ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สถานีกลางกรุงเทพอภิวัฒน์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ย้อนด้วยมือ ถูกย้อนกลับแล้ว การแก้ไขแบบเห็นภาพ
บรรทัด 12: บรรทัด 12:
| opened = 2 สิงหาคม พ.ศ. 2564
| opened = 2 สิงหาคม พ.ศ. 2564
| owned = [[ไฟล์:State Railway of Thailand Logo 2019.svg|23px]] [[การรถไฟแห่งประเทศไทย]]
| owned = [[ไฟล์:State Railway of Thailand Logo 2019.svg|23px]] [[การรถไฟแห่งประเทศไทย]]
|map_dot_label=Bang Sue Grand Station|show mapframe map=Default: no}}
|map_dot_label=Bang Sue Grand Station|show mapframe map=Default: no|style=กำี|style2=ำ่|cta_header=ด|custom_header=ด|name_lang=ด|การกินกล้าม=ะ|hanja=รน|hangul=รั|rr=พี่|mr=พดา่|local_authority=หลู|footnotes=พ|map_image_upright=ั|map_size=หลีส|map_caption=ัี|map_label_position=ีร้่|pushpin_outside=้่|map_overlay=ี่พ|map_alt=พี่|AlternativeMap=กนส|mapframe=้ิ่|map_image=พด|map_type=้ห|map_name=ำา|map_state=้ีพ|route_map=้ี|nrhp=้พ|embedded=พด่|other_services2_header=พด่า|other_services2_collapsible=ด|other_services=่|other_services_collapsible=่|other_services_header=่|other_services2=่|services_collapsible=่|services=พี|pass_rank=ี้ดุ่ถพุพีึั|pass_percent=เัะ้|pass_year=ถะ่้ัีร|pass_system=กดืท่|mpassengers=พ้ี|passengers=พำีร|events12=รไำ|years12=้่|events11=่|years11=่|events10=่|years10=่|events9=่|years9=่|events8=่|years8=ี่|events7=ัคึ|years7=้ี|events6=ี่|years6=้่|events5=ี่|years5=้่|events4=ดำ้่|years4=ไำา่|events3=ำ้|years3=้|events2=้|years2=้|events1=้|years1=้|events=้|years=้|start=กหา|starting=ด่|electrified=กอเยฆ|rebuilt=พด้ี|prenational=หลู|pregroup=กอเยฆ|original=ีพด|postgroup=ำำี่|opening=ี|website=น้ำมันคางคก|zone=ี|closed=้ี้า|end=้่าส|ending=ดเ้่|former=เ้่|web=้ดี|status=พดีร|iata=ี|code=หล่อม|classification=่้กดก|structure=พดา่|levels=พีร|disabled=่|depth=่|bicycle=่|native_name=า|native_name_lang=ด|symbol=้|symbol_location=้|symbol6=้|symbol_location6=ด้่|symbol5=กหปท่|symbol_location5=ีรี่ี่|symbol4=้ี|symbol_location4=ีร|symbol3=ีร|symbol_location3=ีร|symbol_location2=า่|symbol2=ด|image_upright=ห|alt=ห|caption=ห|mlanguage=ห|other_name=ห|borough=หฃ|country=ำ|coordinates=ป|grid_name=ห|grid_position=ฟ|elevation=ก|owner=ก|operator=้่|manager=้่|transit_authority=้่|lines=้่|distance=้่|platforms=่้|tracks=ก|train_operators=กอเยฆ|routes=นกเยฆ|bus_routes=นกเยฆ|bus_stands=หกส่้ัีร|bus_operators=ี่้ำ|connections=ก้่|other=กด้่|ADA=่ี|architect=ั้ี|จรัญสนิทวงศ์=า|หมีจอมสื้อบื้อ=ี่}}


