ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรงเรียนมัธยมดงยาง"

พิกัด: 13°46′05.27″N 100°36′53.60″E / 13.7681306°N 100.6148889°E / 13.7681306; 100.6148889
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BlackKoro (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Pup.rachan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{เพิ่มอ้างอิง}}
{{issues|โฆษณา=yes|ต้องการอ้างอิง=yes}} <!-- ต้องการอ้างอิงที่มาของข้อมูล และเข้าข่ายโฆษณาเป็นบางท่อน -->
{{เว็บย่อ |bd}}
{{กล่องข้อมูล โรงเรียน
{{กล่องข้อมูล โรงเรียน
| name = โรงเรียนมัธยมดงยาง
| name = โรงเรียนบดินทรเดชา <br> (สิงห์ สิงหเสนี)
| native_language =
| native_language =
| native_name =
| native_name =
| en_name = Matthayom Dongyang School
| en_name = Bodindecha (Sing Singhaseni) School
| image = [[ไฟล์:MDY.jpg|150px|ตราประจำโรงเรียนมัธยมดงยาง]]
| image = [[ไฟล์:bodin.jpg|150px]]
| address = เลขที่ 40 ซอยรามคำแหง 43/1 [[แขวงพลับพลา]] <br>[[เขตวังทองหลาง]] [[กรุงเทพมหานคร]] [[รหัสไปรษณีย์ทั่วประเทศไทยเรียงตามจังหวัด|10310]]
| caption = ตราสัญลักษณ์โรงเรียนมัธยมดงยาง
| abbr = บ.ด. (B.D.)
| address = [[ตำบลดงยาง]] [[อำเภอนาดูน]] [[จังหวัดมหาสารคาม]] 44100
| code = 1000104501
| abbr= ม.ด.ย./mdy
| establish_date = [[30 เมษายน]] [[พ.ศ. 2514]]
| code = xxxxxxx
| founder = [[บุญเลื่อน เครือตราชู|คุณหญิงบุญเลื่อน เครือตราชู]]
| establish_date = [[1 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2539]]
| type = [[มัธยมศึกษา]]
| founder =
| group = [[กระทรวงศึกษาธิการ]]
| type = [[โรงเรียนมัธยมศึกษา]]
| type_headman = ผู้อำนวยการ
| group = [[องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น]]
| headman = [[อารีรัสมิ์ วัฒนทองผิว|ดร.อารีรัสมิ์ วัฒนทองผิว]]
| class_range = มัธยมศึกษา
| motto = ลูกบดินทรเป็นผู้ประพฤติดีและมีความรู้
| headman = นายวิทยา แสงคำไพร
| song = ธงน้ำเงิน
| motto =
| color = [[สีน้ำเงิน]]
| song = มาร์ชมัธยมดงยาง
| campus =
| color = {{แถบสีสามกล่อง|#330066}} [[สีฟ้า]] <br /> {{แถบสีสามกล่อง|#66FFFF}} [[สีเหลือง]]
| branch = [[โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ๒|โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) 2]]<br>[[โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ บดินทรเดชา]]<br>[[โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ๔|โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) 4]]<br>[[โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) นนทบุรี]] <br> [[โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) สมุทรปราการ]]
| campus =
| website = [http://www.bodin.ac.th www.bodin.ac.th]
| branch =
| footnote =
| website = [https://www.facebook.com/MDYSchool facebook.com/MDYSchool]
| นักเรียน = 4,966คน
| footnote =
}}
}}


'''โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี)''' เป็น[[โรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ]]ใน[[กรุงเทพมหานคร]] ประเภทสหวิทยา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน [[กระทรวงศึกษาธิการ]] ขนาดเนื้อที่ 39 ไร่ 3 งาน 86 ตารางวา
'''โรงเรียนมัธยมดงยาง''' [[จังหวัดมหาสารคาม]] เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนานเล็ก โรงเรียนมัธยมดงยางตั้งอยู่ในเขต[[ตำบลดงยาง]] [[อำเภอนาดูน]] [[จังหวัดมหาสารคาม]] เปิดทำการเรียนการสอนมาตั้งแต่ปีพุทธศักราช 2469 ซึ่งมีประวัติยาวนานกว่า 80 ปี ปัจจุบันมีจำนวนนักเรียนมากกว่า 3,000 คน และบุคลากรทางการศึกษากว่า 150 คน

ในปัจจุบันการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียนผดุงนารีมีแผนชั้นเรียนเป็น 16-12-12/12-12-10 รวม 74 ห้องเรียน เป็น 1 ใน 3 โรงเรียนที่มีการแข่งขันสูงของจังหวัด[[มหาสารคาม]]และยังเป็นโรงเรียนที่มีการพัฒนาสูงมาก นอกจากนี้ในปีการศึกษา 2554 นี้ ผดุงนารีก็ยังได้รับงบประมาณก่อสร้างอาคารเรียนหลังใหม่สูง 4 ชั้น ซึ่งเป็นอาคาร 6 ภายใต้คำขวัญที่ว่า " ผดุงนารี 3 ปี 4 รางวัลพระราชทาน"


