จำนวนราง2
รางกว้างรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน: 1.435 เมตร
รถไฟฟ้าชานเมือง: 1.000 เมตร
การจ่ายไฟฟ้ารางที่สาม และ จ่ายไฟเหนือหัว
ความเร็วสูงสุดรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน: 80 กม./ชม.
รถไฟฟ้าชานเมือง: 160 กม./ชม.

รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล หรือ โครงข่ายระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในกรุงเทพมหานครและพื้นที่ต่อเนื่อง เป็นระบบขนส่งมวลชนแบบรางในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล เริ่มเปิดให้บริการเป็นครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2542 ในเส้นทางหมอชิต - อ่อนนุชและสนามกีฬาแห่งชาติ - สะพานตากสิน โดยในปัจจุบันมีรถไฟฟ้าที่เปิดให้บริการแล้วทั้งสิ้น 5 สาย 77 สถานี ครอบคลุมระยะทางกว่า 112 กิโลเมตร*[1]

ประวัติ

รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลอยู่ภายใต้ โครงข่ายระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในกรุงเทพมหานครและพื้นที่ต่อเนื่อง ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ โครงการแผนแม่บท การขนส่งมวลชนระบบรางในเขตกรุงเทพมหานคร และพื้นที่ต่อเนื่อง ซึ่ง สำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.) ได้รับมอบหมายจากคณะรัฐมนตรีในปี พ.ศ. 2541 ให้เร่งดำเนินงาน โดยร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอันได้แก่ การรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) กรุงเทพมหานคร (กทม.) และ สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ กระทรวงการคลัง (สบน.) ปรับแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนในกรุงเทพมหานครเดิม ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ จากความล้มเหลวของโครงการโฮปเวลล์และวิกฤตเศรษฐกิจในปี พ.ศ. 2540

รูปแบบโครงการ

จากการคาดการณ์การเจริญเติบโตของเมืองในระยะนั้น ๆ และแผนงบประมาณ สำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.) จึงแบ่งการดำเนินโครงการออกเป็น 3 ระยะ คือ

  • ระยะที่ 1 (ปี 2545-2554) เป็นระยะของการปรับตัวพัฒนา เพื่อการขนส่งภายในเมืองทั้งระบบ
  • ระยะที่ 2 (ปี 2555-2564) เป็นระยะของการพัฒนาใหม่ที่ยั่งยืน เพื่อเปิดให้บริการเป็นเส้นรอบวง กระจายผู้โดยสารในเมืองอย่างทั่วถึง
  • ระยะที่ 3 (หลังปี 2564) เป็นการพัฒนาระยะยาว เปิดเส้นทางสู่ย่านชานเมือง และรองรับผู้โดยสารจากชานเมืองเข้าสู่ในเมือง
  • โดยเริ่มแรกโครงการมี 9 สายต่อมาได้ขยายออกไปเป็น 12 สาย มีแผนที่จำลองทั้งฉบับภาษาไทยและภาษาอังกฤษ

ประวัติโครงการ

การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2543 ซึ่งได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2543 โดยมีผลบังคับใช้ในวันที่ 2 ธันวาคม 2543 เพื่อเป็นหน่วยงานหลักในการรับผิดชอบการดำเนินกิจการรถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล รวมทั้งกิจการรถไฟฟ้าในจังหวัดอื่น [2]

ในปีงบประมาณ 2543 การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) ได้จัดทำรายงานผลการดำเนินงานโครงการและแผนงานในอนาคตซึ่งรายงานผลการดำเนินงานในปีงบประมาณ 2543 ของ รฟม. (ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2542 - กันยายน 2543) ประกอบด้วย ผลการดำเนินงานตามแผนวิสาหกิจ รวม 2 โครงการ 5 แผนงาน ได้แก่โครงการรถไฟฟ้ามหานครสายเฉลิมรัชมงคล โครงการรถไฟฟ้าสายสีน้ำเงิน ช่วงหัวลำโพง - บางแค และช่วงบางซื่อ - สะพานพระนั่งเกล้า และโครงการรถไฟฟ้าสายสีส้ม ช่วงบางกะปิ - ราษฎร์บูรณะ [3]