طضصشต
{| class="wikitable"
|+
!ร<!-- า่ีร้ััีะเ --><hiero>
w
</hiero><syntaxhighlight lang="abap" line="1">
กอเยฆกกกกอกกัด้ั4ำเ่ปกืิอี้รััำีก
</syntaxhighlight><score lang="lilypond">พีะ้รั่ารนะาัรน่ยตพานะยั</score><gallery>
ไฟล์:รังสิต.jpg|alt=กอเยฆ|จรัญสนิทวงศ์
</gallery><chem>CO2 + C -> 2 COHg^2+ ->[I-] HgI2 ->[I-] {[Hg^{II}I4]^2-}H2OFe^{II}Fe^{III}204</chem><math>่ีพระเ่้คี</math>
!
!
!
|-
|ร<chem>าดพกรนาเพะสก่้า</chem><mapframe latitude="30" longitude="0" zoom="2" width="400" height="300" />
|
|
|
|-
|
|
|
|
|-
|ร<graph>{
"version": 2,
"width": 400,
"height": 200,
"data": [
{
"name": "table",
"values": [
{
"x": 0,
"y": 1
},
{
"x": 1,
"y": 3
},
{
"x": 2,
"y": 2
},
{
"x": 3,
"y": 4
}
]
}
],
"scales": [
{
"name": "x",
"type": "linear",
"range": "width",
"zero": false,
"domain": {
"data": "table",
"field": "x"
}
},
{
"name": "y",
"type": "linear",
"range": "height",
"nice": true,
"domain": {
"data": "table",
"field": "y"
}
}
],
"axes": [
{
"type": "x",
"scale": "x"
},
{
"type": "y",
"scale": "y"
}
],
"marks": [
{
"type": "area",
"from": {
"data": "table"
},
"properties": {
"enter": {
"x": {
"scale": "x",
"field": "x"
},
"y": {
"scale": "y",
"field": "y"
},
"y2": {
"scale": "y",
"value": 0
},
"fill": {
"value": "steelblue"
},
"interpolate": {
"value": "monotone"
}
}
}
}
],
"padding": {
"top": 30,
"bottom": 30,
"left": 30,
"right": 30
}
}</graph>
<references />
|
|
|
|}
'''สถานีกลางกรุงเทพอภิวัฒน์'''<ref name="ชื่อพระราชทาน">{{cite web|url=https://mgronline.com/business/detail/9650000093348|title=พระราชทานชื่อ รถไฟสีแดง-สถานีกลางบางซื่อ "นครวิถี-ธานีรัถยา" และ "สถานีกลางกรุงเทพอภิวัฒน์"|publisher=ผู้จัดการออนไลน์|date=29 กันยายน 2022|accessdate=29 กันยายน 2022}}</ref> ({{lang-en|Krung Thep Aphiwat Central Terminal Station}}) หรือ '''สถานีกลางบางซื่อ''' ({{lang-en|Bang Sue Grand Station}}) เป็นสถานีรถไฟหลักใน[[เขตจตุจักร]] [[กรุงเทพมหานคร]] ถูกตั้งเป้าให้เป็นสถานีรถไฟหลักแห่งใหม่ของประเทศไทยทดแทน[[สถานีรถไฟกรุงเทพ]]เดิมที่จะยกเลิกลงเหลือเพียงสถานีรายทางของ[[รถไฟฟ้าชานเมือง สายสีแดงเข้ม]] ตัวสถานีตั้งอยู่ใจกลาง[[ศูนย์คมนาคมพหลโยธิน]]ในพื้นที่แขวงจตุจักร ใกล้กับศาลเยาวชนและครอบครัวกลางและ[[ปูนซิเมนต์ไทย|บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จำกัด (มหาชน)]] สถานีเปิดใช้งานอย่างไม่เป็นทางการในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2564 โดยถือเป็นสถานีรถไฟกลางที่ใหญ่ที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีชานชาลามากถึง 26 ชานชาลา และเมื่อเปิดบริการครบทุกเส้นทางสถานีแห่งนี้จะเป็นจุดเชื่อมต่อการเดินทางระบบรางที่สำคัญที่สุดของประเทศไทย และของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
'''สถานีกลางกรุงเทพอภิวัฒน์'''<ref name="ชื่อพระราชทาน">{{cite web|url=https://mgronline.com/business/detail/9650000093348|title=พระราชทานชื่อ รถไฟสีแดง-สถานีกลางบางซื่อ "นครวิถี-ธานีรัถยา" และ "สถานีกลางกรุงเทพอภิวัฒน์"|publisher=ผู้จัดการออนไลน์|date=29 กันยายน 2022|accessdate=29 กันยายน 2022}}</ref> ({{lang-en|Krung Thep Aphiwat Central Terminal Station}}) หรือ '''สถานีกลางบางซื่อ''' ({{lang-en|Bang Sue Grand Station}}) เป็นสถานีรถไฟหลักใน[[เขตจตุจักร]] [[กรุงเทพมหานคร]] ถูกตั้งเป้าให้เป็นสถานีรถไฟหลักแห่งใหม่ของประเทศไทยทดแทน[[สถานีรถไฟกรุงเทพ]]เดิมที่จะยกเลิกลงเหลือเพียงสถานีรายทางของ[[รถไฟฟ้าชานเมือง สายสีแดงเข้ม]] ตัวสถานีตั้งอยู่ใจกลาง[[ศูนย์คมนาคมพหลโยธิน]]ในพื้นที่แขวงจตุจักร ใกล้กับศาลเยาวชนและครอบครัวกลางและ[[ปูนซิเมนต์ไทย|บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จำกัด (มหาชน)]] สถานีเปิดใช้งานอย่างไม่เป็นทางการในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2564 โดยถือเป็นสถานีรถไฟกลางที่ใหญ่ที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีชานชาลามากถึง 26 ชานชาลา และเมื่อเปิดบริการครบทุกเส้นทางสถานีแห่งนี้จะเป็นจุดเชื่อมต่อการเดินทางระบบรางที่สำคัญที่สุดของประเทศไทย และของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้



รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:54, 25 ธันวาคม 2565

สถานีกลางกรุงเทพอภิวัฒน์
สถานีรถไฟทางไกลและรถไฟฟ้าชานเมือง
สถานีกลางกรุงเทพอภิวัฒน์ในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2564
ข้อมูลทั่วไป
ที่ตั้ง336 ซอยกำแพงเพชร 2 ถนนเทอดดำริ แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร
เจ้าของ การรถไฟแห่งประเทศไทย
สายรถไฟทางไกลทุกสาย
(กลุ่มขบวนรถด่วนพิเศษ รถด่วน และรถเร็วทุกสาย ยกเว้นแม่แบบ:SRT Lines)
แม่แบบ:BTS Lines
แม่แบบ:BTS Lines
แม่แบบ:BTS Lines
ชานชาลา24 ชานชาลา
โครงสร้าง
ที่จอดรถ1,624 คัน
ประวัติ
เริ่มเปิดให้บริการ2 สิงหาคม พ.ศ. 2564

สถานีกลางกรุงเทพอภิวัฒน์[1] (อังกฤษ: Krung Thep Aphiwat Central Terminal Station) หรือ สถานีกลางบางซื่อ (อังกฤษ: Bang Sue Grand Station) เป็นสถานีรถไฟหลักในเขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร ถูกตั้งเป้าให้เป็นสถานีรถไฟหลักแห่งใหม่ของประเทศไทยทดแทนสถานีรถไฟกรุงเทพเดิมที่จะยกเลิกลงเหลือเพียงสถานีรายทางของรถไฟฟ้าชานเมือง สายสีแดงเข้ม ตัวสถานีตั้งอยู่ใจกลางศูนย์คมนาคมพหลโยธินในพื้นที่แขวงจตุจักร ใกล้กับศาลเยาวชนและครอบครัวกลางและบริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จำกัด (มหาชน) สถานีเปิดใช้งานอย่างไม่เป็นทางการในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2564 โดยถือเป็นสถานีรถไฟกลางที่ใหญ่ที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีชานชาลามากถึง 26 ชานชาลา และเมื่อเปิดบริการครบทุกเส้นทางสถานีแห่งนี้จะเป็นจุดเชื่อมต่อการเดินทางระบบรางที่สำคัญที่สุดของประเทศไทย และของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