== ประวัติ ==
== ประวัติ ==
[[เจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี)]] สมุหนายกและแม่ทัพใหญ่ใน[[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]] เล็งเห็นถึงความสำคัญของการศึกษา ท่านเห็นว่าโรงเรียนจะเป็นสถานที่ดักความชั่ว และเป็นที่ที่สอนความเป็นคน แนวความคิดของท่านได้รับการสืบสานโดยทายาทชั้นเหลนของท่าน ในปีพ.ศ. 2504 คุณหญิงนครราชเสนี (เจือ สิงหเสนี) ได้บริจาคที่ดินผืนนี้อันเคยเป็นที่พักทัพของท่าน <ref>[http://www.komchadluek.net/detail/20090923/29591/%E0%B8%A3.%E0%B8%A3.%E0%B8%84%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%84%E0%B8%A5%E0%B9%87%E0%B8%94%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%941%E0%B9%83%E0%B8%995.html คมชัดลึก ร.ร.คือที่สร้างคนเคล็ดลับ บดินทร ติด 1ใน5] </ref>เพื่อให้กระทรวงศึกษาธิการได้ใช้ประโยชน์ในการศึกษา พ.ศ. 2511 กรมสามัญศึกษาได้มอบหมายให้คุณหญิง[[บุญเลื่อน เครือตราชู]] ผู้อำนวยการโรงเรียน[[เตรียมอุดมศึกษา]]ในขณะนั้นเป็นผู้ดำเนินการก่อสร้างโรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี)
ในปีพ.ศ. 2449 พระพิทักษ์นรากร หรือพระเจริญราชเดช (อุ่น ภวภูตานนท์ ณ มหาสารคาม) ได้จัดตั้งโรงเรียนขึ้นเป็นครั้งแรก ในเมืองมหาสารคาม ณ [[วัดโพธิ์ศรีวราราม]] และ[[วัดนาควิชัย]] โดยมี[[พระภิกษุ]]เป็นครูสอน มีนักเรียนเป็นชายล้วน ส่วนนักเรียนหญิงจัดให้เรียน ตามบ้านข้าราชการผู้ใหญ่ หรือคหบดี ส่วนมากจะเรียนวิชาการเรือน ต่อมาในสมัยพระประชากรบริรักษ์ (สาย ปาลนันท์) เจ้าเมืองมหาสารคามคนที่ 7 จึงขออนุญาตมลฑลร้อยเอ็ด ในการใช้เงินเรี่ยไรบำรุงการศึกษาจำนวน 15,500 บาท เพื่อใช้ในการจัดตั้งโรงเรียนประจำขึ้น

7 พฤษภาคม 2514 ได้มีพิธีวางศิลาฤกษ์<ref>[http://www2.bodin.ac.th/InfoSchool/symbol.php พิธีวางศิลาฤกษ์ โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงห์เสนี)] สืบค้นเมื่อ 18-06-2553</ref>ก่อสร้างอาคารเรียนหลังที่ 1 ในปีเดียวกันนี้ โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ก็ได้รับนักเรียนรุ่น
แรกโดยใช้[[โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา]] เป็นสถานที่เรียน โดยมีนายเฉลิม สิงหเสนี เป็นอาจารย์ใหญ่

ในปีการศึกษา 2514 กรมสามัญศึกษาแต่งตั้งนายเฉลิม สิงหเสนี เป็นอาจารย์ใหญ่คนแรก ได้รับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 6 ห้องเรียนและนักเรียนชั้น ม.4 จำนวน 12 ห้องเรียน มีนักเรียน 838 คน ครู-อาจารย์ 43 คน โดยใช้สถานที่เรียนครั้งแรก ณ โรงเรียนเตรียมอุดม เมื่อก่อสร้างอาคารเรียนเสร็จเรียนร้อยแล้ว จึงย้ายมาเรียน ณ ที่ตั้งปัจจุบัน เมื่อวันที่ [[17 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2516]]

วันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2515 [[รัชกาลที่ 9|พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช]]พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้โรงเรียนใช้ตรา "[[พระเกี้ยว]]" เป็นเครื่องหมายประจำโรงเรียน และโรงเรียนได้อันเชิญตรานี้ประดับอกเสื้อเหนืออักษรย่อ บ.ด.สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย <ref>[http://www2.bodin.ac.th/InfoSchool/symbol.php ตราประจำโรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงห์เสนี)] สืบค้นเมื่อ 18-06-2553</ref>

พ.ศ. 2516 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายได้ย้ายมาเรียนที่โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) และในปีต่อมานักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นก็ย้ายมาเรียนที่โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ในปีเดียวกันนั้นสมาคมครูและผู้ปกครองก็ถือกำเนิดขึ้น โดยมีจุดประสงค์เพื่อสนับสนุนกิจการต่างๆของโรงเรียน


24 มิถุนายน 2521 เป็นวันคล้ายวันอสัญกรรมของเจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ซึ่ง 24 มิถุนายน ของทุกปีถือเป็นวันสำคัญของโรงเรียน ได้มีการสร้างอนุสาวรีย์ของท่านขึ้นและ[[สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร]] เสด็จพระราชดำเนินมาทรงทำพิธีเปิด พ.ศ. 2529 มีการสร้างพระพุทธรูปประจำโรงเรียน โดย[[สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ (วาสนมหาเถร)|สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช]] ประทานนามว่า "พระพุทธบดินทรพิทักษ์บริรักษ์ศิษยา"
ในปี พ.ศ. 2468 เปิดเป็นสถานศึกษา เรียกว่าโรงเรียนประจำจังหวัดมหาสารคาม "สารคามพิทยาคม" มีนักเรียนเรียนรวมกันทั้งชายและหญิง