ในปีงบประมาณ 2545 คณะรัฐมนตรีอนุมัติตามที่สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีเสนอให้การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) กู้เงินเพื่อชำระคืนเงินกู้เดิม จำนวน 1,400 ล้านบาท และปีงบประมาณ 2546 จำนวน 2,000 ล้านบาท และเงินเยน จำนวน 718.560 ล้านเยน โดยรัฐบาลเป็นผู้รับภาระดอกเบี้ยเงินกู้ ในช่วงปีงบประมาณ 2545 และ 2546 ระหว่างดำเนินการก่อสร้างโครงการรถไฟฟ้ามหานครสายเฉลิมรัชมงคล รฟม. ยังไม่มีรายได้แต่ต้องรับภาระชำระคืนต้นเงินกู้ค่าก่อสร้างและค่าที่ปรึกษาโครงการรถไฟฟ้ามหานครสายเฉลิมรัชมงคล [4]-->

ลำดับเหตุการณ์การพัฒนา

รายชื่อสายรถไฟฟ้า

ระบบเส้นทาง

ชื่อระบบ เปิดให้บริการครั้งแรก จำนวนเส้นทาง
ในปัจจุบัน
ระยะทาง
ในปัจจุบัน
จำนวนสถานี
ในปัจจุบัน
ผู้ให้บริการ
ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2542 2 38.69[4] 35*[5] BTSC / KT
รถไฟฟ้ามหานคร พ.ศ. 2547 2 43 35 BEM
รถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ พ.ศ. 2553 1 28.6 8 SRTET

* นับสถานีสยามซึ่งเป็นจุดเชื่อมต่อของทั้งสองสายเป็นสถานีเดียว

สายที่ให้บริการในปัจจุบัน

สาย ระบบ จำนวนสถานี ระยะทาง สถานีปลายทาง จำนวนผู้โดยสาร
ต่อวัน
(คน)
ปีที่เปิดให้บริการ
ส่วนแรก ส่วนต่อขยายล่าสุด
  สายเฉลิมพระเกียรติฯ 1 (สุขุมวิท) รถไฟฟ้าบีทีเอส 22[6] 24.02 km (14.93 mi)[7] หมอชิตแบริ่ง รวมกัน
900,000[8]
พ.ศ. 2542 พ.ศ. 2554
  สายเฉลิมพระเกียรติฯ 2 (สีลม) 13 14.67 km (9.12 mi) สนามกีฬาแห่งชาติ ↔ บางหว้า พ.ศ. 2556
  สายเฉลิมรัชมงคล รถไฟฟ้ามหานคร 18[9] 20 km (12 mi)[10] หัวลำโพงบางซื่อ 280,000[11] พ.ศ. 2547
  สายฉลองรัชธรรม 16 23 km (14 mi) คลองบางไผ่ ↔ เตาปูน 22,000[12] พ.ศ. 2559
  แอร์พอร์ตเรลลิงก์ แอร์พอร์ตเรลลิงก์ 8 28.6 km (17.8 mi) พญาไทสุวรรณภูมิ 65,000[13] พ.ศ. 2553
รวมทั้งหมด 110.29 km (68.53 mi)


สายที่กำลังก่อสร้าง/เตรียมเปิดประมูล

ชื่อสาย ระบบ เริ่มสร้าง เปิดบริการ จำนวนสถานี ระยะทาง (กม.) สถานีปลายทาง ผู้ให้บริการ
rowspan="3" width="3" bgcolor=แม่แบบ:BTS color | สายเฉลิมรัชมงคล ส่วนต่อขยาย รถไฟฟ้ามหานคร กุมภาพันธ์ 2560[14] 9 สิงหาคม 2560
(ชั่วคราว)[2]
1[2] 1[2] บางซื่อ - เตาปูน[2] BEM / MRTA
2554 2562
(เป็นทางการ)
9 10.8 เตาปูน - ท่าพระ
14 15.9 หัวลำโพง - พุทธมณฑลสาย 4
rowspan="1" width="3" bgcolor=แม่แบบ:BTS color | สายฉลองรัชธรรม ส่วนต่อขยาย 2561 2561 - 2566[15][16] 17 23.6 เตาปูน - ราษฎร์บูรณะ
width="3" bgcolor=แม่แบบ:BTS color | สายสีส้ม มิถุนายน 2560[16] 28 35.4 ตลิ่งชัน - สุวินทวงศ์
rowspan="2" width="3" bgcolor=แม่แบบ:BTS color | สายเฉลิมพระเกียรติฯ 1 (สุขุมวิท) ส่วนต่อขยาย รถไฟฟ้ามหานคร / ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานคร 2555 9 13 แบริ่ง - เคหะสมุทรปราการ BTSC / KT / MRTA
2558 16 19 หมอชิต - คูคต
width="3" bgcolor=แม่แบบ:BTS color | สายสีแดงเข้ม รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดง 2556 16 53.3 รังสิต - กลางบางซื่อ - หัวลำโพง SRT / SRTET
width="3" bgcolor=แม่แบบ:BTS color | สายสีแดงอ่อน 2552 18 46 ศาลายา - ตลิ่งชัน - กลางบางซื่อ - พญาไท - มักกะสัน - หัวหมาก
width="3" bgcolor=แม่แบบ:BTS color | สายท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ 2561[17] 2564[18] 6 20.7 พญาไท - บางซื่อ - ดอนเมือง