นาม กรุงเทพอภิวัฒน์ เป็นชื่อที่พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระราชทานเพื่อเป็นชื่ออย่างเป็นทางการของโครงการสถานีกลางบางซื่อ มีความหมายว่า "ความเจริญรุ่งเรืองยิ่งแห่งกรุงเทพมหานคร"

สถานีกลางกรุงเทพอภิวัฒน์เมื่อเปิดให้บริการเต็มรูปแบบแล้วจะรองรับรถไฟทางไกลของการรถไฟแห่งประเทศไทยทุกเส้นทาง รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดง ระบบรถไฟความเร็วสูงทุกเส้นทาง รถไฟฟ้าเอราวันและรถไฟฟ้าแอร์พอร์ต เรล ลิงก์ รวม 24 ชานชาลา อีกทั้งยังเชื่อมต่อกับ รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลของการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย และยังเป็นส่วนหนึ่งของโครงข่ายระบบขนส่งมวลชนทางราง คุนหมิง - สิงคโปร์ สาย Central Route ที่เป็นเส้นทางรถไฟจากสถานีรถไฟคุนหมิง ประเทศจีน ไปยังสถานีรถไฟจูล่งตะวันออก ประเทศสิงคโปร์ โดยผ่านสถานีกลางกรุงเทพอภิวัฒน์ซึ่งจะทำหน้าที่เป็นสถานีชุมทางในการเปลี่ยนสายระหว่างช่วง กรุงเทพฯ - ลาว - จีน (สายอีสาน) และกรุงเทพฯ - มาเลเซีย - สิงคโปร์ (สายใต้)

เส้นทางรถไฟ

หลังจากเปิดให้บริการในวันที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2564 เส้นทางรถไฟที่ปลายทางและผ่านสถานีกลางกรุงเทพอภิวัฒน์โดยแบ่งตามผู้ให้บริการรถไฟจะมีดังนี้

ข้อมูลทั่วไป

กลางกรุงเทพอภิวัฒน์
Krung Thep Aphiwat Central
กิโลเมตรที่ 7.47

แม่แบบ:ชุมทางขวา แม่แบบ:รถไฟทางตรง แม่แบบ:จบป้ายสถานีรถไฟ สถานีกลางกรุงเทพอภิวัฒน์ก่อสร้างระหว่างพ.ศ. 2556 ถึง 2564 ใช้งบประมาณในย่านสถานีทั้งสิ้น 34,142 ล้านบาท[2] อาคารสถานีมีความยาว 596.6 เมตร ความกว้าง 244 เมตร ความสูง 43 เมตร พื้นที่ใช้สอยในอาคารรวม 274,192 ตารางเมตร (ไม่รวมพื้นที่สถานีใต้ดิน)[2] ออกแบบภูมิสถาปัตย์โดย บริษัท ดีไซน์ คอนเซปท์ จำกัด

ประกอบด้วย 26 ชานชาลา เป็นของการรถไฟแห่งประเทศไทย 24 ชานชาลา และของการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย 2 ชานชาลา

อาคารสถานีมีทั้งหมด 7 ชั้นรวมชั้นใต้ดิน ชั้นใต้ดิน 2 ชั้นฝั่งใต้เป็นสถานีรถไฟฟ้ามหานคร ชั้นใต้ดินส่วนที่เหลือ 1 ชั้นเป็นลานจอดรถใต้ดิน ชั้นเหนือพื้นดินทั้งหมดถูกแบ่งออกเป็นสองส่วนคือส่วนบริการรถไฟ และส่วนบริการผู้โดยสาร สำหรับส่วนบริการรถไฟ ชั้นระดับดินเป็นห้องจำหน่วยตั๋วและโถงพักคอยผู้โดยสาร ชั้นที่สองให้บริการรถไฟรางหนึ่งเมตร ชั้นที่สามให้บริการรถไฟความเร็วสูง และรถไฟฟ้าแอร์พอร์ต เรล ลิงก์ และส่วนบริการผู้โดยสาร ประกอบด้วยชั้นระดับดินเป็นโถงต้อนรับ พื้นที่จำหน่ายบัตรโดยสารสำหรับรถไฟทางไกล และศูนย์อาหาร ชั้นลอยเป็นร้านค้า และชั้น 3 เป็นพื้นที่สำนักงาน ประกอบด้วยสำนักงานใหญ่ของ บริษัท รถไฟฟ้า ร.ฟ.ท. จำกัด ศูนย์ควบคุมการเดินรถไฟฟ้าสายสีแดง และรถไฟที่ใช้ทางร่วม สำนักงานบริหารโครงการรถไฟความเร็วสูง และพื้นที่รองรับแขกวีไอพี

สถานีกลางกรุงเทพอภิวัฒน์จะแตกต่างจากสถานีกรุงเทพเดิมเนื่องจากถูกออกแบบให้เป็นสถานีระบบปิด มีระบบรักษาความปลอดภัยที่เข้มงวดเทียบเท่ากับท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ผู้โดยสารที่ไม่มีตั๋วโดยสารรถไฟจะไม่ได้รับอนุญาตให้ขึ้นไปบนชั้นชานชาลาของสถานีได้ดังเช่นสถานีกรุงเทพเดิม เนื่องจากชั้นชานชาลาถือเป็นพื้นที่เขตหวงห้ามเด็ดขาด ผู้ใดฝ่าฝืนจะถูกดำเนินคดีตามกฎหมายที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2543