พ.ศ. 2530 เนื่องในโอกาสเฉลิมพระเกียรติ[[รัชกาลที่ 9|พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุยเดช]]เจริญพระชนมพรรษาครบ 5 รอบ คุณจวงจันทร์ สิงหเสนี และสมาคมศิษย์เก่าได้สมทบทุนสร้าง "อาคารเฉลิมพระเกียรติ" ขึ้น โดยชั้นบนของอาคารใช้เป็นหอประชุม ชั้นล่างคือ "หอสมุดคุณหญิง นครราชเสนี (เจือ สิงหเสนี)" ซึ่งได้รับรางวัลห้องสมุดโรงเรียนดีเด่นของกรมสามัญศึกษา และของ[[สมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทย]]ในปี พ.ศ. 2531
ในปี พ.ศ. 2469 จึงจัดสร้างโรงเรียนสตรีขึ้นมาเป็น โรงเรียนชั่วคราว มีอาคารเรียนอยู่ในบริเวณเดียวกัน เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน 2469 [[ศึกษาธิการจังหวัด]]คือ อำมาตย์ตรีขุนประสาทวิทยากิจ


พ.ศ. 2532 โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ได้รับคัดเลือกให้เป็น "โรงเรียนพระราชทานระดับมัธยมศึกษาขนาดใหญ่" ต่อมา พ.ศ. 2537 เป็นปี "กาญจนาภิเษก" ด้วยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุยเดชทรงครองศิริราชสมบัติครบรอบ 50 ปี และเป็นปีที่โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ได้ก่อตั้งมาครบรอบ 25 ปี ทายาทสกุลสิงหเสนี คณาจารย์ นักเรียน ผู้ปกครอง และศิษย์เก่า จึงได้ร่วมใจสร้างพิพิธภัณฑ์เจ้าพระยา บดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) และในวันที่ 24 มิถุนายน 2539 [[สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี]] เสด็จพระราชดำเนินมาทรง ประกอบพีธีเปิดพิพิธภัณฑ์
การศึกษาเล่าเรียนของเด็กชายและเด็กหญิงในเมืองมหาสารคามได้แยกกันโดยเด็ดขาด เด็กหญิงมีโรงเรียนเฉพาะผู้หญิง เรียกว่าโรงเรียนสตรีประจำจังหวัดมหาสารคาม ต่อมาจึงเปลี่ยนชื่อโรงเรียนเป็น "โรงเรียนผดุงนารี" มาจนกระทั่งปัจจุบัน


== สัญลักษณ์ประจำโรงเรียน ==
เวลาล่วงเลยมาจนกระทั่ง ปี พ.ศ. 2482 โรงเรียนได้ขยายการศึกษา โดยเปิดสอนถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 มีนักเรียน ม.6 รุ่นแรก จำนวน 7 คน
สัญลักษณ์ประจำโรงเรียนคือ [[พระเกี้ยว]] ตราประจำรัชกาลใน[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] มีความหมายว่า "ศิราภรณ์ประดับยอดศีรษะ" หรือ "จุลมงกุฎ" ซึ่งมีความหมายเชื่อมโยงกับ "มงกุฎ" พระปรมาภิไธยเดิมของ [[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] อันมีความหมายว่า "พระจอมเกล้าน้อย"


เมื่อพระนามาภิไธยเดิมและ[[พระปรมาภิไธย]]เดิมของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีความหมายว่าพระเกี้ยวหรือจุลมงกุฎ จึงได้ใช้พระเกี้ยวหรือจุลมงกุฎวางบนเบาะ เป็นพิจิตรเลขาประจำรัชกาลของพระองค์
ปัจจุบัน โรงเรียนผดุงนารีเปิดสอนนักเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นจำนวน 34 ห้องเรียน และมัธยมศึกษาตอนปลายจำนวน 30 ห้องเรียน รวมทั้งสิ้นจำนวน 64 ห้องเรียน


ต่อมา[[สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ]]ได้กราบบังคมทูลขอพระราชทานพระบรมราชานุญาต ใช้ตราพระเกี้ยวเป็นสัญลักษณ์ประจำโรงเรียนข้าราชการ และหลังจากนั้นจึงได้รับการสถาปนาขึ้นเป็น[[จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] เมื่อสภามหาวิทยาลัยลงมติจัดตั้ง [[โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา]] จึงรับเอาตราพระเกี้ยว เป็นเครื่องหมายประจำโรงเรียนด้วย และเมื่อ คุณหญิงบุญเลื่อน เครือตราชู ผู้อำนวยการโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ได้ก่อตั้งโรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2514 จึงได้มีหนังสือกราบบังคมทูลขอพระบรมราชานุญาตใช้พระเกี้ยวเป็นเครื่องหมายประจำโรงเรียน
== ข้อมูลทั่วไปของโรงเรียน ==


โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) มีดอกไม้ประจำโรงเรียนคือ นิลุบล และสีประจำโรงเรียนคือ สีน้ำเงิน
=== ตราสัญลักณ์ของโรงเรียน ===


== ทำเนียบผู้บริหารโรงเรียน ==
เป็นภาพคบเพลิง มีเปลวห้าเปลว มีรัศมีโดยรอบ
นับตั้งแต่ก่อตั้งโรงเรียนจนถึงปัจจุบัน โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) มีผู้บริหารทั้งหมด 12 คน ดังต่อไปนี้


