จังหวัดชุมพรในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดชุมพรในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554

← พ.ศ. 2550 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 พ.ศ. 2557 (โมฆะ) →

3 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ผู้ใช้สิทธิ77.09%
  First party Second party
 
พรรค ประชาธิปัตย์ เพื่อไทย
ที่นั่งก่อนหน้า 3 0
ที่นั่งที่ชนะ 3 0
ที่นั่งเปลี่ยน Steady0 Steady0
คะแนนเสียง 217,948 18,261
% 84.46 7.08

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
ประชาธิปัตย์

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร
เพื่อไทย

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชุมพร พ.ศ. 2554 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 3 เขตเลือกตั้ง[1] จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อปี 2550 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 1 คน

บรรยากาศการเลือกตั้ง[แก้]

บรรยากาศการหาเสียงเลือกตั้งซบเซามาก เนื่องจากผู้สมัครของแต่ละพรรคการเมืองที่ส่งลงสมัครในแต่ละเขตไม่ค่อยออกหาเสียง และชาวบ้านส่วนใหญ่ไม่เคยรู้จัก หรือมีบทบาททางการเมืองในพื้นที่มาก่อนเลย ยกเว้นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรพรรคประชาธิปัตย์

มีกระแสวิพากษ์วิจารณ์นายสราวุธ อ่อนละมัย ผู้สมัครจากพรรคประชาธิปัตย์ซึ่งเป็นบุตรชาย ของนายศิริศักดิ์ อ่อนละมัย นักจัดรายการวิทยุชื่อดัง และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชุมพร หลายสมัย ซึ่งนายศิริศักดิ์ อ่อนละมัย ต้องวางมือจากการเมืองระดับประเทศ และส่งบุตรชายลงสู่เวทีการเมืองระดับประเทศแทน เนื่องจากถูกกระแสกดดันเรื่องใบสุทธิที่ศาลชั้นต้นพิพากษาคดีไปแล้ว โดยนายสราวุธ ถูกพรรคประชาธิปัตย์วางตัวให้ไปลงสมัครรับเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเขต 2[2]

ภาพรวม[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ (รวมทั้งจังหวัดชุมพร)[แก้]

พรรค คะแนนเสียง
จน. % +/–
ประชาธิปัตย์ 217,948 84.46% ลดลง5.58%
เพื่อไทย 18,261 7.08% เพิ่มขึ้น2.56%
อื่น ๆ 21,950 8.46% เพิ่มขึ้น3.02%
ผลรวม 258,059 100.00%
  • คะแนนเลือกตั้งบัญชีรายชื่อพรรคเพื่อไทย เปรียบเทียบจากคะแนนเลือกตั้งแบบสัดส่วนของ พรรคพลังประชาชน
คะแนนเสียง
ประชาธิปัตย์
  
84.46%
เพื่อไทย
  
7.08%
อื่น ๆ
  
8.46%

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ (รายเขตเลือกตั้ง)[แก้]

เขตการเลือกตั้ง ประชาธิปัตย์ เพื่อไทย อื่น ๆ ผลรวม ผลการเลือก ส.ส.แบ่งเขต
คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง %
เขต 1 74,137 86.40% 5,268 6.14% 6,406 7.47% 85,811 100.00% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
เขต 2 74,378 84.63% 5,875 6.69% 7,636 8.69% 87,889 100.00% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
เขต 3 69,433 82.31% 7,118 8.44% 7,808 9.26% 84,359 100.00% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ผลรวม 217,948 84.46% 18,261 7.08% 21,950 8.46% 258,059 100.00%

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต (รวมทั้งจังหวัดชุมพร)[แก้]

พรรค จำนวน
ผู้สมัคร
คะแนนเสียง ที่นั่ง
จน. % จน. +/– %
ประชาธิปัตย์ 3 203,185 83.67% 3 Steady 100.00%
เพื่อไทย 3 21,811 8.98% 0 Steady 0.00%
อื่น ๆ 12 17,845 7.35% 0 Steady 0.00%
ผลรวม 18 242,841 100.00% 3 Steady 100.00%
คะแนนเสียง
ประชาธิปัตย์
  
83.67%
เพื่อไทย
  
8.98%
อื่น ๆ
  
7.35%
ที่นั่ง
ประชาธิปัตย์
  
100.00%

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต (รายเขตเลือกตั้ง)[แก้]

เขตการเลือกตั้ง ประชาธิปัตย์ เพื่อไทย อื่น ๆ ผลรวม ผลการเลือก ส.ส.แบ่งเขต
คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง %
เขต 1 72,663 91.42% 5,517 6.94% 1,305 1.64% 79,485 100.00% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
เขต 2 66,743 78.99% 5,680 6.72% 12,078 14.29% 84,501 100.00% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
เขต 3 63,779 80.88% 10,614 13.46% 4,462 5.66% 78,855 100.00% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ผลรวม 203,185 83.67% 21,811 8.98% 17,845 7.35% 258,059 100.00%