ประวัติ

แผนที่ที่ตั้งแสดงอยู่ภายในสถานีกลางกรุงเทพอภิวัฒน์ 26 มีนาคม พ.ศ. 2564

ในปี 2536-2537 รัฐบาลชวน หลีกภัยได้มีการจ้างวานบริษัทที่ปรึกษาในการศึกษาความเป็นไปได้ของรถไฟความเร็วสูง ประกอบไปด้วยบริษัท วิลเบอร์สมิธแอสโซซิเอทส์ อิงค์ , บริษัททรานมาร์ค จำกัด , บริษัท เอเซี่ยน เอ็นจิเนียริ่ง คอลซัลแตนส์ จำกัด , บริษัท ทีมคอลซันติ้ง เอนจิเนียร์ จำกัด ผลการศึกษาพบว่าควรสร้างสายกรุงเทพ-หนองงูเห่า-ระยอง โดยให้เหตุผลว่าความคุ้มค่าทางเศรษฐกิจและช่วยสนับสนุนพื้นที่ชายฝั่งทะเลตะวันออก ได้มีการอนุมัติเมื่อวันที่ 30 สิงหาคม 2537 โดยตั้งพื้นที่ห้วยขวางเป็นสถานีกลางกรุงเทพ[3] แต่โครงการถูกชะงักเพราะเกิดการยุบสภา[4]ก่อนที่จะมีการปรับสถานีกลางกรุงเทพเป็นสถานีกลางบางซื่อตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อ 22 พฤษภาคม 2550 ในรัฐบาลสุรยุทธ์ จุลานนท์ [5] โดยที่พื้นที่สถานีกลางกรุงเทพเดิม ปัจจุบันถูกใช้ประโยชน์เป็นที่ทำการใหญ่การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย และศูนย์ซ่อมบำรุงของโครงการรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล และรถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม

ในคราวการก่อสร้างโครงการรถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงอ่อน ช่วงบางซื่อ-ตลิ่งชัน เมื่อ พ.ศ. 2552 ได้ออกแบบให้มีการก่อสร้างทางยกระดับบางส่วนสำหรับเข้าสถานีกลางบางซื่อ แต่ครั้งนั้นยังไม่อนุมัติให้มีการก่อสร้างตัวสถานี เนื่องจากปัญหาการบุกรุกพื้นที่ และความไม่ชัดเจนในการออกแบบตัวสถานี ทำให้มีการโยกงานติดตั้งเสาจ่ายไฟฟ้าและสายส่งไฟฟ้า (OCS) ทั้งหมดไปรวมกับสายสีแดงเข้ม เพื่อเปลี่ยนระบบเป็นระบบไฟฟ้าในคราวเดียว จึงทำให้โครงการถูกทิ้งร้าง ไม่ได้มีการใช้งานตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา

ในปี พ.ศ. 2553 ในสมัยรัฐบาล อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ได้อนุมัติโครงการสถานีกลางบางซื่อ โดยถูกเสนอเข้าเป็นส่วนหนึ่งของโครงการรถไฟฟ้าชานเมือง สายสีแดง ซึ่งเดิมกำหนดให้มีโครงสร้างสถานีจำนวน 2 ชั้น ได้แก่ชั้นที่ 1 เป็นชั้นชานชาลาสำหรับรถไฟทางไกล ชั้นที่ 2 เป็นชั้นชานชาลาสำหรับรถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดง และรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยาน ส่วนต่อขยาย (ช่วงพญาไท-บางซื่อ) แต่ในปีเดียวกันเกิดการยุบสภา โครงการจึงหยุดชะงักลง

รัฐบาลยิ่งลักษณ์ ชินวัตร ลงนามในสัญญาก่อสร้างโครงการรถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงเข้ม ช่วงบางซื่อ-รังสิต และ สถานีกลางบางซื่อ เมื่อวันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2556[6] โดยเริ่มเปิดพื้นที่การก่อสร้างสถานีกลางบางซื่อในวันที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 2556 หลังเริ่มก่อสร้างเพียงไม่นาน ชัชชาติ สิทธิพันธุ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม สั่งการให้ปรับแบบสถานีกลางบางซื่อเพื่อรองรับรถไฟความเร็วสูงและปรับแบบทางวิ่งช่วงบางซื่อ-รังสิต จากสามทางเป็นสี่ทางเพื่อให้รถไฟทางไกลสามารถวิ่งสวนกันได้โดยไม่ต้องจอดรอหลีก[7] อย่างไรก็ตาม คณะรัฐมนตรียิ่งลักษณ์ยังไม่ทันอนุมัติกรอบวงเงินปรับแบบก็เกิดการยุบสภาในปลายปี 2556 กว่าที่เรื่องนี้จะได้รับการอนุมัติโดยคณะรัฐมนตรีก็ล่วงเลยไปถึงเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558[8][9] ซึ่งส่งผลให้ภาพรวมทั้งโครงการล่าช้าไปอย่างน้อยครึ่งปี

บริษัท ขนส่ง จำกัด เคยมีแนวคิดจะย้ายขนส่งหมอชิตมาอยู่ที่ขนส่งรังสิต [10]เพื่อคืนพื้นที่ให้ การรถไฟแห่งประเทศไทย เพื่อนำไปสร้างสถานีกลางบางซื่อ แต่ภายหลังพบว่าต้องใช้งบประมาณราว 2,000 ล้านบาท ซึ่งเป็นงบที่สูงเกินเท่าตัว บริษัท ขนส่ง จำกัด จึงปรับพื้นที่ใหม่ลดจาก 90 ไร่เป็น 50 ไร่เพื่อนำพื้นที่บางส่วนใช้เป็นสถานีกลางบางซื่อ รวมถึงปรับแบบการก่อสร้างสถานีเดินรถจากความสูง 5 ชั้นเหลือเพียง 2 ชั้น[11][12]

