จังหวัดชุมพรในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดชุมพรในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562

← พ.ศ. 2557 (โมฆะ) 24 มีนาคม พ.ศ. 2562 พ.ศ. 2566 →

3 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน395,813
ผู้ใช้สิทธิ77.93%
  First party Second party Third party
  ไฟล์:Suthep royal.ipg
พรรค ประชาธิปัตย์ รวมพลังประชาชาติไทย พลังประชารัฐ
เลือกตั้งล่าสุด 3 พรรคใหม่ พรรคใหม่
ที่นั่งที่ชนะ 2 1 0
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง1 เพิ่มขึ้น1 Steady0
คะแนนเสียง 94,845 54,059 70,499
% 32.92 18.76 24.47

ผลการเลือกตั้งตามเขตการเลือกตั้ง

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562 ในจังหวัดชุมพร กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2562 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 3 เขตเลือกตั้ง[1] โดยแต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 1 คน

ภาพรวม[แก้]

แบ่งตามพรรค[แก้]

พรรค จำนวน
ผู้สมัคร
คะแนนเสียง ที่นั่ง
จน. % จน. +/– %
ประชาธิปัตย์ 3 94,845 32.92% 2 ลดลง1 66.67%
รวมพลังประชาชาติไทย 3 54,095 18.76% 1 เพิ่มขึ้น1 33.33%
พลังประชารัฐ 3 70,499 24.47% 0 Steady 0.00%
อื่น ๆ 86 68,652 23.85% 0 Steady 0.00%
ผลรวม 95 288,091 100.00% 3 Steady 100.00%

แบ่งตามเขต[แก้]

เขตเลือกตั้ง ประชาธิปัตย์ รวมพลังประชาชาติไทย พลังประชารัฐ อื่น ๆ ผลรวม ผลการเลือกตั้ง
คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง %
เขต 1 42,683 44.49% 251 0.26% 32,219 33.58% 20,792 21.67% 95,945 100.00% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
เขต 2 32,765 33.88% 12,344 12.77% 26,037 26.93% 25,549 26.42% 96,695 100.00% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
เขต 3 19,397 20.32% 41,464 43.44% 12,243 12.83% 22,347 23.41% 95,451 100.00% รวมพลังประชาชาติไทย ได้ที่นั่ง
ผลรวม 94,845 32.92% 54,059 18.76% 70,499 24.47% 68,652 23.85% 288,091 100.00%

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต[แก้]

เขต 1เขต 2เขต 3

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขต 1[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วย อำเภอเมืองชุมพร (ยกเว้นตำบลวังใหม่ ตำบลบ้านนา ตำบลหาดพันไกร ตำบลบางลึกและตำบลถ้ำสิงห์) และอำเภอสวี (ยกเว้นตำบลเขาทะลุและตำบลเขาค่าย)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดชุมพร เขต 1
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ ชุมพล จุลใส (7)* 42,683 44.49
พลังประชารัฐ ชวลิต อาจหาญ (5) 32,219 33.58
อนาคตใหม่ ชาญวิทย์ ใจสว่าง (11) 10,347 10.78
เสรีรวมไทย จเด็จ ครูศากยวงศ์ (4) 2,813 2.93
เศรษฐกิจใหม่ ไพรัตน์ คูอมรพัฒนะ (24) 1,273 1.33
ชาติพัฒนา สุวิชาดา พุทธเกิด (6) 1,169 1.22
ภูมิใจไทย สมชาย ทองพูล (10) 1,051 1.10
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย สุรพล เมฆนิติ (8) 712 0.74
ทางเลือกใหม่ เกษมสันต์ วงศ์สุวัฒน์ (3) 388 0.40
เพื่อชาติ วรพันธ์ สุขประวิทย์ (14) 378 0.39
กรีน หนึ่งฤทัย พันกุ่ม (12) 334 0.35
พลังประชาธิปไตย รจนา เพชรกำเหนิด (27) 332 0.35
พลังท้องถิ่นไท สุชีพ ท้าวเชื้อลาว (2) 320 0.33
พลังไทยรักไทย วงศ์ผกา วงษ์สวัสดิ์ (25) 316 0.33
ไทยศรีวิไลย์ อภิโรจน์ ปิยพันธ์รัตนกุล (15) 297 0.31
ชาติไทยพัฒนา เกรียงศักดิ์ จังคสุต (9) 263 0.27
รวมพลังประชาชาติไทย จเรย์ พรหมมาตย์ (13) 251 0.26
พลังไทสร้างชาติ อัคคณัฐ ขุนนิช (21) 194 0.20
มหาชน มนตรี พุ่มพวง (22) 107 0.11
พลังไทยรักชาติ สิบเอก สำนวน ดาวตุ่น (20) 86 0.09
ประชาธรรมไทย ปพน รัตนโสภา (19) 72 0.08
ภาคีเครือข่ายไทย ศิเรมอร พูลสวัสดิ์ (26) 62 0.06
คลองไทย สิริพร เลื่อนฉวี (17) 61 0.06
ครูไทยเพื่อประชาชน จักรกฤษณ์ จันทร์อุดม (18) 58 0.06
ไทรักธรรม แสงวิจิตร ทวิชศรี (28) 58 0.06
ประชาภิวัฒน์ ชณัญชิดา เผือกทอง (16) 55 0.06
ประชานิยม สมบัติ ทองหัตถา (23) 46 0.05
ไทยรักษาชาติ ทนายเสือธนพล สุขปาน (1)
ผลรวม 95,945 100.00
บัตรดี 95,945 93.52
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,334 2.27
บัตรเสีย 4,322 4.21
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 102,601 77.11
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 133,059 100
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