สรุปแผนพัฒนา

สาย รูปแบบ ช่วงกว้างราง ยาว (กม.) จำนวนสถานี สถานะ และ แผนพัฒนา เจ้าของโครงการ
  สีแดงเข้ม ชานเมือง Meter Gauge (1.000 m.) 80.8
บ้านภาชี – ม.ธรรมศาสตร์ศูนย์รังสิต 28 ? ภายในปี พ.ศ. 2565 รฟท.
ม.ธรรมศาสตร์ศูนย์รังสิต – รังสิต 10.3 3 ภายในปี พ.ศ. 2565
รังสิต – บางซื่อ 26 10 กำลังก่อสร้าง
บางซื่อ – หัวลำโพง 6.5 6 ภายในปี พ.ศ. 2563
หัวลำโพง – บางบอน 36.3 10 ภายในปี พ.ศ. 2572
บางบอน – มหาชัย 20.3 7 ภายในปี พ.ศ. 2572
  สีแดงอ่อน ชานเมือง Meter Gauge (1.000 m.) 58.5
ศาลายา – ตลิ่งชัน 14.0 4 ภายในปี พ.ศ. 2564
ตลิ่งชัน – บางซื่อ 15.0 5 เปิดให้บริการ พ.ศ. 2561 รฟท.
บางซื่อ – พญาไท – มักกะสัน 9.0 5 ภายในปี พ.ศ. 2563
มักกะสัน – หัวหมาก 10.0 3 ภายในปี พ.ศ. 2563
มักกะสัน – บางบำหรุ 10.5 5
  แอร์พอร์ตเรลลิงก์ Standard Gauge (1.435 m.) 49.5
สุวรรณภูมิ – พญาไท 28.5 8 เปิดให้บริการ เมื่อ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2553 รฟท.
พญาไท – บางซื่อ 7.8 1-2 ภายในปี พ.ศ. 2564 ขยายไปดอนเมือง
บางซื่อ - ดอนเมือง 14 3
  สีเขียวเข้ม รถไฟฟ้ายกระดับ Standard Gauge (1.435 m.) 66.5
วงแหวนรอบนอกตะวันออก – คูคต 6.5 4 ภายในปี พ.ศ. 2565
หมอชิต – คูคต 18.4 16 กำลังก่อสร้าง รฟม.
หมอชิต – อ่อนนุช 16.5 17 เปิดให้บริการ เมื่อ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2542 กทม.
อ่อนนุช – แบริ่ง 5.3 5 เปิดให้บริการ เมื่อ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2554
อุดมสุข – สุวรรณภูมิ ~16 10 รอการก่อสร้างอาคารผู้โดยสาร 2 ของท่าอากาศยานฯ
ธนาซิตี้ - วัดศรีวาน้อย ~4 2
แบริ่ง – เคหะสมุทรปราการ 12.8 9 กำลังก่อสร้าง รฟม.
เคหะสมุทรปราการ – บางปู 7.0 4 ภายในปี พ.ศ. 2565
  สีเขียวอ่อน รถไฟฟ้ายกระดับ Standard Gauge (1.435 m.) 22.5
ตลิ่งชัน – บางหว้า 7 6 ภายในปี พ.ศ. 2564 กทม.
บางหว้า – วงเวียนใหญ่ 5.3 4 เปิดให้บริการ ครบทั้งเส้นทางเมื่อ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2556
วงเวียนใหญ่ – สะพานตากสิน 2.2 2 เปิดให้บริการ เมื่อ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2552
สะพานตากสิน – สนามกีฬาแห่งชาติ 7.0 7 เปิดให้บริการ เมื่อ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2542
สนามกีฬาแห่งชาติ – ยศเส 1.0 1 ภายในปี พ.ศ. 2564
  สีน้ำเงิน รถไฟฟ้าใต้ดินและยกระดับ Standard Gauge (1.435 m.) 55.0
ท่าพระ – บางซื่อ 13.0 10 กำลังก่อสร้าง รฟม.
บางซื่อ – หัวลำโพง 20.0 18 เปิดให้บริการ เมื่อ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2547
หัวลำโพง – ท่าพระ – หลักสอง 14.0 10 กำลังก่อสร้าง
หลักสอง – พุทธมณฑลสาย 4 8.0 4 ภายในปี พ.ศ. 2564
  สีม่วง รถไฟฟ้าใต้ดินและยกระดับ Standard Gauge (1.435 m.) 42.8
คลองบางไผ่ – เตาปูน 23.0 16 เปิดให้บริการ เมื่อ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2559 รฟม.
เตาปูน – ครุใน 19.8 16 ภายในปี พ.ศ. 2565
  สีส้ม รถไฟฟ้าใต้ดินและยกระดับ Standard Gauge (1.435 m.) 37.5
บางขุนนนท์ – ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย 17.5 13 ภายในปี พ.ศ. 2565 (ช่วงตลิ่งชัน – บางขุนนนท์ ยกเลิกเมื่อ กรกฎาคม พ.ศ. 2554)
ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย – บางกะปิ 9.0 6
บางกะปิ – สุวินทวงศ์ 11.0 8
  สีชมพู 36
ศูนย์ราชการนนทบุรี – ปากเกร็ด 6.0 5 ภายในปี พ.ศ. 2563
ปากเกร็ด – หลักสี่ 12.0 9
หลักสี่ – วงแหวนรอบนอก 10.5 5
วงแหวนรอบนอก – มีนบุรี 7.5 5
  สีเหลือง 30.4
รัชดา-ลาดพร้าว – พัฒนาการ 12.6 10 ภายในปี พ.ศ. 2563
พัฒนาการ – สำโรง 17.8 11
  สีทอง 21
กรุงธนบุรี – ประชาธิปก 2.7 4 ภายในปี พ.ศ. 2566
  สีน้ำตาล 21
ศูนย์ราชการนนทบุรี – สัมมากร 21 23 ภายในปี พ.ศ. 2568
  สีเทา 26.0
วัชรพล – ลาดพร้าว 8.0 5 ภายในปี พ.ศ. 2563
ลาดพร้าว – พระราม 4 12.0 10
พระราม 4 – สะพานพระราม 9 6.0 6
  สีฟ้า
ดินแดง – สาธร 9.5 9 ภายในปี พ.ศ. 2572 ยกเลิกเมื่อ สิงหาคม พ.ศ. 2554 (อยู่ระหว่างการฟื้นฟูโครงการ)

