ขบวนรถชานเมือง (การรถไฟแห่งประเทศไทย)
บทความนี้ไม่มีการอ้างอิงจากแหล่งที่มาใด |
บทความนี้เกี่ยวกับขบวนชานเมืองของรถไฟดีเซลราง สำหรับรถไฟฟ้าชานเมือง ดูที่ รถไฟฟ้าชานเมือง สายสีแดง
ป้ายหยุดรถไฟพระจอมเกล้า ให้บริการขบวนรถชานเมืองในสายตะวันออก | |
ข้อมูลทั่วไป | |
---|---|
เจ้าของ | การรถไฟแห่งประเทศไทย |
ที่ตั้ง | ![]() |
ประเภท | รถไฟชานเมือง |
จำนวนสาย | 4 |
การให้บริการ | |
ผู้ดำเนินงาน | การรถไฟแห่งประเทศไทย |
ข้อมูลทางเทคนิค | |
ระยะทาง | 703.57 กิโลเมตร |
รางกว้าง | 1,000 mm (3 ft 3 3⁄8 in) |
การจ่ายไฟฟ้า | ปัจจุบัน: ใช้รถดีเซลรางหรือรถจักรลากจูง อนาคต: 25 kV AC จ่ายไฟเหนือหัว |
ความเร็วสูงสุด | 100 กิโลเมตรต่อชั่วโมง |
ขบวนรถชานเมือง เป็นขบวนรถประเภทหนึ่งของการรถไฟแห่งประเทศไทย ให้บริการในสายเหนือ สายตะวันออกเฉียงเหนือ สายใต้ และสายตะวันออก โดยถือเป็นระบบรถไฟชานเมืองในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล รัศมีโดยรอบไม่เกิน 150 กิโลเมตร[1] ขบวนรถชานเมืองจะจอดทุกสถานีและป้ายหยุดรถ รหัสเลขขบวนรถเป็นเลขสามหลัก ขึ้นต้นด้วยเลข 3 และ 4 และใช้ทางวิ่งร่วมกับรถไฟทางไกลและรถไฟสินค้า ทางส่วนใหญ่เป็นทางคู่
เส้นทางที่ให้บริการ[แก้]
เส้นทางที่ให้บริการ | สถานีปลายทาง | ระยะทาง | ขนาดความกว้างรางรถไฟ | จำนวนเที่ยวรถ (ไป-กลับ) |
---|---|---|---|---|
สายเหนือ | กรุงเทพ–ลพบุรี | 132.81 กิโลเมตร | 1,000 mm (3 ft 3 3⁄8 in) | 14 ขบวน |
สายตะวันออกเฉียงเนือ | กรุงเทพ-ชุมทางแก่งคอย-ชุมทางบัวใหญ่ | 125.10 กิโลเมตร | 6 ขบวน | |
สายตะวันออก | กรุงเทพ–ฉะเชิงเทรา–ลพบุรี | 121.78 กิโลเมตร | 18 ขบวน | |
สายใต้ | ธนบุรี–ศาลายา–ธนบุรี | 101.31 กิโลเมตร | 12 ขบวน | |
กรุงเทพ–สุพรรณบุรี
ราชบุรี-ธนบุรี-ราชบุรี ประจวบคีรีขันธ์- ธนบุรี-ประจวบคีรีขันธ์ หลังสวน-ธนบุรี หลังสวน นำตก-ธนบุรี-นำตก |
157.60 กิโลเมตร[2] | 2 ขบวน |
ชนิดรถที่ให้บริการ[แก้]
ปัจจุบัน[แก้]
รหัสรุ่น | ผู้ผลิต | เลขที่ | ผลิตเมื่อ | จำนวนคัน | แรงม้า | ความเร็วสูงสุด (กิโลเมตรต่อชั่วโมง) | ภาพ | หมายเหตุ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
THN | ทีเอชเอ็น | 1101–1140 | พ.ศ. 2526 | 40 | 235 | 110 | ![]() |
บางส่วนวิ่งในขบวนรถชานเมืองสายเหนือ, สายตะวันออกเฉียงเหนือ, สายตะวันออก, สายใต้ |
NKF | เอ็นเคเอฟ | 1201–1264, 2101-2112 (ไม่มีห้องขับ) | พ.ศ. 2528 | 64 | 235 | 110 | ![]() |
บางส่วนวิ่งในขบวนรถชานเมืองสายเหนือ, สายตะวันออกเฉียงเหนือ, สายตะวันออก, สายใต้ และสายแม่กลอง |