เขต 2[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วย อำเภอท่าแซะ อำเภอปะทิวและอำเภอเมืองชุมพร (เฉพาะตำบลวังใหม่ ตำบลบ้านนา ตำบลหาดพันไกร ตำบลบางลึก และตำบลถ้ำสิงห์)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดชุมพร เขต 2
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ สราวุธ อ่อนละมัย (8)* 32,765 33.88
พลังประชารัฐ สมบูรณ์ หนูนวล (4) 26,037 26.93
รวมพลังประชาชาติไทย สันต์ แซ่ตั้ง (5) 12,344 12.77
อนาคตใหม่ วันทนา นาคสิงห์คราญ (1) 8,674 8.97
ภูมิใจไทย นิพล แดงลาศ (6) 4,966 5.14
เพื่อไทย รุจินาถ ศรีสุวรรณ (14) 4,895 5.06
เสรีรวมไทย พิเชษฐ์ ศรีสดใส (3) 1,468 1.52
เศรษฐกิจใหม่ กชกานต์ สุนทรเพราะ (28) 1,109 1.15
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย มนตรี พรหมฤทธิ์ (7) 638 0.66
ชาติไทยพัฒนา หาญรบ ตุงคะเสน (11) 550 0.57
ประชาชาติ ภาณุมาศ เพ็ชรคีรี (12) 358 0.37
ไทยศรีวิไลย์ สากล พงษ์ประยูร (19) 358 0.37
เพื่อชาติ พันเอก พรพจน์ โชติ ณ ภาลัย (16) 354 0.37
กรีน อภิศักดิ์ ศรีเผด็จ (2) 287 0.30
ประชาธรรมไทย สมโภชน์ ศรีสุภา (25) 222 0.23
พลังท้องถิ่นไท อำนาจ ณรงค์น้อย (15) 214 0.22
พลังประชาธิปไตย ประจวบ แก้วประสงค์ (32) 204 0.21
ทางเลือกใหม่ ธนภัทร ประสิทธิ์ (9) 196 0.20
ชาติพัฒนา กฤษณะ ศุภสุทธิ์ (22) 183 0.19
เพื่อธรรม ดาบตำรวจ ประดิษฐ์ ขำขาว (10) 133 0.14
มหาชน จิณณาวัฒน์ สินลอย (26) 127 0.13
ครูไทยเพื่อประชาชน อำนาจ เอียดมิ่ง (23) 126 0.13
ประชาภิวัฒน์ คมการ ศรีลาวรรณ (20) 80 0.08
คลองไทย สมมล ชัยวัฒน์จตุพร (21) 70 0.07
พลังชาติไทย โอฬาร ประสมรัตน์ (27) 60 0.06
ไทรักธรรม ธนา แก้วจำรูญ (34) 57 0.06
พลเมืองไทย นัยนา สุวรรณวิธี (30) 56 0.06
ประชาไทย อังสุมาลี พงษ์สุข (31) 50 0.05
ประชาชนปฏิรูป ธวัช นุ้ยรัตน์ (17) 45 0.05
ประชานิยม อวยพร พรหมสถิตย์ (29) 39 0.04
ภาคีเครือข่ายไทย เสริญ ปานชัน (33) 30 0.03
ไทยรักษาชาติ อำนาจ อินทนา (13)
พลังไทยรักไทย กิตติศักดิ์ รุ่งแดง (18)
พลังไทสร้างชาติ ปราณี สุขไหม (24)
ผลรวม 96,695 100.00
บัตรดี 96,695 92.36
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,065 1.97
บัตรเสีย 5,933 5.67
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 104,589 79.38
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 131,763 100
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

