สถานีปุณณวิถี

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ปุณณวิถี
E11

Punnawithi
ข้อมูลทั่วไป
ที่ตั้งถนนสุขุมวิท เขตพระโขนง กรุงเทพมหานคร
พิกัด13°41′20.11″N 100°36′33.16″E / 13.6889194°N 100.6092111°E / 13.6889194; 100.6092111พิกัดภูมิศาสตร์: 13°41′20.11″N 100°36′33.16″E / 13.6889194°N 100.6092111°E / 13.6889194; 100.6092111
เจ้าของกรุงเทพมหานคร
ผู้ให้บริการระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ (BTSC)
สาย
ชานชาลา2 ชานชาลาด้านข้าง
ราง2
โครงสร้าง
ประเภทโครงสร้างยกระดับ
ข้อมูลอื่น
รหัสสถานีE11
ประวัติ
เริ่มเปิดให้บริการ12 สิงหาคม พ.ศ. 2554; 12 ปีก่อน (2554-08-12)
ชื่อเดิมธรรมมงคล
ผู้โดยสาร
25641,548,031
การเชื่อมต่อ
สถานีก่อนหน้า รถไฟฟ้าบีทีเอส สถานีต่อไป
บางจาก
มุ่งหน้า คูคต
สายสุขุมวิท อุดมสุข
มุ่งหน้า เคหะฯ
ที่ตั้ง
Map
ภายนอกของสถานีปุณณวิถี

สถานีปุณณวิถี (อังกฤษ: Punnawithi Station, รหัส E11) เป็นสถานีรถไฟฟ้าบีทีเอสแบบยกระดับ ในเส้นทางสายสุขุมวิท ส่วนต่อขยายอ่อนนุช-แบริ่ง ยกระดับเหนือถนนสุขุมวิท กรุงเทพมหานคร[1] เป็นสถานีที่สองของโครงการส่วนต่อขยายสายสุขุมวิทของกรุงเทพมหานครจากสถานีอ่อนนุชถึงสถานีแบริ่ง จำนวน 5 สถานี ระยะทาง 5.52 กิโลเมตร

ที่ตั้ง[แก้]

ถนนสุขุมวิท บริเวณปากซอยสุขุมวิท 101 (ปุณณวิถี) และซอยสุขุมวิท 64 ในพื้นที่แขวงบางจาก และแขวงพระโขนงใต้ เขตพระโขนง กรุงเทพมหานคร

แผนผังของสถานี[แก้]

U3
ชานชาลา
ชานชาลาด้านข้าง, ประตูรถจะเปิดทางด้านซ้าย
ชานชาลา 1 สายสุขุมวิท มุ่งหน้า เคหะฯ (อุดมสุข)
ชานชาลา 2 สายสุขุมวิท มุ่งหน้า คูคต (บางจาก)
ชานชาลาด้านข้าง, ประตูรถจะเปิดทางด้านซ้าย
U2
ชั้นจำหน่ายบัตรโดยสาร
ชั้นจำหน่ายบัตรโดยสาร ทางออก 1-6, ศูนย์บริการผู้โดยสาร
ห้องจำหน่ายบัตรโดยสาร, เครื่องจำหน่ายบัตรโดยสาร, ร้านค้า
ทางเดินเชื่อม ทรู ดิจิทัล พาร์ค
G
ระดับถนน
- ป้ายรถประจำทาง, วัดธรรมมงคล, วัดวชิรธรรมสาธิตวรวิหาร,
โรงเรียนสหพาณิชย์, ซอยสุขุมวิท 101, 62/3

รูปแบบของสถานี[แก้]

เป็นแบบมีชานชาลาอยู่ 2 ข้าง (side platform station) ขนาดมาตรฐาน กว้างประมาณ 20 เมตร ยาวประมาณ 150 เมตร ประกอบด้วยชั้นจำหน่ายบัตรโดยสาร และชานชาลา ในส่วนหลังคาชานชาลามีการออกแบบให้ป้องกันฝนสาดและแดดส่อง โดยเชื่อมปิดหลังคาทั้งหมด

สิ่งอำนวยความสะดวก[แก้]

ลิฟต์ สำหรับผู้พิการและผู้สูงอายุ จากทางเท้าทั้ง 2 ฝั่งไปยังชั้นจำหน่ายบัตรโดยสาร และจากชั้นจำหน่ายบัตรโดยสารไปยังชั้นชานชาลาทั้ง 2 ฝั่ง

ทางเข้า-ออก[แก้]