{| class="wikitable" width="100%"
=== ปรัชญาโรงเรียน ===
|-
ค.ม.ส. 3
! ที่ || ชื่อ || ตำแหน่ง || ปีที่ดำรงตำแหน่ง
|-
| 0 || [[บุญเลื่อน เครือตราชู|คุณหญิงบุญเลื่อน เครือตราชู]] || ผู้ก่อตั้งโรงเรียน || -
|-
| 1 || นายเฉลิม สิงหเสนี || อาจารย์ใหญ่ || พ.ศ. 2514-2516
|-
| 2 || [[คุณหญิงพรรณชื่น รื่นศิริ]] || ผู้อำนวยการ || พ.ศ. 2516-2522
|-
| 3 || นางสงัด จิตตะยโสธร || ผู้อำนวยการ || พ.ศ. 2522-2530
|-
| 4 || นางประจวบ ชำนิประศาสน์ || ผู้อำนวยการ || พ.ศ. 2530-2533
|-
| 5 || คุณหญิงลักขณา แสงสนิท || ผู้อำนวยการ || พ.ศ. 2533-2539
|-
| 6 || นายเฉลิมชัย รัตนกรี || ผู้อำนวยการ || พ.ศ. 2540-2541
|-
| 7 || นายอัศวิน วรรณวินเวศร์ || ผู้อำนวยการ || พ.ศ. 2541-2542
|-
| 8 || [[นางพรรณี เพ็งเนตร]] || ผู้อำนวยการ || พ.ศ. 2542-2544
|-
| 9 || นายสิทธิรักษ์ จันทร์สว่าง || ผู้อำนวยการ || พ.ศ. 2544-2545
|-
| 10 || นายอมรรัตน์ ปิ่นเงิน || ผู้อำนวยการ || พ.ศ. 2545-2552
|-
| 11 || ดร.สุวัฒน์ วิวัฒนานนท์ || ผู้อำนวยการ || พ.ศ. 2552-2555
|-
| 12 || ดร.อารีรัสมิ์ วัฒนทองผิว || ผู้อำนวยการ || พ.ศ. 2555-ปัจจุบัน
|-
|}


== ผู้อุปการคุณโรงเรียน ==
* ค หมายถึง มีความรู้
* คุณหญิงนครราชเสนี (เจือ สิงหเสนี) ผู้บริจาคที่ดิน
* ม หมายถึง มีมารยาท
* คุณจวงจันทร์ สิงหเสนี
* ส 3 หมายถึง สะอาด สามัคคี มีสุขภาพ
* คุณจับจิตต์ สิงหเสนี ตุวินันท์
* คุณสรรเพ็ชร - คุณกรทิพย์ สิงหเสนี


== ศิษย์เก่าที่มีชื่อเสียง ==
=== สีประจำโรงเรียน ===
* [[กฤตพร มณฑีรรัตน์]] - (มุก Olives) ศิลปินนักร้อง
* [[กันยารัตน์ ติยะพรไชย]] (ลุลา) - ศิลปินนักร้อง
* [[กิตติศักดิ์ ปฐมบูรณา]] (แจ็ค) - ดารานักแสดง
* [[เข็มอัปสร สิริสุขะ]] (เชอรี่) - ดารานักแสดง
* [[เขมรัชต์ สุนทรนนท์]] (อ๋อง) - นักร้อง/พิธีกร/ดีเจ
* [[คมกฤษ ตรีวิมล]] (เอส) - ผู้กำกับภาพยนตร์
* [[คณวัฒน์ จันทรลาวัณย์]] (เอ้ก) นักแสดง และนายแบบ
* [[จรินทร์พร จุนเกียรติ]] (เต้ย) บ.ด.36 - นางแบบ/ดารานักแสดง
* [[เจนี่ เทียนโพธิ์สุวรรณ]] (เจนี่) - ดารานักแสดง
* [[จันทร์จิรา จูแจ้ง]] (ตุ๊ก) - ดารานักแสดง
* [[ชุติมา นัยนา]] (เอ้) - นางสาวไทย
* [[เฌอมาลย์ บุญยศักดิ์]] (พลอย) - ดารานักแสดง
* [[ณฐพร เตมีรักษ์]] (แต้ว - บ.ด. 35) - ดารานักแสดง
* [[ณัฐพล ลียะวณิช]](ต่าย) - ดารานักแสดง
* [[ธีระ สลักเพชร]] (รุ่น 6) - รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม
* [[นันทิดา แก้วบัวสาย]] (ตู่) - ศิลปิน
* [[นราพัฒน์ แก้วทอง]] - นักการเมือง
* [[ปวันรัตน์ นาคสุริยะ]] (มะเหมี่ยว) - พิธีกร/ดารานักแสดง
* [[ปนัดดา วงศ์ผู้ดี]] (บุ๋ม) - ดารานักแสดง
* [[ปัทมวรรณ เค้ามูลคดี]] (ยุ้ย) - ศิลปิน
* [[ปลื้มจิตร ถินขาว]] (หน่อง) - นักกีฬาวอลเลย์บอลทีมชาติ
* [[อัจฉราพร คงยศ]] (เพียว) - นักกีฬาวอลเลย์บอลทีมชาติ
* [[เป็นเอก การะเกตุ]] (ไอ - บด. 36) - นักกีฬาเทควันโดทีมชาติไทย
* [[พัชรศรี เบญจมาศ]] (กาละแมร์) - พิธีกร/ผู้ประกาศข่าว
* [[เกียรติศักดิ์ อุดมนาค]] (เสนาหอย) - พิธีกร/นักแสดง
* [[พลอย จินดาโชติ]] - ดารานักแสดง
* [[พิชยดนย์ พึ่งพันธ์]] - ดารานักแสดง
* [[มิณฑิตา วัฒนกุล]] (มิ้น) (บด. 34) - ศิลปิน
* [[ยุทธพิชัย ชาญเลขา]] (โดโด้) - ดารานักแสดง
* [[วรเวช ดานุวงศ์]] (แดน) - ศิลปิน/นักแสดง/ผู้จัดละคร/โปรดิวเซอร์ นักแต่งเพลง
* [[วินทร์ เลียววาริณ]] - สถาปนิก/นักเขียนรางวัลซีไรท์
* [[สุวนันท์ คงยิ่ง]] (กบ) - ดารานักแสดง
* [[สุทธิดา เกษมสันต์ ณ อยุธยา]] (นุ๊ก) - ดารานักแสดง
* [[สุนิสา สุขบุญสังข์]] (อ้อม) - ศิลปิน/ผู้จัดรายการวิทยุ/ผู้ดำเนินรายการ
* [[สุฐิตา เรืองรองหิรัญญา]] (นิหน่า) - ศิลปิน
* [[สราวุธ เฮ้งสวัสดิ์]] (เอ๋,นิ้วกลม) - นักขียน/คอลัมนิสต์/ครีเอทีฟ
* [[หทัยวรรณ งามสุคนธภูษิต]] (ผึ้ง) - ศิลปินนักแสดง
* [[อนุชา นาคาศัย]] - นักการเมือง
* [[อุษามณี ไวทยานนท์]] (ขวัญ) - ดารานักแสดง
* [[อารยา เอ ฮาร์เก็ต]] (ชมพู่) - ดารานักแสดง
* [[ดนู สิงหเสนี]] (ตุ้ม) - ดีเจ/พิธีกร