ในสถานการณ์การระบาดทั่วของโควิด-19 สถานีกลางบางซื่อเป็นหนึ่งในสถานที่ที่มีการฉีดวัคซีนโควิด-19 ตั้งแต่ช่วงก่อนเปิดให้บริการรถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดง[13] ต่อมาในเดือนเมษายน พ.ศ. 2565 เป็นสถานที่จัดงานสัปดาห์หนังสือแห่งชาติครั้งที่ 50 และงานสัปดาห์หนังสือนานาชาติครั้งที่ 20 เพื่อเป็นการฉลองการจัดงานสัปดาห์หนังสือแห่งชาติครบรอบ 50 ปี และครบรอบ 125 ปีการรถไฟแห่งประเทศไทย [14] และในวันที่ 29 กันยายน ปีเดียวกัน พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานนามแก่สถานีนี้ว่า "สถานีกลางกรุงเทพอภิวัฒน์" โดยมีความหมายถึง ความเจริญรุ่งเรืองยิ่งแห่งกรุงเทพมหานคร[1]

ชานชาลา

รายชื่อชานชาลาและสายและจุดหมายสำคัญของแต่ละสายของการรถไฟแห่งประเทศไทย

1, 2 แม่แบบ:SRT Linesแม่แบบ:SRT Lines รถไฟทางไกลขาออก สายเหนือ ปลายทาง สถานีเชียงใหม่, สถานีเชียงของ

รถไฟทางไกลขาออก สายตะวันออกเฉียงเหนือ ปลายทาง สถานีนครราชสีมา, สถานีอุบลราชธานี, สถานีหนองคาย, สถานีนครพนม

3, 4 แม่แบบ:BTS Lines ปลายทาง สถานีบ้านภาชี, สถานีปากท่อ
5, 6 แม่แบบ:SRT Linesแม่แบบ:SRT Lines รถไฟทางไกลขาเข้า สายเหนือ จาก สถานีเชียงใหม่, สถานีเชียงของ

รถไฟทางไกลขาเข้า สายตะวันออกเฉียงเหนือ จาก สถานีนครราชสีมา, สถานีอุบลราชธานี, สถานีหนองคาย, สถานีนครพนม

7, 8 แม่แบบ:SRT Linesแม่แบบ:SRT Lines รถไฟทางไกลขาออก สายใต้ ปลายทาง สถานีกันตัง, สถานีนครศรีธรรมราช, สถานีปาดังเบซาร์(มาเลเซีย), สถานีบัตเตอร์เวอร์ธ, สถานีกัวลาลัมเปอร์เซ็นทรัล, สถานีสุไหงโก-ลก

รถไฟทางไกลขาเข้า สายตะวันออก จาก สถานีด่านพรมแดนบ้านคลองลึก, สถานีจุกเสม็ด, สถานีแหลมฉบัง, สถานีมาบตาพุด

9, 10 แม่แบบ:BTS Lines ปลายทาง สถานีนครปฐม, สถานีศิริราช, สถานีฉะเชิงเทรา, สถานีแม่น้ำ
11, 12 แม่แบบ:SRT Linesแม่แบบ:SRT Lines รถไฟทางไกลขาเข้า สายใต้ ปลายทาง สถานีกันตัง, สถานีนครศรีธรรมราช, สถานีปาดังเบซาร์(มาเลเซีย), สถานีบัตเตอร์เวอร์ธ, สถานีกัวลาลัมเปอร์เซ็นทรัล, สถานีสุไหงโก-ลก

รถไฟทางไกลขาออก สายตะวันออก ปลายทาง สถานีด่านพรมแดนบ้านคลองลึก, สถานีจุกเสม็ด, สถานีแหลมฉบัง, สถานีมาบตาพุด

13, 14 แม่แบบ:BTS Lines และ แม่แบบ:SARLLine ปลายทาง สุวรรณภูมิ,ดอนเมือง,อู่ตะเภา
15, 16 HSR สายอีสาน (กำลังก่อสร้าง) ปลายทาง สถานีหนองคาย, สถานีท่านาแล้ง, สถานีหลวงพระบาง
17, 18 HSR สายอีสาน (กำลังก่อสร้าง) ปลายทาง สถานีหนองคาย, สถานีท่านาแล้ง, สถานีหลวงพระบาง
19, 20 HSR สายเหนือ (แผนงาน) ปลายทาง เชียงใหม่
21, 22 HSR สายใต้ (แผนงาน) ปลายทาง สุราษฎร์ธานี
23, 24 HSR สายใต้ (แผนงาน) ปลายทาง สุราษฎร์ธานี
25, 26, 27, 28 แม่แบบ:SRT Lines แม่แบบ:SRT Lines แม่แบบ:SRT Lines ปลายทาง สถานีหัวลำโพง, สถานีหนองคาย, สถานีอุบลราชธานี, สถานีเชียงใหม่, สถานีกันตัง, สถานีนครศรีธรรมราช, สถานีปาดังเบซาร์ (ไทย), สถานีสุไหงโก-ลก
(เฉพาะขบวนรถดีเซลและขบวนรถไฟชั้น 3 ที่ไม่ได้รับอนุญาตให้ขึ้นเทียบชานชาลาในอาคารหลัก)
ชานชาลาสถานีกลางกรุงเทพอภิวัฒน์

แผนผังสถานี

U3
ชั้นชานชาลาบน
(Standard Gague)