ATR/ATC | เอทีอาร์/เอทีซี | 2101-2112 (ไม่มีห้องขับ) | พ.ศ. 2528 | 12 | 235 | 110 | ![]() |
พ่วงในขบวนรถชานเมืองสายตะวันออก และสายแม่กลองบางขบวน[3] |
ในอดีต[แก้]
รหัสรุ่น | ผู้ผลิต | เลขที่ | ผลิตเมื่อ | จำนวนคัน | แรงม้า | ความเร็วสูงสุด (กิโลเมตรต่อชั่วโมง) | ภาพ | หมายเหตุ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
RHN | ฮิตะชิ | 1011-1048 (รถกำลัง) 11-48 (รถพ่วง) |
พ.ศ. 2510 | 38+38 | 220×2 | 90 | ![]() |
เคยวิ่งในขบวนรถชานเมืองสายเหนือ, สายตะวันออกเฉียงเหนือ, สายตะวันออก, สายใต้ และสายแม่กลอง ปัจจุบันวิ่งในขบวนรถธรรมดาสายตะวันออกเฉียงเหนือ |
RTS | โตกิว | D9-D16 (รถกำลัง) TS4-TS7 (รถพ่วง) |
พ.ศ. 2514 | 8+4 | 220 | 70 | ![]() |
เคยวิ่งในขบวนรถชานเมืองหลายสาย ปัจจุบันปลดประจำการ จอดทิ้งอยู่ที่สถานีรถไฟมาบกะเบา |
ASR | สปรินเทอร์ | 2501–2512, (ไม่มีห้องขับ) 2113-2120 | พ.ศ. 2534 | 12+8 | 285 | 120 | ![]() |
เคยวิ่งในขบวนรถชานเมืองสายตะวันออก ปัจจุบันวิ่งในขบวนรถไฟระหว่างเมือง |
APD.20 และ APD.60 | แดวู | 2513-2544, 2121-2128 (ไม่มีห้องขับ) | พ.ศ. 2538 | 30+8 | 350 | 160 | ![]() |
เคยวิ่งในขบวนรถชานเมืองสายตะวันออก[4] และสายใต้[5] ปัจจุบันวิ่งในขบวนรถไฟระหว่างเมือง |
ขบวนรถที่ให้บริการในปัจจุบัน[แก้]
สายเหนือ[แก้]
รหัสขบวนรถ | สถานีปลายทาง | ลักษณะขบวนรถ | วันที่ทำการเดินรถ | เลขขบวนเที่ยวกลับ |
---|---|---|---|---|
301/302 | กรุงเทพ–ลพบุรี-กรุงเทพ | รถดีเซลราง | วันเสาร์-วันอาทิตย์และวันหยุดราชการ | 302 |
303/304 | กรุงเทพ–ลพบุรี-กรุงเทพ | รถดีเซลราง | วันจันทร์-วันศุกร์ (ที่ไม่ใช่วันหยุดราชการ) | 304 (เดินรถทุกวัน) |
311/312 | กรุงเทพ–รังสิต-กรุงเทพ | รถดีเซลราง | วันธรรมดา | 376 (รังสิต–หัวตะเข้ ผ่านสามเหลี่ยมจิตรลดา) |
313/314 | กรุงเทพ–ชุมทางบ้านภาชี | รถดีเซลราง | วันจันทร์-วันศุกร์ (ที่ไม่ใช่วันหยุดราชการ) | 314 |
317/318 | กรุงเทพ–ลพบุรี-กรุงเทพ | รถดีเซลราง | วันจันทร์-วันศุกร์ (ที่ไม่ใช่วันหยุดราชการ) | 318 |
สายตะวันออกเฉียงเหนือ[แก้]
รหัสขบวนรถ | สถานีปลายทาง | ลักษณะขบวนรถ | วันที่ทำการเดินรถ | เลขขบวนเที่ยวกลับ |
---|---|---|---|---|
339/340 | กรุงเทพ–ชุมทางแก่งคอย-ชุมทางบัวใหญ่-กรุงเทพ | รถดีเซลราง | วันจันทร์-วันศุกร์ (ที่ไม่ใช่วันหยุดราชการ) | 340 |
341/342 | กรุงเทพ–ชุมทางแก่งคอย-ชุมทางบัวใหญ่-กรุงเทพ | รถดีเซลราง | ทุกวัน | 342 |
สายตะวันออก[แก้]
รหัสขบวนรถ | สถานีปลายทาง | ลักษณะขบวนรถ | วันที่ทำการเดินรถ | เลขขบวนเที่ยวกลับ |
---|---|---|---|---|