== เกียรติประวัติ ==
สีฟ้า หมายถึง การทำงานให้เป็นคนสูงค่า มีความสุขุมเยือกเย็นและสุภาพ
# รางวัลโรงเรียนดีเด่น กรมสามัญศึกษา พ.ศ. 2515, 2516, 2518 และ 2519
สีเหลือง หมายถึง
# รางวัลพระราชทานประเภท โรงเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายขนาดใหญ่พิเศษ ที่จัดการบริหารโรงเรียนดีเด่น ของกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2532
# รางวัลห้องสมุดดีเด่น ของกรมสามัญศึกษา พ.ศ. 2531, 2538 และ 2539
# รางวัลห้องสมุด และห้องสมุดกาญจนาภิเษกของกรมสามัญศึกษา พ.ศ. 2539
# รางวัลห้องสมุดดีเด่น และห้องสมุดยอดเยี่ยมของสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2531 และ 2539
# รางวัล "โรงอาหารมาตรฐานดีเด่น" กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2533
# รางวัลชนะเลิศการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ดีเด่นของ [[สสวท]]. พ.ศ. 2535
# รางวัลโรงเรียนที่จัดจริยศึกษาดีเด่น จากกรมศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2535, 2536 และ 2537
# รางวัลโรงเรียนดีเด่นด้านวินัยและการจราจร จากกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2536
# ป้ายเกียรติคุณ "สถานศึกษาที่ปลอดบุหรี่" จากกรมอนามัย [[กระทรวงสาธารณสุข]] พ.ศ. 2539
# ศูนย์กีฬาวอลเล่ย์บอล (หญิง) กรมสามัญศึกษา พ.ศ. 2533
# ศูนย์ [[พสวท.]] ของสถาบันส่งเสริมวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งแต่ [[พ.ศ. 2527]]
# ศูนย์ AFS เขตกรุงเทพมหานครเหนือ [[พ.ศ. 2533]]
# ศูนย์นิเทศวิชาภาษาไทย [[กรมสามัญศึกษา]] [[พ.ศ. 2539]]
# ครู-อาจารย์ ได้รับรางวัลผู้บริหารดีเด่น รางวัลครูผู้สอนดีเด่น ครูจริยธรรมศึกษาดีเด่น ผู้กำกับการศึกษาวิชาทหารดีเด่น ผู้ฝึกสอนกีฬาดีเด่น ฯลฯ
# นักเรียนได้รับรางวัลพระราชทานดีเด่น นักกีฬายอดเยี่ยม ลูกเสือดีเด่น ฯลฯ
# ได้ใบรับรองมาตรฐานการจัดการสิ่งแวดล้อม ISO 14001 จากสถาบันสิ่งแวดล้อม [[พ.ศ. 2544]]
# โรงเรียนในโครงการการจัดการศึกษาสำหรับนักเรียนความสามารถพิเศษด้านภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ สาขาเคมี พ.ศ. 2543
# ศูนย์วัฒธรรมเขตวังทองหลาง
# รางวัลชนะเลิศวงโยธวาทิต ถ้วยพระราชทาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พ.ศ. 2546
# รางวัลชนะเลิศวงโยธวาทิต ประเภทพาเหรด ณ [[ประเทศญี่ปุ่น]] พ.ศ. 2545
# รางวัลชนะเลิศประกวดวงลูกทุ่งถ้วยพระราชทาน สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีพ.ศ. 2545 2546และ2548
# รางวัลชนะเลิศประกวดกองเชียร์ ระดับมัธยมศึกษา ถ้วยพระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พ.ศ. 2546
# โรงเรียนส่งเสริมการอ่านยอดเยี่ยม พ.ศ. 2547 ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมาหานคร เขต 2 สาขากิจกรรมส่งเสริมยอดนักอ่าน และยอดนักอ่านสู่การเรียนรู้ ด้านส่งเสริมนักสร้างสรรค์สังคม และด้านส่งเสริมนักสื่อสารภาษาอังกฤษ
# รางวัลชนะเลิศประกวดกองเชียร์ ระดับมัธยมศึกษา ถ้วยประทาน[[ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี]] พ.ศ. 2548
#รางวัลชนะเลิศประกวดวงโยธวาทิตยามาฮ่าแห่งประเทศไทย ระดับไม่เกินชั้นมัธยมศึกษาปีที่6 ถ้วยพระราชทานพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พ.ศ. 2548


== อ้างอิง ==
=== คุณสมบัติอันพึงประสงค์ของนักเรียน โรงเรียนผดุงนารี ===
{{รายการอ้างอิง}}