(ยังไม่เปิดใช้งาน)
ชานชาลา 24 HSR ใต้ สถานีปลายทาง, มุ่งหน้า สถานีสุราษฎร์ธานี
ชานชาลาเกาะกลาง
ชานชาลา 23 HSR ใต้ สถานีปลายทาง, มุ่งหน้า สถานีสุราษฎร์ธานี
ชานชาลา 22 HSR ใต้ สถานีปลายทาง, มุ่งหน้า สถานีสุราษฎร์ธานี
ชานชาลาเกาะกลาง
ชานชาลา 21 HSR ใต้ สถานีปลายทาง, มุ่งหน้า สถานีสุราษฎร์ธานี
ชานชาลา 20 HSR เหนือ สถานีปลายทาง, มุ่งหน้า สถานีเชียงใหม่
ชานชาลาเกาะกลาง
ชานชาลา 19 HSR เหนือ สถานีปลายทาง, มุ่งหน้า สถานีเชียงใหม่
ชานชาลา 18 HSR ตะวันออกเฉียงเหนือ (กำลังก่อสร้าง) สถานีปลายทาง, มุ่งหน้า สถานีหนองคาย
ชานชาลาเกาะกลาง
ชานชาลา 17 HSR ตะวันออกเฉียงเหนือ (กำลังก่อสร้าง) สถานีปลายทาง, มุ่งหน้า สถานีหนองคาย
ชานชาลา 16 HSR ตะวันออกเฉียงเหนือ (กำลังก่อสร้าง) สถานีปลายทาง, มุ่งหน้า สถานีหนองคาย
ชานชาลาเกาะกลาง
ชานชาลา 15 HSR ตะวันออกเฉียงเหนือ (กำลังก่อสร้าง) สถานีปลายทาง, มุ่งหน้า สถานีหนองคาย
ชานชาลา 14 แม่แบบ:BTS Lines และ แม่แบบ:SARLLine มุ่งหน้า สถานีดอนเมือง
ชานชาลาเกาะกลาง
ชานชาลา 13 แม่แบบ:BTS Lines มุ่งหน้า สถานีท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ
แม่แบบ:SARLLine มุ่งหน้า สถานีท่าอากาศยานอู่ตะเภา
พื้นที่รับรองพิเศษ
และสำนักงาน
บริษัท รถไฟฟ้า ร.ฟ.ท. จำกัด, บริษัท เอเชีย เอราวัน จำกัด (สำนักงานบริหารโครงการ),
สำนักงานบริหารโครงการรถไฟความเร็วสูง, ห้องรับรองแขกคนสำคัญ, สำนักงานบริหารสถานีกลางกรุงเทพอภิวัฒน์
U2
ชั้นชานชาลาล่าง
(Meter Gague)
ชานชาลา 12, 12 แม่แบบ:SRT Lines ปลายทาง สถานีเชียงใหม่, สถานีเชียงของ(อนาคต)
แม่แบบ:SRT Lines มุ่งหน้า สถานีนครราชสีมา, สถานีอุบลราชธานี, สถานีหนองคาย
ชานชาลาเกาะกลาง
ชานชาลา 11, 11 แม่แบบ:SRT Lines ปลายทาง สถานีเชียงใหม่, สถานีเชียงของ(อนาคต)
แม่แบบ:SRT Lines มุ่งหน้า สถานีนครราชสีมา, สถานีอุบลราชธานี, สถานีหนองคาย
ชานชาลา 10 แม่แบบ:BTS Lines มุ่งหน้า สถานีตลิ่งชัน
ชานชาลาเกาะกลาง, ประตูจะเปิดทางด้านซ้าย/ขวา
ทางลงเชื่อม แม่แบบ:BTS Lines
ชานชาลา 9 แม่แบบ:BTS Lines สถานีปลายทาง
ชานชาลา 8, 8 แม่แบบ:SRT Lines มุ่งหน้า สถานีเชียงใหม่, สถานีเชียงของ(อนาคต)

