ข้ามไปเนื้อหา

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสมุทรปราการ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
จังหวัดสมุทรปราการ
เขตเลือกตั้งในปัจจุบัน
จำนวนเขต8
คะแนนเสียง372,740 (ก้าวไกล)
เขตเลือกตั้งปัจจุบัน
ก่อตั้งพ.ศ. 2476
ที่นั่งประชาชน (8)
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรดูในบทความ

จังหวัดสมุทรปราการ มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 8 เขต (สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ. 2566)[1] และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 8 คน จากทั้งหมด 400 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย

ประวัติศาสตร์

[แก้]

หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยจังหวัดสมุทรปราการมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนแรก คือ นายเขียน กาญจนพันธุ์[2]

เขตเลือกตั้ง

[แก้]
การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้ง แผนที่ จำนวน ส.ส.
พ.ศ. 2476 เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด 1 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2480
พ.ศ. 2481
พ.ศ. 2489
พ.ศ. 2491
พ.ศ. 2492
พ.ศ. 2495
พ.ศ. 2500/1
พ.ศ. 2500/2
พ.ศ. 2512 2 คน (เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2518 3 คน (เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2519
พ.ศ. 2522
พ.ศ. 2526 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอพระประแดงและอำเภอเมืองสมุทรปราการ (เฉพาะตำบลบางโปรง ตำบลบางด้วน ตำบลปากน้ำ ตำบลท้ายบ้าน ตำบลแหลมฟ้าผ่า ตำบลนาเกลือ ตำบลบ้านคลองสวน ตำบลในคลองบางปลากด และตำบลปากคลองบางปลากด)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอบางบ่อ, อำเภอบางพลี และอำเภอเมืองสมุทรปราการ (เฉพาะตำบลบางปู ตำบลบางปูใหม่ ตำบลแพรกษา ตำบลบางเมือง และตำบลสำโรงเหนือ)
4 คน
(2 เขต เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2529 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอพระประแดง, อำเภอเมืองสมุทรปราการ (เฉพาะตำบลบางโปรง ตำบลบางด้วน ตำบลปากน้ำ และตำบลท้ายบ้าน) และกิ่งอำเภอพระสมุทรเจดีย์
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอบางบ่อ, อำเภอบางพลี และอำเภอเมืองสมุทรปราการ (เฉพาะตำบลบางปู ตำบลบางปูใหม่ ตำบลแพรกษา ตำบลบางเมือง และตำบลสำโรงเหนือ)
พ.ศ. 2531 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอพระประแดง, อำเภอเมืองสมุทรปราการ (เฉพาะตำบลบางโปรง ตำบลบางด้วน ตำบลบางเมืองใหม่ ตำบลบางเมือง ตำบลแพรกษา ตำบลท้ายบ้าน และตำบลปากน้ำ) และกิ่งอำเภอพระสมุทรเจดีย์
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอบางบ่อ, อำเภอบางพลี และอำเภอเมืองสมุทรปราการ (เฉพาะตำบลบางปู ตำบลบางปูใหม่ และตำบลสำโรงเหนือ)
5 คน (เขต 1 เขตละ 3 คน
ส่วน เขต 2 เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2535/1 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอพระประแดง, อำเภอพระสมุทรเจดีย์ และอำเภอเมืองสมุทรปราการ (เฉพาะตำบลบางโปรง ตำบลบางด้วน ตำบลบางเมืองใหม่ ตำบลปากน้ำ และตำบลท้ายบ้าน),
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอบางบ่อ, อำเภอบางพลี และอำเภอเมืองสมุทรปราการ (เฉพาะตำบลบางปู ตำบลบางปูใหม่ ตำบลแพรกษา ตำบลบางเมือง ตำบลเทพารักษ์ และตำบลสำโรงเหนือ)