เขต 3[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วย อำเภอหลังสวน อำเภอละแม อำเภอพะโต๊ะ อำเภอทุ่งตะโกและอำเภอสวี (เฉพาะตำบลเขาทะลุและตำบลเขาค่าย)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดชุมพร เขต 3
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
รวมพลังประชาชาติไทย สุพล จุลใส (24) 41,464 43.44
ประชาธิปัตย์ ธีระชาติ ปางวิรุฬห์รักษ์ (8)* 19,397 20.32
พลังประชารัฐ ทวีป เพ็ชร์สุวรรณ์ (5) 12,243 12.83
อนาคตใหม่ เฉลิมพล พวงบุปผา (7) 7,438 7.79
เพื่อไทย ไตรฤกษ์ มือสันทัด (6) 3,368 3.53
เพื่อชาติ จัตุรนต์ คชสีห์ (11)✔ 1,682 1.76
เสรีรวมไทย ภิญโญ ฤทธิชัย (13) 1,549 1.62
ทางเลือกใหม่ ปฐมพัทธ์ วงศ์สุวัฒน์ (4) 1,464 1.53
ภูมิใจไทย ประพันธ์ ศรีสวัสดิ์ (10) 761 0.80
กรีน พีรพงศ์ แซ่หลี (15) 739 0.77
ชาติไทยพัฒนา เบญจางค์ นิยมธรรมชาติ (1) 720 0.75
พลังท้องถิ่นไท ปวีณา อินทมาตย์ (2) 704 0.74
เศรษฐกิจใหม่ ณรงค์ นิตยา (22) 690 0.72
ไทยศรีวิไลย์ ณคณา ศรีคำเงิน (18) 444 0.47
พลังไทสร้างชาติ ถานันทร์ นวลสะอาด (25) 416 0.44
ภราดรภาพ พงษธัช คมอนันต์ (28) 402 0.42
ประชาชาติ เสริมสุข ไฝขาว (3) 373 0.39
ครูไทยเพื่อประชาชน วิทย นาควิเชียร (23) 234 0.25
แผ่นดินธรรม ศุภกิต มนต์อุ่น (21) 222 0.23
ประชานิยม ภัสรศักย์ คงบุญจรณบูรณ์ (14) 167 0.17
พลังประชาธิปไตย ประพันธ์ นิยมไทย (31) 157 0.16
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย มินทร์รฐา ปัญจพลวราธรณ์ (9) 143 0.15
ประชาชนปฏิรูป ชัยวัฒน์ ขวัญโต (16) 139 0.15
พลังไทยรักไทย บุญตา จันทร์ภักดี (26) 117 0.12
พลังศรัทธา วราพร ช่วยเพชร (29) 105 0.11
พลเมืองไทย มนุเชษฐ์ ดำนาค (33) 96 0.10
ประชาภิวัฒน์ อานนท์ อินทร์ณรงค์ (17) 60 0.06
มหาชน ลิขิต พรหมมาตย์ (27) 60 0.06
ไทรักธรรม สุรีย์พร จีนหีด (32) 50 0.05
พลังไทยรักชาติ สุภาภรณ์ แซ่ก้อง (20) 16 0.02
ภาคีเครือข่ายไทย พิมพ์ชนา คณะครุฑชัยนันท์ (30) 16 0.02
คลองไทย อมรรัตน์ เลื่อนฉวี (19) 15 0.02
ไทยรักษาชาติ อนุวัฒน์ ฮวดศิริ (12)
ผลรวม 95,451 100.00
บัตรดี 95,451 94.25
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,944 1.92
บัตรเสีย 3,878 3.83
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 101,273 77.31
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 130,991 100
รวมพลังประชาชาติไทย ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. พลวุฒิ สงสกุล (19 Sep 2018). "แบ่งเขตเลือกตั้งใหม่ เตรียมหย่อนบัตรปี 62 ส.ส. ลด 23 จังหวัด อีสานหด 10 ที่นั่ง". THE STANDARD. สืบค้นเมื่อ 19 Feb 2019.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]