แม่แบบ:SRT Lines มุ่งหน้า สถานีนครราชสีมา, สถานีอุบลราชธานี, สถานีหนองคาย

ชานชาลาเกาะกลาง
ชานชาลา 7, 7 แม่แบบ:SRT Lines มุ่งหน้า สถานีเชียงใหม่, สถานีเชียงของ(อนาคต)
แม่แบบ:SRT Lines มุ่งหน้า สถานีนครราชสีมา, สถานีอุบลราชธานี, สถานีหนองคาย
ชานชาลา 6 แม่แบบ:SRT Lines มุ่งหน้า สถานีกันตัง, สถานีนครศรีธรรมราช, สถานีปาดังเบซาร์, สถานีสุไหงโกลก
ชานชาลาเกาะกลาง
ชานชาลา 5 แม่แบบ:SRT Lines มุ่งหน้า สถานีกันตัง, สถานีนครศรีธรรมราช, สถานีปาดังเบซาร์, สถานีสุไหงโกลก
ชานชาลา 4 แม่แบบ:BTS Lines มุ่งหน้า สถานีรังสิต
ชานชาลาเกาะกลาง, ประตูจะเปิดทางด้านซ้าย/ขวา
ทางลงเชื่อม แม่แบบ:BTS Lines
ชานชาลา 3 แม่แบบ:BTS Lines สถานีปลายทาง
ชานชาลา 2 แม่แบบ:SRT Lines มุ่งหน้า สถานีด่านพรมแดนบ้านคลองลึก, สถานีระยอง
ชานชาลาเกาะกลาง
ชานชาลา 1 แม่แบบ:SRT Lines มุ่งหน้า สถานีด่านพรมแดนบ้านคลองลึก, สถานีระยอง
ร้านค้า ร้านค้า, ร้านอาหาร, ภัตตาคาร
G
ระดับถนน
ทางออกถนนเทอดดำริ ป้ายรถประจำทาง, แม่แบบ:BTS Lines สถานีบางซื่อ ทางออก 1-2 และ 3B
บริษัท ปูนซีเมนต์ไทย จำกัด (มหาชน)
ชานชาลา 25 แม่แบบ:SRT Lines มุ่งหน้า สถานีกรุงเทพ
แม่แบบ:SRT Lines มุ่งหน้า สถานีกรุงเทพ
ชานชาลาเกาะกลาง, ประตูรถจะเปิดทางด้านซ้าย/ขวา
ชานชาลา 26 แม่แบบ:SRT Lines มุ่งหน้า สถานีเชียงใหม่, สถานีเชียงของ(อนาคต)
แม่แบบ:SRT Lines มุ่งหน้า สถานีนครราชสีมา, สถานีอุบลราชธานี, สถานีหนองคาย
ชานชาลา 27 แม่แบบ:SRT Lines มุ่งหน้า สถานีกรุงเทพ
ชานชาลาเกาะกลาง, ประตูรถจะเปิดทางด้านซ้าย/ขวา
ชานชาลา 28 แม่แบบ:SRT Lines มุ่งหน้า สถานีกันตัง, สถานีนครศรีธรรมราช, สถานีปาดังเบซาร์, สถานีสุไหงโกลก
ผู้โดยสารขาออก ป้ายรถประจำทาง, รถประจำทางด่วนพิเศษเชื่อมต่อสถานีหมอชิต สถานีสวนจตุจักร สถานีเตาปูน และสถานีห้าแยกลาดพร้าว, ทางไปชานชาลา 25-28
โถงผู้โดยสาร โถงพักคอยและรับผู้โดยสาร, ห้องขายบัตรโดยสาร, เครื่องขายบัตรโดยสาร , ร้านค้า
แม่แบบ:BTS Lines สถานีบางซื่อ ทางออก 3A
ผู้โดยสารขาเข้า ป้ายรถประจำทาง, ถนนเวียนเข้าลานจอดรถ, ทางขึ้นทางพิเศษศรีรัช
B1
ลานจอดรถใต้ดิน
ที่จอดรถชั้นใต้ดิน 1,100 คัน
B2
ชั้นขายบัตรโดยสาร
(รถไฟฟ้ามหานคร)
ทางเดินเชื่อมระหว่างอาคารและทางออกเอสซีจี, ทางออก 1-3, ห้องขายบัตรโดยสาร, เครื่องขายบัตรโดยสาร
B3
ชั้นชานชาลาใต้ดิน
(รถไฟฟ้ามหานคร)
ชานชาลาด้านข้าง, ประตูรถจะเปิดทางด้านซ้าย
ชานชาลา 2 แม่แบบ:BTS Lines มุ่งหน้า สถานีท่าพระ
ชานชาลา 1 แม่แบบ:BTS Lines มุ่งหน้า สถานีหลักสอง
ชานชาลาด้านข้าง, ประตูรถจะเปิดทางด้านซ้าย
หมายเหตุ
  • แม่แบบ:BTS Lines เนื่องจากเป็นสถานีปลายทาง ผู้โดยสารที่มาจากสถานีตลิ่งชัน ถึงแล้วจะต้องลงจากขบวนทั้งหมดที่ชานชาลา 3 และผู้โดยสารที่มาจากสถานีรังสิต ถึงแล้วจะต้องลงจากขบวนรถทั้งหมดที่ชานชาลา 9 จากนั้นขบวนรถจะกลับทิศบริเวณสุดราง เพื่อมุ่งหน้ามารับผู้โดยสารที่ชานชาลา 4 และ 10 ฝั่งตรงข้าม
  • แม่แบบ:BTS Lines เนื่องมาจากมีการปรับแผนการเดินรถให้มีประสิทธิภาพด้วยการแยกระหว่างขบวนไปสถานีเตาปูนและสถานีท่าพระ ในช่วงเวลาเร่งด่วนช่วงเช้าของวันจันทร์ – ศุกร์ ผู้โดยสารที่ต้องการเดินทางไปสถานีท่าพระ แต่มากับขบวนรถที่มุ่งหน้าไปสถานีเตาปูน จะต้องเปลี่ยนขบวนรถที่สถานีนี้ หรือเปลี่ยนชานชาลาที่สถานีเตาปูน

ตารางเวลาเดินรถ

รถไฟฟ้า

ปลายทาง วัน ขบวนแรก ขบวนสุดท้าย
colspan="7" style="background-color:#แม่แบบ:BTS color;color:white; height:25px" | สายนครวิถี
ชานชาลาที่ 3 และ 4
ตลิ่งชัน จันทร์ - อาทิตย์ 05:35 00:00
colspan="7" style="background-color:#แม่แบบ:BTS color;color:white; height:25px" | สายธานีรัถยา
ชานชาลาที่ 9 และ 10
รังสิต จันทร์ - อาทิตย์ 05:30 00:00
colspan="7" style="background-color:#แม่แบบ:BTS color;color:white; height:25px" | สายเฉลิมรัชมงคล
ชานชาลาที่ 1
หลักสอง
(ผ่านหัวลำโพง)
จันทร์ - อาทิตย์ 05:58 24:00
ชานชาลาที่ 2
ท่าพระ จันทร์ - อาทิตย์ 05:54 24:00