6 คน
(2 เขต เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2535/2
พ.ศ. 2538 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอพระประแดง, อำเภอพระสมุทรเจดีย์ และอำเภอเมืองสมุทรปราการ (เฉพาะตำบลบางโปรง ตำบลบางด้วน ตำบลบางเมืองใหม่ ตำบลปากน้ำ และตำบลท้ายบ้าน)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอบางบ่อ, อำเภอบางพลี, อำเภอเมืองสมุทรปราการ (เฉพาะตำบลบางปู ตำบลบางปูใหม่ ตำบลแพรกษา ตำบลบางเมือง ตำบลเทพารักษ์ และตำบลสำโรงเหนือ) และกิ่งอำเภอบางเสาธง
พ.ศ. 2539 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอพระประแดง, อำเภอพระสมุทรเจดีย์ และอำเภอเมืองสมุทรปราการ (เฉพาะตำบลบางโปรง ตำบลบางด้วน ตำบลบางเมืองใหม่ ตำบลปากน้ำ ตำบลท้ายบ้าน และตำบลท้ายบ้านใหม่)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอบางบ่อ, อำเภอบางพลี, อำเภอเมืองสมุทรปราการ (เฉพาะตำบลบางปู ตำบลบางปูใหม่ ตำบลแพรกษาใหม่ ตำบลแพรกษา ตำบลบางเมือง ตำบลเทพารักษ์ และตำบลสำโรงเหนือ) และกิ่งอำเภอบางเสาธง
พ.ศ. 2544 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสมุทรปราการ [เฉพาะตำบลท้ายบ้านใหม่ ตำบลปากน้ำ ตำบลบางด้วน และตำบลบางเมืองใหม่ (นอกเขตเทศบาลตำบลสำโรงเหนือ)]
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเมืองสมุทรปราการ [เฉพาะตำบลบางเมืองใหม่ (ในเขตเทศบาลตำบลสำโรงเหนือ) ตำบลบางเมือง ตำบลเทพารักษ์ และตำบลสำโรงเหนือ]
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอพระสมุทรเจดีย์, อำเภอพระประแดง (เฉพาะตำบลบางจากและตำบลบางครุ) และอำเภอเมืองสมุทรปราการ (เฉพาะตำบลบางโปรงและตำบลท้ายบ้าน)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอบางพลี, อำเภอเมืองสมุทรปราการ (เฉพาะตำบลแพรกษาใหม่และตำบลแพรกษา) และกิ่งอำเภอบางเสาธง (เฉพาะตำบลศีรษะจรเข้น้อย)
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอบางบ่อ, อำเภอเมืองสมุทรปราการ (เฉพาะตำบลบางปูและตำบลบางปูใหม่) และกิ่งอำเภอบางเสาธง (ยกเว้นตำบลศีรษะจรเข้น้อย)
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอพระประแดง (ยกเว้นตำบลบางจากและตำบลบางครุ)
6 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2548 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสมุทรปราการ (เฉพาะตำบลบางโปรง ตำบลบางด้วน ตำบลปากน้ำ ตำบลท้ายบ้าน และตำบลบางปูใหม่)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเมืองสมุทรปราการ (เฉพาะตำบลสำโรงเหนือ ตำบลเทพารักษ์ ตำบลแพรกษาใหม่ และตำบลแพรกษา)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอเมืองสมุทรปราการ (เฉพาะตำบลบางเมืองใหม่ ตำบลบางเมือง และตำบลท้ายบ้านใหม่)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอบางพลี (ยกเว้นตำบลหนองปรือ)
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอบางบ่อ, อำเภอเมืองสมุทรปราการ (เฉพาะตำบลบางปู), อำเภอบางพลี (เฉพาะตำบลหนองปรือ) และกิ่งอำเภอบางเสาธง
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอพระประแดง (ยกเว้นตำบลบางจาก ตำบลบางครุ และตำบลตลาด)
· เขตเลือกตั้งที่ 7 : อำเภอพระสมุทรเจดีย์และอำเภอพระประแดง (เฉพาะตำบลบางจาก ตำบลบางครุ และตำบลตลาด)
7 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2550 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสมุทรปราการ
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอบางพลี, อำเภอบางเสาธง และอำเภอบางบ่อ
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอพระประแดง และอำเภอพระสมุทรเจดีย์
7 คน (เขต 1 เขตละ 3 คน
ส่วน เขต 2 และ เขต 3 เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2554 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสมุทรปราการ (เฉพาะตำบลบางโปรง ตำบลบางด้วน ตำบลปากน้ำ ตำบลท้ายบ้าน ตำบลบางปูใหม่ และตำบลแพรกษาใหม่)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเมืองสมุทรปราการ (เฉพาะตำบลสำโรงเหนือ ตำบลเทพารักษ์ และตำบลแพรกษา)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอเมืองสมุทรปราการ (เฉพาะตำบลบางเมืองใหม่ ตำบลบางเมือง และตำบลท้ายบ้านใหม่)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอบางพลี (ยกเว้นตำบลหนองปรือ)
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอบางบ่อ, อำเภอบางเสาธง, อำเภอบางพลี (เฉพาะตำบลหนองปรือ) และอำเภอเมืองสมุทรปราการ (เฉพาะตำบลบางปู)
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอพระประแดง (ยกเว้นตำบลบางจากและตำบลบางครุ)
· เขตเลือกตั้งที่ 7 : อำเภอพระสมุทรเจดีย์และอำเภอพระประแดง (เฉพาะตำบลบางจากและตำบลบางครุ)
7 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2562 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสมุทรปราการ (เฉพาะตำบลบางโปรง ตำบลบางด้วน ตำบลปากน้ำ ตำบลบางเมือง และตำบลท้ายบ้าน)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเมืองสมุทรปราการ (เฉพาะตำบลท้ายบ้านใหม่ ตำบลแพรกษา ตำบลแพรกษาใหม่ ตำบลบางปูใหม่ และตำบลบางปู)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอเมืองสมุทรปราการ (เฉพาะตำบลบางเมืองใหม่ ตำบลเทพารักษ์ และตำบลสำโรงเหนือ)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอบางพลี (ยกเว้นตำบลหนองปรือและตำบลราชาเทวะ)
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอบางบ่อ, อำเภอบางเสาธง และอำเภอบางพลี (เฉพาะตำบลหนองปรือและตำบลราชาเทวะ)
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอพระประแดง (ยกเว้นตำบลบางจาก)
· เขตเลือกตั้งที่ 7 : อำเภอพระสมุทรเจดีย์และอำเภอพระประแดง (เฉพาะตำบลบางจาก)
7 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2566 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสมุทรปราการ (เฉพาะตำบลบางโปรง ตำบลบางด้วน ตำบลปากน้ำ ตำบลบางเมือง และตำบลท้ายบ้าน)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเมืองสมุทรปราการ (เฉพาะตำบลท้ายบ้านใหม่ ตำบลแพรกษา ตำบลบางปูใหม่ และตำบลบางปู)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอเมืองสมุทรปราการ (เฉพาะตำบลบางเมืองใหม่ ตำบลเทพารักษ์ และตำบลสำโรงเหนือ)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอบางพลี (เฉพาะตำบลบางแก้วและตำบลบางพลีใหญ่)
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอเมืองสมุทรปราการ (เฉพาะตำบลแพรกษาใหม่), อำเภอบางพลี (ยกเว้นตำบลบางแก้วและตำบลบางพลีใหญ่) และอำเภอบางเสาธง (เฉพาะตำบลศีรษะจรเข้น้อย)
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอพระประแดง (ยกเว้นตำบลบางจาก)
· เขตเลือกตั้งที่ 7 : อำเภอพระสมุทรเจดีย์และอำเภอพระประแดง (เฉพาะตำบลบางจาก)
· เขตเลือกตั้งที่ 8 : อำเภอบางบ่อและอำเภอบางเสาธง (ยกเว้นตำบลศีรษะจรเข้น้อย)
8 คน (เขตละ 1 คน)

รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต

[แก้]

ชุดที่ 1–7; พ.ศ. 2476–2495

[แก้]
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 1 พ.ศ. 2476 นายเขียน กาญจนพันธุ์
ชุดที่ 2 พ.ศ. 2480 ขุนชำนิอนุสาส์น (เส่ง เลาหะจินดา)
ชุดที่ 3 พ.ศ. 2481 นายชอ้อน อำพล
ชุดที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2489
สิงหาคม พ.ศ. 2489 – (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
ชุดที่ 5 พ.ศ. 2491 นายอรุณ พันธ์ุฟัก
พ.ศ. 2492 – (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
ชุดที่ 7 พ.ศ. 2495 นายเผด็จ ศิวะทัต

ชุดที่ 8–9; พ.ศ. 2500

[แก้]
      พรรคเสรีมนังคศิลา
      พรรคประชาธิปัตย์
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 นายเผด็จ ศิวะทัต
ชุดที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2500 นายสุทิน กลับเจริญ

ชุดที่ 10; พ.ศ. 2512

[แก้]
      พรรคสหประชาไทย
ลำดับ ชุดที่ 10 พ.ศ. 2512
1 นายบุญถม เย็นมะโนช
2 นายสุทิน กลับเจริญ

ชุดที่ 11–13; พ.ศ. 2518–2522

[แก้]
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคสังคมชาตินิยม
      พรรคประชากรไทย
      พรรคชาติประชาชน
เขต ชุดที่ 11 พ.ศ. 2518 ชุดที่ 12 พ.ศ. 2519 ชุดที่ 13 พ.ศ. 2522
1 นายสนิท กุลเจริญ นายสนิท กุลเจริญ
นายสุธีร์ อัศวาณิชย์ นายสมรรค ศิริจันทร์
นายวัฒนา อัศวเหม นายวัฒนา อัศวเหม

ชุดที่ 14–15; พ.ศ. 2526–2529

[แก้]
      พรรคชาติไทย
      พรรคประชากรไทย
      พรรคราษฎร
      พรรคประชาธิปัตย์
เขต ชุดที่ 14 พ.ศ. 2526 ชุดที่ 15 พ.ศ. 2529
1 นายวัฒนา อัศวเหม นายวัฒนา อัศวเหม
นายสนิท กุลเจริญ
2 นายประเสริฐ สุขวัฒน์ ว่าที่ร้อยตรี ณัฐ ศรีเฟื่องฟุ้ง
นายสมรรค ศิริจันทร์

ชุดที่ 16; พ.ศ. 2531

[แก้]
      พรรคราษฎร
      พรรคประชากรไทย
      พรรคชาติไทย
เขต ชุดที่ 16 พ.ศ. 2531
1 นายวัฒนา อัศวเหม
นายสนิท กุลเจริญ
นายสมชาย สาดิษฐ์
2 นายสมพร อัศวเหม
นายประเสริฐ สุขวัฒน์

ชุดที่ 17–20; พ.ศ. 2535–2539

[แก้]
      พรรคชาติไทย
      พรรคประชากรไทย
      พรรคพลังธรรม
      พรรคประชากรไทยพรรคราษฎร
เขต ชุดที่ 17
มีนาคม พ.ศ. 2535
ชุดที่ 18
กันยายน พ.ศ. 2535
ชุดที่ 19 พ.ศ. 2538 ชุดที่ 20 พ.ศ. 2539
1 นายวัฒนา อัศวเหม นายวัฒนา อัศวเหม
นายสนิท กุลเจริญ ว่าที่เรือโท วัลลภ ยังตรง นายพูนผล อัศวเหม
นายประดิษฐ์ ยั่งยืน นายสมชาย สาดิษฐ์ นายสนิท กุลเจริญ
2 พลอากาศเอก สมบุญ ระหงษ์ นายประเสริฐ สุขวัฒน์ นายประดิษฐ์ ยั่งยืน พลอากาศเอก สมบุญ ระหงษ์
นายสมพร อัศวเหม นายสมพร อัศวเหม
นายมั่น พัธโนทัย นายมั่น พัธโนทัย