ข้อมูลทางเทคนิค

ระบบปฏิบัติการเดินรถ

ระบบรถไฟฟ้า

เส้นทาง รุ่น ผู้ผลิต ผลิตใน ปีที่นำเข้าครั้งแรก ปีที่นำเข้าครั้งล่าสุด ภาพ
rowspan="3" width="5" bgcolor=แม่แบบ:BTS color | รถไฟฟ้าบีทีเอส (สายสุขุมวิท และ สายสีลม) ซีเมนส์ โมดูลาร์ เมโทร ซีเมนส์  เยอรมนี พ.ศ. 2542 พ.ศ. 2555
ซีเมนส์ อินสไปโร พ.ศ. 2561 ไฟล์:Bts new train.jpg
บอมบาร์ดิเอร์โมเวีย ฉางชุน  จีน พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2556
bgcolor=แม่แบบ:BTS color | รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ซีเมนส์ โมดูลาร์ เมโทร ซีเมนส์  เยอรมนี พ.ศ. 2547
bgcolor=แม่แบบ:BTS color | รถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ซีเมนส์ เดซิโร คลาส 360 ซีเมนส์  เยอรมนี พ.ศ. 2550 พ.ศ. 2559[19] ไฟล์:Airport Rail link - city.jpg
bgcolor=แม่แบบ:BTS color | รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม เจเทรค ซัสติน่า มารุเบนิ/โตชิบา  ญี่ปุ่น พ.ศ. 2558[20] ไฟล์:MRT Purple Line.jpg
bgcolor=แม่แบบ:BTS color | รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดง (สายสีแดงเข้ม และ สายสีแดงอ่อน) ฮิตาชิ[21] ซูมิโตโม คอร์ปอเรชั่น/มิตซูบิชิเฮฟวีอินดัสทรีส์[22]  ญี่ปุ่น พ.ศ. 2562[23] ไฟล์:Bangkok-red-line-2.jpg