== ดูเพิ่ม ==
# เป็นผู้มีความในใจใฝ่รู้ ขยันศึกษาค้นคว้า มีความรู้พื้นฐาน อย่างเพียงพอในการศึกษาเพิ่มเติม และมีเจตคติที่ดีต่อสัมมา อาชีพทุกชนิด
* [[โรงเรียนในเครือบดินทรเดชา]]
# เป็นผู้มีมารยาทดี มีสัมมาคารวะ เคารพเชื่อฟังบิดา มารดา ครูอาจารย์
* [[เจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี)]]
# เป็นผู้รักความสะอาด เป็นตัวอย่างที่ดีแก่สังคม
* [[พิพิธภัณฑ์เจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี)]]
# เป็นผู้ที่ยึดมั่นในสามัคคีธรรม มีศีลธรรม มีระเบียบวินัย ประหยัด เสียสละเพื่อส่วนรวม และรู้จักใช้ทรัพยากรธรรมชาติ
* [[กีฬา 5 พระเกี้ยว]]
# เป็นผู้มีสุขภาพสมบูรณ์ทั้งทางร่างกายและจิตใจ
# เป็นผู้ที่สามารถปรับตนให้ดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข


== แหล่งข้อมูลอื่น ==
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* [https://www.facebook.com/MDYSchool เว็บไซต์อย่างเป็นทางการ]
* [http://www.bodin.ac.th/ เว็บไซต์หลักของโรงเรียน]
* [http://www.bodinzone.com/ เว็บไซต์บดินทรโซน]
* [http://www.bodinband.com/ วงโยธวาทิตโรงเรียนบดินทรเดชา]


{{Coord|13|46|05.27|N|100|36|53.60|E|type:school|display=title}}
{{รายชื่อโรงเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์}}
{{โรงเรียนในเครือบดินทรเดชา}}
{{เรียงลำดับ|บดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี)}}


[[หมวดหมู่:โรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ]]
{{เรียงลำดับ|มัธยมดงยาง}}
[[หมวดหมู่:โรงเรียนในจังหวัดมหาสารคาม]]
[[หมวดหมู่:โรงเรียนในกรุงเทพมหานคร]]
[[หมวดหมู่:กลุ่มโรงเรียนบดินทรเดชา]]
{{โครงสถานศึกษา}}
[[หมวดหมู่:เขตวังทองหลาง]]
[[หมวดหมู่:โรงเรียนในโครงการ พสวท.]]
[[หมวดหมู่:โรงเรียนที่มีอัตราการแข่งขันสูง]]
[[หมวดหมู่:โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี)]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:14, 28 กุมภาพันธ์ 2557

โรงเรียนบดินทรเดชา
(สิงห์ สิงหเสนี)
Bodindecha (Sing Singhaseni) School
ที่ตั้ง
ข้อมูล
ชื่ออื่นบ.ด. (B.D.)
ประเภทมัธยมศึกษา
คำขวัญลูกบดินทรเป็นผู้ประพฤติดีและมีความรู้
สถาปนา30 เมษายน พ.ศ. 2514
ผู้ก่อตั้งคุณหญิงบุญเลื่อน เครือตราชู
หน่วยงานกำกับกระทรวงศึกษาธิการ
รหัส1000104501
ผู้อำนวยการดร.อารีรัสมิ์ วัฒนทองผิว
จำนวนนักเรียน4,966คน
วิทยาเขตโรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) 2
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ บดินทรเดชา
โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) 4
โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) นนทบุรี
โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) สมุทรปราการ
สีสีน้ำเงิน
เพลงธงน้ำเงิน
เว็บไซต์www.bodin.ac.th

โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษในกรุงเทพมหานคร ประเภทสหวิทยา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ขนาดเนื้อที่ 39 ไร่ 3 งาน 86 ตารางวา

ประวัติ

เจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) สมุหนายกและแม่ทัพใหญ่ในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว เล็งเห็นถึงความสำคัญของการศึกษา ท่านเห็นว่าโรงเรียนจะเป็นสถานที่ดักความชั่ว และเป็นที่ที่สอนความเป็นคน แนวความคิดของท่านได้รับการสืบสานโดยทายาทชั้นเหลนของท่าน ในปีพ.ศ. 2504 คุณหญิงนครราชเสนี (เจือ สิงหเสนี) ได้บริจาคที่ดินผืนนี้อันเคยเป็นที่พักทัพของท่าน [1]เพื่อให้กระทรวงศึกษาธิการได้ใช้ประโยชน์ในการศึกษา พ.ศ. 2511 กรมสามัญศึกษาได้มอบหมายให้คุณหญิงบุญเลื่อน เครือตราชู ผู้อำนวยการโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาในขณะนั้นเป็นผู้ดำเนินการก่อสร้างโรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี)

7 พฤษภาคม 2514 ได้มีพิธีวางศิลาฤกษ์[2]ก่อสร้างอาคารเรียนหลังที่ 1 ในปีเดียวกันนี้ โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ก็ได้รับนักเรียนรุ่น แรกโดยใช้โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา เป็นสถานที่เรียน โดยมีนายเฉลิม สิงหเสนี เป็นอาจารย์ใหญ่

ในปีการศึกษา 2514 กรมสามัญศึกษาแต่งตั้งนายเฉลิม สิงหเสนี เป็นอาจารย์ใหญ่คนแรก ได้รับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 6 ห้องเรียนและนักเรียนชั้น ม.4 จำนวน 12 ห้องเรียน มีนักเรียน 838 คน ครู-อาจารย์ 43 คน โดยใช้สถานที่เรียนครั้งแรก ณ โรงเรียนเตรียมอุดม เมื่อก่อสร้างอาคารเรียนเสร็จเรียนร้อยแล้ว จึงย้ายมาเรียน ณ ที่ตั้งปัจจุบัน เมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2516

วันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2515 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้โรงเรียนใช้ตรา "พระเกี้ยว" เป็นเครื่องหมายประจำโรงเรียน และโรงเรียนได้อันเชิญตรานี้ประดับอกเสื้อเหนืออักษรย่อ บ.ด.สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย [3]

พ.ศ. 2516 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายได้ย้ายมาเรียนที่โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) และในปีต่อมานักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นก็ย้ายมาเรียนที่โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ในปีเดียวกันนั้นสมาคมครูและผู้ปกครองก็ถือกำเนิดขึ้น โดยมีจุดประสงค์เพื่อสนับสนุนกิจการต่างๆของโรงเรียน

24 มิถุนายน 2521 เป็นวันคล้ายวันอสัญกรรมของเจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ซึ่ง 24 มิถุนายน ของทุกปีถือเป็นวันสำคัญของโรงเรียน ได้มีการสร้างอนุสาวรีย์ของท่านขึ้นและสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร เสด็จพระราชดำเนินมาทรงทำพิธีเปิด พ.ศ. 2529 มีการสร้างพระพุทธรูปประจำโรงเรียน โดยสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช ประทานนามว่า "พระพุทธบดินทรพิทักษ์บริรักษ์ศิษยา"

พ.ศ. 2530 เนื่องในโอกาสเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุยเดชเจริญพระชนมพรรษาครบ 5 รอบ คุณจวงจันทร์ สิงหเสนี และสมาคมศิษย์เก่าได้สมทบทุนสร้าง "อาคารเฉลิมพระเกียรติ" ขึ้น โดยชั้นบนของอาคารใช้เป็นหอประชุม ชั้นล่างคือ "หอสมุดคุณหญิง นครราชเสนี (เจือ สิงหเสนี)" ซึ่งได้รับรางวัลห้องสมุดโรงเรียนดีเด่นของกรมสามัญศึกษา และของสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทยในปี พ.ศ. 2531

พ.ศ. 2532 โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ได้รับคัดเลือกให้เป็น "โรงเรียนพระราชทานระดับมัธยมศึกษาขนาดใหญ่" ต่อมา พ.ศ. 2537 เป็นปี "กาญจนาภิเษก" ด้วยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุยเดชทรงครองศิริราชสมบัติครบรอบ 50 ปี และเป็นปีที่โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ได้ก่อตั้งมาครบรอบ 25 ปี ทายาทสกุลสิงหเสนี คณาจารย์ นักเรียน ผู้ปกครอง และศิษย์เก่า จึงได้ร่วมใจสร้างพิพิธภัณฑ์เจ้าพระยา บดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) และในวันที่ 24 มิถุนายน 2539 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินมาทรง ประกอบพีธีเปิดพิพิธภัณฑ์

สัญลักษณ์ประจำโรงเรียน

สัญลักษณ์ประจำโรงเรียนคือ พระเกี้ยว ตราประจำรัชกาลในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีความหมายว่า "ศิราภรณ์ประดับยอดศีรษะ" หรือ "จุลมงกุฎ" ซึ่งมีความหมายเชื่อมโยงกับ "มงกุฎ" พระปรมาภิไธยเดิมของ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว อันมีความหมายว่า "พระจอมเกล้าน้อย"

เมื่อพระนามาภิไธยเดิมและพระปรมาภิไธยเดิมของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีความหมายว่าพระเกี้ยวหรือจุลมงกุฎ จึงได้ใช้พระเกี้ยวหรือจุลมงกุฎวางบนเบาะ เป็นพิจิตรเลขาประจำรัชกาลของพระองค์

ต่อมาสมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพได้กราบบังคมทูลขอพระราชทานพระบรมราชานุญาต ใช้ตราพระเกี้ยวเป็นสัญลักษณ์ประจำโรงเรียนข้าราชการ และหลังจากนั้นจึงได้รับการสถาปนาขึ้นเป็นจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อสภามหาวิทยาลัยลงมติจัดตั้ง โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา จึงรับเอาตราพระเกี้ยว เป็นเครื่องหมายประจำโรงเรียนด้วย และเมื่อ คุณหญิงบุญเลื่อน เครือตราชู ผู้อำนวยการโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ได้ก่อตั้งโรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2514 จึงได้มีหนังสือกราบบังคมทูลขอพระบรมราชานุญาตใช้พระเกี้ยวเป็นเครื่องหมายประจำโรงเรียน

โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) มีดอกไม้ประจำโรงเรียนคือ นิลุบล และสีประจำโรงเรียนคือ สีน้ำเงิน

ทำเนียบผู้บริหารโรงเรียน

นับตั้งแต่ก่อตั้งโรงเรียนจนถึงปัจจุบัน โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) มีผู้บริหารทั้งหมด 12 คน ดังต่อไปนี้