  • 1 ร้านอาหารฮั่ว เซ่ง ฮง, ซอยสุขุมวิท 101 (ปุณณวิถี), เคซีจี กิมจั๊ว พาณิชย์, แมริออท เอ็กซ์คลูซีฟ อพาร์ตเมนท์ แบงค็อก สุขุมวิท 101 (บันไดเลื่อน)
  • 2 ซอยสุขุมวิท 62/3 (ลิฟต์) , โรงแรมคอนวีเนียน พาร์ค กรุงเทพ, เดอะรูม สุขุมวิท 62
  • 3 ร้านไปรษณีย์ไทย สุขุมวิท 101
  • 4 ซอยสุขุมวิท 64 (พงษ์เวชอนุสรณ์), โรงแรมสเปซี บีเคเค, โรงแรมอี 11 (บันไดเลื่อน)
  • 5 เคซีจี กิมจั๊ว พาณิชย์ (ลิฟต์)
  • 6 โรงเรียนนานาชาติแองโกลสิงคโปร์, ซอยสุขุมวิท 64 (พงษ์เวชอนุสรณ์), ทรู ดิจิทัล พาร์ค, คลาวด์ 11, ถนนวชิรธรรมสาธิต (ซอยสุขุมวิท 101/1) (ทางเดินเชื่อมสะพานลอย)

จุดรวมพลอยู่ที่ทางออก 2 หน้าเดอะรูม สุขุมวิท 62 และ ทางออก 4 บริเวณหน้าปากซอยสุขุมวิท 64 (พงษ์เวชอนุสรณ์)

เวลาให้บริการ[แก้]

ปลายทาง ขบวนแรก ขบวนสุดท้าย
สายสุขุมวิท[2]
ชานชาลาที่ 1
E23 เคหะฯ 05.49 00.22
E15 สำโรง 00.34
ชานชาลาที่ 2
N24 คูคต 05.23 23.40
N9 ห้าแยกลาดพร้าว 23.55

รถโดยสารประจำทาง[แก้]

องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ[แก้]

  • Handicapped/disabled access เส้นทางที่มีรถรองรับวีลแชร์
สายที่ เขตการเดินรถที่ จุดเริ่มต้น จุดสิ้นสุด ประเภทของรถที่ให้บริการ ผู้ให้บริการ หมายเหตุ
2 3
(กปด.13)
รถโดยสารประจำทาง อู่ปู่เจ้าสมิงพราย สํานักงานที่ดินกรุงเทพ รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ (ขสมก.) มีรถให้บริการตลอดคืน
2 3
(กปด.13)
รถโดยสารประจำทาง อู่ช้างเอราวัณ รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)
2 3
(กปด.13)
อู่เมกาบางนา BTS อุดมสุข/ศูนย์ประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ (ขสมก.)
23 3
(กปด.13)
เทเวศร์/ประตูนํ้า
23 3
(กปด.13)
อู่ปู่เจ้าสมิงพราย เทเวศร์ รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ (ขสมก.)
25 3
(กปด.33)
รถโดยสารประจำทาง อู่แพรกษาบ่อดิน ท่าช้าง รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ (ขสมก.) มีรถให้บริการทางด่วน
มีรถให้บริการตลอดคืน
25 3
(กปด.33)
รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)
45 3
(กปด.13)
รถโดยสารประจำทาง อู่ปู่เจ้าสมิงพราย ท่านํ้าสี่พระยา รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ (ขสมก.) มีรถให้บริการทางด่วน (ให้บริการเฉพาะชั่วโมงเร่งด่วน)
132 3
(กปด.33)
รถโดยสารประจำทาง เคหะบางพลี สะพานพระโขนง รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู) องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ (ขสมก.)
180 3
(กปด.33)
รถโดยสารประจำทาง อู่เมกาบางนา รถโดยสารประจำทาง อู่สาธุประดิษฐ์ รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ (ขสมก.)
508 3
(กปด.23)
รถโดยสารประจำทาง อู่ฟาร์มจระเข้สมุทรปราการ ท่าราชวรดิษฐ์ รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู) องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ (ขสมก.) มีรถให้บริการทางด่วน
511 Handicapped/disabled access 3
(กปด.23)
รถโดยสารประจำทาง อู่ฟาร์มจระเข้สมุทรปราการ รถโดยสารประจำทาง สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (สายใต้ใหม่) รถโดยสารประจำทางปรับอากาศใช้ก๊าซธรรมชาติ NGV องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ (ขสมก.) มีรถให้บริการทางด่วน
  • ถนนสุขุมวิท รถขสมก. สาย 2 23 25 45 180 501 508 511 รถเอกชน สาย 38 46 48 98 132 139

สถานที่สำคัญใกล้เคียง[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. "Memories of Thailand: A visit to Bangkok is on top of my post-pandemic travel list". Manila Bulletin (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). 2021-08-22. สืบค้นเมื่อ 2022-10-17.
  2. "เวลาให้บริการของรถไฟฟ้าบีทีเอส" (PDF). 2021-11-01. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2023-08-25.
  3. "Punnawithi station". Bangkok for visitors.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)