จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดชุมพรในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2539
|
← พ.ศ. 2538 |
17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 |
พ.ศ. 2544 → |
|
3 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย |
---|
ลงทะเบียน | 291,071 |
---|
ผู้ใช้สิทธิ | 60.05% |
---|
|
|
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชุมพร พ.ศ. 2539 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2539 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 1 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 3 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อปี พ.ศ. 2538 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน[1]
ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต
[แก้]
สัญลักษณ์และความหมาย
|
* |
ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
|
** |
ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
|
† |
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
|
✔ |
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
|
( ) |
หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
|
ตัวหนา |
ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง
|
เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบไปด้วยจังหวัดชุมพรทั้งจังหวัด
ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดชุมพร
|
พรรค
|
ผู้สมัคร
|
คะแนนเสียง
|
%
|
±
|
|
ประชาธิปัตย์
|
สุวโรช พะลัง (5)*
|
158,564
|
92.85
|
|
|
ประชาธิปัตย์
|
สุชาติ แก้วนาโพธิ์ (4)*
|
147,920
|
86.62
|
|
|
ประชาธิปัตย์
|
ศิริศักดิ์ อ่อนละมัย (6)*
|
142,296
|
83.32
|
|
|
ความหวังใหม่
|
จัตุรนต์ คชสีห์ (1)✔
|
28,969
|
16.96
|
|
|
ความหวังใหม่
|
วีรเทพ สุวรรณสว่าง (2)✔
|
12,569
|
7.36
|
|
|
ความหวังใหม่
|
ฐิติกร อุดมประมวล (3)
|
5,264
|
3.08
|
|
|
มวลชน
|
พันตำรวจตรี เสงี่ยม สำราญรัตน์ (7)
|
3,100
|
1.81
|
|
|
มวลชน
|
ธงชัย อุโพธิ์ (8)
|
828
|
0.48
|
|
|
มวลชน
|
พงศกร นวนละมัย (9)
|
534
|
0.31
|
|
|
เสรีประชาธิปไตย
|
อุทัย อุ่นภิรมย์ (12)
|
250
|
0.14
|
|
|
เสรีประชาธิปไตย
|
สิบตรี นิโรจน์ นิลสถิตย์ (11)
|
209
|
0.12
|
|
|
เสรีประชาธิปไตย
|
ร้อยตำรวจเอก ภิรมย์ นิลสถิตย์ (10)
|
198
|
0.11
|
|
บัตรดี
|
170,768
|
97.70
|
–
|
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
|
703
|
0.40
|
–
|
บัตรเสีย
|
3,322
|
1.90
|
–
|
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
|
174,793
|
60.05
|
–
|
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
|
291,071
|
100.00
|
—
|
|
ประชาธิปัตย์
รักษาที่นั่ง
|
|
ประชาธิปัตย์
รักษาที่นั่ง
|
|
ประชาธิปัตย์
รักษาที่นั่ง
|
|
---|
เลือกตั้งทั่วไป | |
---|
เลือกตั้งซ่อม | |
---|