บัตรโดยสารและค่าบริการ

รถไฟฟ้าบีทีเอส

รถไฟฟ้ามหานคร

รถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

รถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ มีการจัดเก็บค่าโดยสารทั้งหมดสองแบบ ดังต่อไปนี้

  • รถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (สายซิตี้ไลน์) ใช้วิธีการเก็บค่าโดยสารเป็นรายสถานี เริ่มต้น 15 บาท เพิ่มขึ้นสถานีละ 5 บาท ตามจำนวนสถานีที่เดินทางจริง ค่าโดยสารสูงสุดอยู่ที่ 45 บาท สำหรับโดยสารจาก สถานีพญาไท-สถานีสุวรรณภูมิ หรือ สถานีสุวรรณภูมิ-สถานีพญาไท โดยผู้โดยสารจะได้รับเหรียญโดยสารหรือโทเคนเดินทางเป็นสีแดง
  • รถไฟฟ้าด่วนเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (สายเอ็กซ์เพรสไลน์) คิดค่าโดยสารเที่ยวละ 150 บาทต่อเที่ยว (ปัจจุบันลดค่าโดยสารเหลือ 90 บาท) โดยผู้โดยสารจะได้รับคูปองพิเศษกรณีเดินทางจากสถานีพญาไทหรือสถานีสุวรรณภูมิไปสถานีพญาไท สำหรับใช้ยื่นขอออกพื้นที่ชำระเงินที่สถานีปลายทาง หรือเหรียญโดยสารหรือโทเคนเดินทางเป็นสีน้ำเงินกรณีเดินทางมาจากหรือลงปลายทางที่สถานีมักกะสัน กรณีเดินทางจากสถานีมักกะสัน ผู้โดยสารจะต้องหยอดเหรียญเข้าระบบตั้งแต่สถานีมักกะสัน ซึ่งเมื่อถึงปลายทางก็สามารถเดินออกจากระบบได้ทันที ส่วนกรณีเดินทางจากสถานีพญาไท ผู้โดยสารจะต้องยื่นคูปองให้กับเจ้าหน้าที่ที่สถานีสุวรรณภูมิเพื่อออกจากระบบ ส่วนกรณีเดินทางจากท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ผู้โดยสารสามารถเดินเข้าระบบได้ทันทีโดยไม่ต้องชำระค่าโดยสาร และเลือกเส้นทางในการเดินทางได้สองเส้นทางคือเส้นทางพญาไท-สุวรรณภูมิ หรือ มักกะสัน-สุวรรณภูมิ จากนั้นค่อยไปชำระค่าโดยสารที่สถานีปลายทางได้ (กรณีเดินทางไปพญาไท ผู้โดยสารจะต้องติดต่อซื้อคูปองก่อนเข้าระบบเพื่อใช้ในการออกจากระบบที่สถานีพญาไท)

นอกจากนี้ รถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ยังได้มีการจัดทำค่าโดยสารพิเศษสำหรับผู้โดยสารที่เป็น นักเรียน นักศึกษา ผู้สูงอายุ หรือพนักงานภายในท่าอากาศยานสุวรรณภูมิเพิ่มเติม ผ่านบัตรเออาร์แอล สมาร์ทพาส ดังนี้

  • สติวเดนท์สมาร์ทพาส - ลดค่าโดยสารลง 20% จากค่าโดยสารปกติ โดยจะออกบัตรโดยสารให้กับนักเรียน หรือ นักศึกษา ที่มีอายุไม่เกิน 23 ปี หรือศึกษาในระดับไม่เกินปริญญาตรี
  • ซีเนียร์สมาร์ทพาส - ลดค่าโดยสารลง 20% จากค่าโดยสารปกติ โดยจะออกบัตรโดยสารให้กับผู้สูงอายุ ที่มีอายุเกิน 60 ปี โดยยึดถือวันเกิดจากหน้าบัตรประชาชน
  • สุวรรณภูมิแคร์เรียร์ เอ็กซ์เพรส สมาร์ทพาส - ลดค่าโดยสารของรถไฟฟ้าด่วนเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (สายเอ็กซ์เพรสไลน์) จากมักกะสัน-ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ หรือจากพญาไท-ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ จากค่าโดยสารปกติที่ 150 บาท เป็น 45 บาทต่อเที่ยว โดยจะออกบัตรโดยสารให้กับพนักงานสายการบินภายในประเทศทุกสายการบิน พนักงานภายในท่าอากาศยานสุวรรณภูมิทุกตำแหน่ง พนักงานภาคเอกชนที่มีพื้นที่รับผิดชอบภายในท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ และพนักงาน บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) เท่านั้น