367/368 | กรุงเทพ–ชุมทางฉะเชิงเทรา-กรุงเทพ | รถดีเซลราง | ทุกวัน | 368 |
371/372 | กรุงเทพ–ปราจีนบุรี-กรุงเทพ | รถดีเซลราง | ทุกวัน | 372 |
376/377 | รังสิต–หัวตะเข้-รังสิต | รถดีเซลราง | วันจันทร์-วันศุกร์ (ที่ไม่ใช่วันหยุดราชการ) | 378 |
379/380 | กรุงเทพ–หัวตะเข้-กรุงเทพ | รถดีเซลราง | วันจันทร์-วันศุกร์ (ที่ไม่ใช่วันหยุดราชการ) | 380 |
383/384 | กรุงเทพ–ชุมทางฉะเชิงเทรา-ลพบุรี-กรุงเทพ | รถดีเซลราง | ทุกวัน | 384 |
389/390 | กรุงเทพ–ชุมทางฉะเชิงเทรา-กรุงเทพ | รถดีเซลราง | ทุกวัน | 390 |
391/392 | กรุงเทพ–ชุมทางฉะเชิงเทรา-ลพบุรี-กรุงเทพ | รถดีเซลราง | ทุกวัน | 392 |
สายใต้[แก้]
รหัสขบวนรถ | สถานีปลายทาง | ลักษณะขบวนรถ | วันที่ทำการเดินรถ | เลขขบวนเที่ยวกลับ |
---|---|---|---|---|
351/352 | ธนบุรี–ราชบุรี-ธนบุรี | รถจักรลากจูงรถบชสชั้น3(อดีตใช้รถจักรไอนำ) | ทุกวัน | 352 |
355/356 | กรุงเทพ–สุพรรณบุรี-กรุงเทพ | รถดีเซลราง(อดีตใช้รถจักรไอนำและพ่วงรถบชสชั้น3) | ทุกวัน | 356 |
471/472 | ธนบุรี–ศาลายา-ธนบุรี | รถดีเซลราง | ทุกวัน | 472 |
473/474 | ธนบุรี–ศาลายา-ธนบุรี | รถดีเซลราง | ทุกวัน | 474 |
475/476 | ธนบุรี–ศาลายา-ธนบุรี | รถดีเซลราง | ทุกวัน | 476 |
477/478 | ธนบุรี–ศาลายา-ธนบุรี | รถดีเซลราง | ทุกวัน | 478 |
รถดีเซลราง ทุกวัน
ธนบุรี-หลังสวน-ธนบุรี(255/254)
ธนบุรี-นครปฐม-ธนบุรี(322/323) หมายเหตุขบวนนี้จัดเดินวันที่12พฤษภาคม2563 เท่านั้น |
รถจักรลากจูงตู้บสช ชั้น3
รถดีเซลราง |
ทุกวัน
|
|
ดูเพิ่ม[แก้]
อ้างอิง[แก้]
- ↑ "ประเภทขบวนรถ". การรถไฟแห่งประเทศไทย. สืบค้นเมื่อ 7 October 2020.[ลิงก์เสีย]
- ↑ นับจากสถานีกรุงเทพ ให้บวกเพิ่มอีก 16
- ↑ ขบวน 385/386 กรุงเทพ-ฉะเชิงเทรา-กรุงเทพ ใช้ชุดรถของขบวน 73/72
- ↑ ขบวน 389 กรุงเทพ - ฉะเชิงเทรา
- ↑ ปั่นแปะ ย้อนอดีตสถานีสุพรรรณบุรี
แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]
- เว็บไซต์ทางการของการรถไฟแห่งประเทศไทย เก็บถาวร 2020-10-09 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
หมวดหมู่:
- บทความที่มีลิงก์เสียตั้งแต่มกราคม 2023
- การขนส่งระบบรางในกรุงเทพมหานคร
- เส้นทางรถไฟในประเทศไทย
- การขนส่งสาธารณะในประเทศไทย
- การขนส่งระบบรางในจังหวัดปทุมธานี
- การขนส่งระบบรางในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
- การขนส่งในจังหวัดสระบุรี
- การขนส่งในจังหวัดลพบุรี
- การขนส่งในจังหวัดฉะเชิงเทรา
- การขนส่งระบบรางในจังหวัดนครปฐม
- การขนส่งในจังหวัดราชบุรี
- การขนส่งในจังหวัดสุพรรณบุรี