ชุดที่ 21–22; พ.ศ. 2544–2548

[แก้]
      พรรคไทยรักไทย
      พรรคราษฎรพรรคมหาชน
เขต ชุดที่ 21[3] พ.ศ. 2544 ชุดที่ 22[4] พ.ศ. 2548
1 ว่าที่เรือโท วัลลภ ยังตรง นายสงคราม กิจเลิศไพโรจน์
2 นายประเสริฐ เด่นนภาลัย
3 นายประชา ประสพดี ว่าที่เรือโท วัลลภ ยังตรง
4 นายจิรพันธ์ ลิ้มสกุลศิริรัตน์
5 นางสลิลทิพย์ ชัยสดมภ์
6 นางสาวเรวดี รัศมิทัต
( / เลือกตั้งใหม่)
นางสาวเรวดี รัศมิทัต
7 - นายประชา ประสพดี

ชุดที่ 23; พ.ศ. 2550

[แก้]
      พรรคพลังประชาชน
      พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
      พรรคพลังประชาชนพรรคภูมิใจไทย
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคเพื่อไทย
เขต ชุดที่ 23[5] พ.ศ. 2550
1 นางอนุสรา ยังตรง
นายประเสริฐ ชัยกิจเด่นนภาลัย
นายสงคราม กิจเลิศไพโรจน์
(ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี)
นางสาวสรชา วีรชาติวัฒนา
(แทนนายสงคราม / )
นางอรุณลักษณ์ กิจเลิศไพโรจน์
(แทนนางสาวสรชา)
2 นายนที สุทินเผือก
นายจิรพันธ์ ลิ้มสกุลศิริรัตน์
3 นายประชา ประสพดี
นางนฤมล ธารดำรงค์

ชุดที่ 24–25; พ.ศ. 2554–2562

[แก้]
      พรรคเพื่อไทย
      พรรคภูมิใจไทย
      พรรคพลังประชารัฐ
      พรรคอนาคตใหม่พรรคก้าวไกล
เขต ชุดที่ 24 พ.ศ. 2554 ชุดที่ 25 พ.ศ. 2562
1 นางอรุณลักษณ์ กิจเลิศไพโรจน์ นายอัครวัฒน์ อัศวเหม
2 นายประเสริฐ ชัยกิจเด่นนภาลัย นายยงยุทธ สุวรรณบุตร
3 นางอนุสรา ยังตรง นางสาวภริม พูลเจริญ
4 นายวรชัย เหมะ นายวุฒินันท์ บุญชู
5 นางสลิลทิพย์ สุขวัฒน์ นายกรุงศรีวิไล สุทินเผือก
( / ถูกศาลฎีกาแผนกคดีเลือกตั้งสั่งพ้นจากตำแหน่ง / เลือกตั้งซ่อม)
6 นางสาวเรวดี รัศมิทัต นายฐาปกรณ์ กุลเจริญ
7 นายประชา ประสพดี นางสาวไพลิน เทียนสุวรรณ
(ลาออก / ไม่มีการเลือกตั้งซ่อม)

ชุดที่ 26; พ.ศ. 2566

[แก้]
      พรรคก้าวไกลพรรคประชาชน (พ.ศ. 2567)
เขต ชุดที่ 26 พ.ศ. 2566
1 นางสาวพนิดา มงคลสวัสดิ์
2 นางสาวรัชนก สุขประเสริฐ
3 นายพิชัย แจ้งจรรยาวงศ์
4 นายวุฒินันท์ บุญชู
5 นางสาวนิตยา มีศรี
6 นายวีรภัทร คันธะ
7 นายบุญเลิศ แสงพันธุ์
8 นายตรัยวรรธน์ อิ่มใจ

รูปภาพ

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งและเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัดจะพึงมี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 140 (14 ก): 38–42. 3 มีนาคม 2566.
  2. สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจากการเลือกตั้งครั้งแรก จาก เว็บไซต์ สำนักข่าวออนไลน์อาร์วายทีไนน์
  3. ทำเนียบสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่ 21 เก็บถาวร 2011-07-07 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน จาก เว็บไซต์ รัฐสภาไทย
  4. ทำเนียบสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่ 22 เก็บถาวร 2011-07-07 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน จาก เว็บไซต์ รัฐสภาไทย
  5. สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดที่ 23 เก็บถาวร 2010-03-10 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน จาก เว็บไซต์ รัฐสภาไทย

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]