รถไฟฟ้าชานเมือง

แผนที่

รถไฟฟ้าสายที่เปิดให้บริการแล้วและที่กำลังก่อสร้าง

รถไฟฟ้าเมื่อครบทุกสาย

แผนที่แบบอื่นๆ

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. *หมายเหตุ: สำหรับรถไฟฟ้าสายสีแดงอ่อน บางซื่อ-ตลิ่งชัน นั้น แม้ว่าโครงสร้างพื้นฐานจะสร้างเสร็จสมบูรณ์แล้วแต่ยังไม่เปิดให้บริการ จึงนับเฉพาะเส้นทางรถไฟฟ้าที่เปิดให้บริการในปัจจุบัน
  2. 2.0 2.1 2.2 2.3 2.4 "ดีเดย์! เปิดเดินรถสถานีเตาปูน-บางซื่อ 9 ส.ค.นี้". กรุงเทพธุรกิจ. 7 Feb 2017. สืบค้นเมื่อ 7 Feb 2017.
  3. http://news.voicetv.co.th/business/464370.html
  4. https://www.thansettakij.com/2016/07/14/70337
  5. https://www.thansettakij.com/2016/07/14/70337
  6. https://www.thansettakij.com/2016/07/14/70337
  7. https://www.thansettakij.com/2016/07/14/70337
  8. http://www.thansettakij.com/2016/05/17/52501
  9. http://www.posttoday.com/local/bkk/470584
  10. M.R.T. Chaloem Ratchamongkhon Line Mass Rapid Transit Authority of Thailand. 2014
  11. PCL., Post Publishing. "ช.การช่างต่อรองชดเชยรายได้ หวั่นสายสีน้ำเงินผู้โดยสารน้อย". สืบค้นเมื่อ 2017-01-15.
  12. PCL., Post Publishing. "จับตา...รถไฟฟ้าชานเมือง หวั่นซ้ำรอยสีม่วง "เขียวปากน้ำ" คนนั่งไม่ถึงแสน". สืบค้นเมื่อ 2017-01-27.
  13. [1]
  14. http://www.siamturakij.com/news/8068-%E0%B8%A3%E0%B8%9F%E0%B8%A1-%E0%B9%81%E0%B8%88%E0%B8%87%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B9%87%E0%B8%88%E0%B8%88%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%87-%E0%B8%A3%E0%B8%96%E0%B9%84%E0%B8%9F%E0%B8%9F%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%AA%E0%B8%B5%E0%B8%A1%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B8%87%E0%B8%A1%E0%B8%B5%E0%B8%9C%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B9%83%E0%B8%8A%E0%B9%89%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%A2-%E0%B9%81%E0%B8%9A%E0%B8%81%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%82%E0%B8%B2%E0%B8%94%E0%B8%97%E0%B8%B8%E0%B8%99%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%99-6-%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%99
  15. http://www.thansettakij.com/2016/12/24/120865
  16. 16.0 16.1 ""สมคิด" ไล่บี้ PPP เมกะโปรเจ็กต์ ดูดเงินเอกชนร่วมลงทุน รถไฟฟ้า-มอเตอร์เวย์-ไฮสปีดเทรน". กรุงเทพธุรกิจ. 14 Feb 2017. สืบค้นเมื่อ 14 Feb 2017.
  17. http://www.posttoday.com/property/mrt/news/482692
  18. http://www.dailynews.co.th/economic/328206
  19. http://thaipublica.org/2016/10/airport-rail-link-5-10-2559/
  20. http://www.thairath.co.th/content/534260
  21. http://www.hitachi.com.sg/press/docs/20160330.pdf
  22. http://www.railwaygazette.com/news/news/asia/single-view/view/bangkok-projects-approved.html
  23. http://www.railwaygazette.com/news/news/asia/single-view/view/bangkok-projects-approved.html

แหล่งข้อมูล