ที่ ชื่อ ตำแหน่ง ปีที่ดำรงตำแหน่ง
0 คุณหญิงบุญเลื่อน เครือตราชู ผู้ก่อตั้งโรงเรียน -
1 นายเฉลิม สิงหเสนี อาจารย์ใหญ่ พ.ศ. 2514-2516
2 คุณหญิงพรรณชื่น รื่นศิริ ผู้อำนวยการ พ.ศ. 2516-2522
3 นางสงัด จิตตะยโสธร ผู้อำนวยการ พ.ศ. 2522-2530
4 นางประจวบ ชำนิประศาสน์ ผู้อำนวยการ พ.ศ. 2530-2533
5 คุณหญิงลักขณา แสงสนิท ผู้อำนวยการ พ.ศ. 2533-2539
6 นายเฉลิมชัย รัตนกรี ผู้อำนวยการ พ.ศ. 2540-2541
7 นายอัศวิน วรรณวินเวศร์ ผู้อำนวยการ พ.ศ. 2541-2542
8 นางพรรณี เพ็งเนตร ผู้อำนวยการ พ.ศ. 2542-2544
9 นายสิทธิรักษ์ จันทร์สว่าง ผู้อำนวยการ พ.ศ. 2544-2545
10 นายอมรรัตน์ ปิ่นเงิน ผู้อำนวยการ พ.ศ. 2545-2552
11 ดร.สุวัฒน์ วิวัฒนานนท์ ผู้อำนวยการ พ.ศ. 2552-2555
12 ดร.อารีรัสมิ์ วัฒนทองผิว ผู้อำนวยการ พ.ศ. 2555-ปัจจุบัน

ผู้อุปการคุณโรงเรียน

  • คุณหญิงนครราชเสนี (เจือ สิงหเสนี) ผู้บริจาคที่ดิน
  • คุณจวงจันทร์ สิงหเสนี
  • คุณจับจิตต์ สิงหเสนี ตุวินันท์
  • คุณสรรเพ็ชร - คุณกรทิพย์ สิงหเสนี

ศิษย์เก่าที่มีชื่อเสียง

เกียรติประวัติ

  1. รางวัลโรงเรียนดีเด่น กรมสามัญศึกษา พ.ศ. 2515, 2516, 2518 และ 2519
  2. รางวัลพระราชทานประเภท โรงเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายขนาดใหญ่พิเศษ ที่จัดการบริหารโรงเรียนดีเด่น ของกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2532
  3. รางวัลห้องสมุดดีเด่น ของกรมสามัญศึกษา พ.ศ. 2531, 2538 และ 2539
  4. รางวัลห้องสมุด และห้องสมุดกาญจนาภิเษกของกรมสามัญศึกษา พ.ศ. 2539
  5. รางวัลห้องสมุดดีเด่น และห้องสมุดยอดเยี่ยมของสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2531 และ 2539
  6. รางวัล "โรงอาหารมาตรฐานดีเด่น" กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2533
  7. รางวัลชนะเลิศการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ดีเด่นของ สสวท. พ.ศ. 2535
  8. รางวัลโรงเรียนที่จัดจริยศึกษาดีเด่น จากกรมศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2535, 2536 และ 2537
  9. รางวัลโรงเรียนดีเด่นด้านวินัยและการจราจร จากกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2536
  10. ป้ายเกียรติคุณ "สถานศึกษาที่ปลอดบุหรี่" จากกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2539
  11. ศูนย์กีฬาวอลเล่ย์บอล (หญิง) กรมสามัญศึกษา พ.ศ. 2533
  12. ศูนย์ พสวท. ของสถาบันส่งเสริมวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งแต่ พ.ศ. 2527
  13. ศูนย์ AFS เขตกรุงเทพมหานครเหนือ พ.ศ. 2533
  14. ศูนย์นิเทศวิชาภาษาไทย กรมสามัญศึกษา พ.ศ. 2539
  15. ครู-อาจารย์ ได้รับรางวัลผู้บริหารดีเด่น รางวัลครูผู้สอนดีเด่น ครูจริยธรรมศึกษาดีเด่น ผู้กำกับการศึกษาวิชาทหารดีเด่น ผู้ฝึกสอนกีฬาดีเด่น ฯลฯ
  16. นักเรียนได้รับรางวัลพระราชทานดีเด่น นักกีฬายอดเยี่ยม ลูกเสือดีเด่น ฯลฯ
  17. ได้ใบรับรองมาตรฐานการจัดการสิ่งแวดล้อม ISO 14001 จากสถาบันสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2544
  18. โรงเรียนในโครงการการจัดการศึกษาสำหรับนักเรียนความสามารถพิเศษด้านภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ สาขาเคมี พ.ศ. 2543
  19. ศูนย์วัฒธรรมเขตวังทองหลาง
  20. รางวัลชนะเลิศวงโยธวาทิต ถ้วยพระราชทาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พ.ศ. 2546
  21. รางวัลชนะเลิศวงโยธวาทิต ประเภทพาเหรด ณ ประเทศญี่ปุ่น พ.ศ. 2545
  22. รางวัลชนะเลิศประกวดวงลูกทุ่งถ้วยพระราชทาน สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีพ.ศ. 2545 2546และ2548
  23. รางวัลชนะเลิศประกวดกองเชียร์ ระดับมัธยมศึกษา ถ้วยพระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พ.ศ. 2546
  24. โรงเรียนส่งเสริมการอ่านยอดเยี่ยม พ.ศ. 2547 ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมาหานคร เขต 2 สาขากิจกรรมส่งเสริมยอดนักอ่าน และยอดนักอ่านสู่การเรียนรู้ ด้านส่งเสริมนักสร้างสรรค์สังคม และด้านส่งเสริมนักสื่อสารภาษาอังกฤษ
  25. รางวัลชนะเลิศประกวดกองเชียร์ ระดับมัธยมศึกษา ถ้วยประทานทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี พ.ศ. 2548
  26. รางวัลชนะเลิศประกวดวงโยธวาทิตยามาฮ่าแห่งประเทศไทย ระดับไม่เกินชั้นมัธยมศึกษาปีที่6 ถ้วยพระราชทานพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พ.ศ. 2548

อ้างอิง

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น

13°46′05.27″N 100°36′53.60″E / 13.7681306°N 100.6148889°E / 13.7681306; 100.6148889