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ[แก้]

e • d ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ จังหวัดชุมพร
พรรค คะแนนเสียง ร้อยละ
เพื่อไทย (1) 18,261 7.08
ชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน (2) 1,002 0.39
ประชาธิปไตยใหม่ (3) 1,147 0.45
ประชากรไทย (4) 117 0.05
รักประเทศไทย (5) 6,664 2.58
พลังชล (6) 82 0.03
ประชาธรรม (7) 48 0.02
ดำรงไทย (8) 42 0.02
พลังมวลชน (9) 481 0.19
ประชาธิปัตย์ (10) 217,948 84.46
ไทยพอเพียง (11) 488 0.19
รักษ์สันติ (12) 645 0.25
ไทยเป็นสุข (13) 27 0.01
กิจสังคม (14) 240 0.09
ไทยเป็นไท (15) 53 0.02
ภูมิใจไทย (16) 2,260 0.88
แทนคุณแผ่นดิน (17) 37 0.01
เพื่อฟ้าดิน (18) 55 0.02
เครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย (19) 53 0.02
การเมืองใหม่ (20) 194 0.08
ชาติไทยพัฒนา (21) 3,935 1.53
เสรีนิยม (22) 82 0.03
ชาติสามัคคี (23) 39 0.02
บำรุงเมือง (24) 27 0.01
กสิกรไทย (25) 53 0.02
มาตุภูมิ (26) 312 0.12
ชีวิตที่ดีกว่า (27) 18 0.01
พลังสังคมไทย (28) 28 0.01
เพื่อประชาชนไทย (29) 76 0.03
มหาชน (30) 2,580 1.00
ประชาชนชาวไทย (31) 95 0.04
รักแผ่นดิน (32) 30 0.01
ประชาสันติ (33) 30 0.01
ความหวังใหม่ (34) 564 0.22
อาสามาตุภูมิ (35) 23 0.01
พลังคนกีฬา (36) 202 0.08
พลังชาวนาไทย (37) 10 0.00
ไทยสร้างสรรค์ (38) 6 0.00
เพื่อนเกษตรไทย (39) 22 0.01
มหารัฐพัฒนา (40) 83 0.03
บัตรดี 258,059 92.73
บัตรเสีย 9,800 3.52
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 10,429 3.75
ผู้มาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง 278,288 77.09
ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง 360,987 100.00

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต[แก้]

เขต 1เขต 2เขต 3

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองชุมพร (ยกเว้นตำบลวังใหม่ ตำบลบ้านนา ตำบลหาดพันไกร ตำบลบางลึก และตำบลถ้ำสิงห์) และอำเภอสวี (ยกเว้นตำบลเขาทะลุและตำบลเขาค่าย)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดชุมพร
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ ชุมพล จุลใส (10)* 72,663 91.42
เพื่อไทย ชโยดม สระภูริพงศ์ (1) 5,517 6.94
ชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน ประวิทย์ สายโอภาส (2) 903 1.14
พลังคนกีฬา ว่าที่ร้อยตรีหญิง ธัญชนก รัตนศิลา (36) 185 0.23
อนาคตไทย สุวรรณดี พวงดอกไม้ (41) 132 0.17
ความหวังใหม่ อัครพงษ์ นิลสุวรรณ (34) 85 0.11
ผลรวม 79,485 100.00
บัตรดี 79,485 85.35
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 8,079 8.68
บัตรเสีย 5,555 5.97
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 93,119 75.76
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 122,908 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 2[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอท่าแซะ อำเภอปะทิว และอำเภอเมืองชุมพร (เฉพาะตำบลวังใหม่ ตำบลบ้านนา ตำบลหาดพันไกร ตำบลบางลึก และตำบลถ้ำสิงห์)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดชุมพร
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ สราวุธ อ่อนละมัย (10)* 66,743 78.99
ภูมิใจไทย สำเริง พุ่มพะเนิน (16) 11,330 13.41
เพื่อไทย รุจินาถ ศรีสุวรรณ (1) 5,680 6.72
ชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน ต่อศักดิ์ เจียรนัย (2) 671 0.79
พลังคนกีฬา จิราพัชร สุชีพ (36) 77 0.09
อนาคตไทย ทวีพร หมื่นดวง (41) 2 0.00
ผลรวม 84,501 100.00
บัตรดี 84,501 90.31
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 4,017 4.29
บัตรเสีย 5,052 5.40
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 93,570 79.73
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 117,365 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 3[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วยอำเภอหลังสวน อำเภอละแม อำเภอพะโต๊ะ อำเภอทุ่งตะโก และอำเภอสวี (เฉพาะตำบลเขาทะลุ และตำบลเขาค่าย)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 3 จังหวัดชุมพร
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ ธีระชาติ ปางวิรุฬห์รักษ์ (10)* 63,779 80.88
เพื่อไทย เฉลิมชัย นิยมไท (1) 10,614 13.46
ชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน ทัพพ์ฐพนธ์ ธรรมภักดี (2) 3,420 4.34
ความหวังใหม่ วินัย เพชรประสงค์ (34) 666 0.85
พลังคนกีฬา บุญญฤทธิ์ ยอดอุดม (36) 311 0.39
เพื่อฟ้าดิน มงคล จันทร์ทรง (16) 65 0.08
ผลรวม 78,855 100.00
บัตรดี 78,855 86.08
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 6,766 7.39
บัตรเสีย 5,979 6.53
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 91,600 75.88
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 120,714 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

อ้างอิง[แก้]

  1. สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง. "ข้อมูลสถิติการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2554" (PDF). สืบค้นเมื่อ 13 ธันวาคม 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  2. การเลือกตั้งจังหวัดชุมพร[ลิงก์เสีย]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]