เที่ยวขึ้น

แม่แบบ:เริ่มตารางเวลารถไฟ แม่แบบ:ช303 แม่แบบ:ช339 แม่แบบ:ดพ21 แม่แบบ:ร135 แม่แบบ:ร111 แม่แบบ:ดพ43 แม่แบบ:ด75 แม่แบบ:ดพ7 แม่แบบ:ธ261 แม่แบบ:ธ201 แม่แบบ:ด71 แม่แบบ:ดพ3 แม่แบบ:ธ209 แม่แบบ:ธ233 แม่แบบ:ธ211 แม่แบบ:ร171 แม่แบบ:ร109 แม่แบบ:ธ207 แม่แบบ:ดพ31 แม่แบบ:ดพ37 แม่แบบ:ดพ45 แม่แบบ:ร145 แม่แบบ:ร169 แม่แบบ:ช301 แม่แบบ:ช355 แม่แบบ:ช341 แม่แบบ:ด83 แม่แบบ:ช317 แม่แบบ:ร173 แม่แบบ:ดพ9 แม่แบบ:ช313 แม่แบบ:ร167 แม่แบบ:ด77 แม่แบบ:ร139 แม่แบบ:ด85 แม่แบบ:ดพ13 แม่แบบ:ดพ25 แม่แบบ:ร107 แม่แบบ:ดพ23 แม่แบบ:ร133 แม่แบบ:ร105 แม่แบบ:ด67 แม่แบบ:ด51 แม่แบบ:ร141 แม่แบบ:ดพ39 แม่แบบ:ดพ41 แม่แบบ:จบตารางเวลารถไฟ

เที่ยวล่อง

แม่แบบ:เริ่มตารางเวลารถไฟ แม่แบบ:ดพ4 แม่แบบ:ด78 แม่แบบ:ร142 แม่แบบ:ร108 แม่แบบ:ร174 แม่แบบ:ดพ24 แม่แบบ:ด52 แม่แบบ:ร168 แม่แบบ:ร134 แม่แบบ:ดพ26 แม่แบบ:ดพ42 แม่แบบ:ดพ44 แม่แบบ:ดพ14 แม่แบบ:ด86 แม่แบบ:ด68 แม่แบบ:ช376 แม่แบบ:ดพ10 แม่แบบ:ร140 แม่แบบ:ช314 แม่แบบ:ช356 แม่แบบ:ช302 แม่แบบ:ช342 แม่แบบ:ด84 แม่แบบ:ร170 แม่แบบ:ช318 แม่แบบ:ร172 แม่แบบ:ดพ38 แม่แบบ:ดพ46 แม่แบบ:ธ208 แม่แบบ:ดพ32 แม่แบบ:ช304 แม่แบบ:ช340 แม่แบบ:ธ212 แม่แบบ:ธ202 แม่แบบ:ธ234 แม่แบบ:ร106 แม่แบบ:ด72 แม่แบบ:ด76 แม่แบบ:ร112 แม่แบบ:ร136 แม่แบบ:ธ262 แม่แบบ:ดพ8 แม่แบบ:ดพ40 แม่แบบ:ธ210 แม่แบบ:ร102 แม่แบบ:ร146 แม่แบบ:ดพ22 แม่แบบ:จบตารางเวลารถไฟ

ที่ทำการรับ-ส่งสินค้าพหลโยธิน

ที่ทำการรับส่งสินค้าพหลโยธิน หรือ ย่านพหลโยธิน เป็นย่านสถานีรถไฟที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย มีจำนวนรางมากกว่า 50 ราง เป็นย่านสับเปลี่ยนขนาดใหญ่ รวมความยาว (ตามแนวเส้นทาง) ถึง 4 กม. เป็นศูนย์ขนถ่ายสินค้าหลักของประเทศไทย อยู่ห่างจากตัวอาคารสถานีรถไฟไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือราว 1.5 กิโลเมตร

โรงรถจักรดีเซลกลางบางซื่อ

โรงรถจักรดีเซลกลางบางซื่อ เป็นโรงซ่อมบำรุงและโรงจอดรถจักรดีเซลที่ใช้ในการลากขบวนรถไฟ ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของสถานีรถไฟไปตามแนวเส้นทางในระยะประมาณ 1.5 กิโลเมตร นอกจากที่กลางบางซื่อแล้ว ยังมีโรงรถจักรที่ สถานีรถไฟธนบุรี สถานีรถไฟนครราชสีมา สถานีรถไฟอุตรดิตถ์ สถานีรถไฟนครลำปาง สถานีรถไฟชุมทางหาดใหญ่ สถานีรถไฟชุมทางแก่งคอย สถานีรถไฟชุมทางทุ่งสง และ สถานีรถไฟชุมพร

สถานีใกล้เคียง

สถานีก่อนหน้า เส้นทางรถไฟ สถานีต่อไป
สถานีปลายทาง style="background:#แม่แบบ:BTS color; border-left: 0px none; border-right: 0px none; border-top:1px #aaa solid; border-bottom:0px none;" |   แม่แบบ:BTS Lines style="background:#แม่แบบ:BTS color; border-left: 0px none; border-right: 0px none; border-top:1px #aaa solid; border-bottom:0px none;" |   สถานีจตุจักร
มุ่งหน้า สถานีรังสิต
สถานีปลายทาง style="background:#แม่แบบ:BTS color; border-left: 0px none; border-right: 0px none; border-top:1px #aaa solid; border-bottom:0px none;" |   แม่แบบ:BTS Lines style="background:#แม่แบบ:BTS color; border-left: 0px none; border-right: 0px none; border-top:1px #aaa solid; border-bottom:0px none;" |   สถานีบางซ่อน
มุ่งหน้า สถานีตลิ่งชัน
สถานีเตาปูน
มุ่งหน้า สถานีท่าพระ
style="background:#แม่แบบ:BTS color; border-left: 0px none; border-right: 0px none; border-top:1px #aaa solid; border-bottom:0px none;" |   แม่แบบ:BTS Lines style="background:#แม่แบบ:BTS color; border-left: 0px none; border-right: 0px none; border-top:1px #aaa solid; border-bottom:0px none;" |   สถานีกำแพงเพชร
มุ่งหน้า สถานีหลักสอง

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 "พระราชทานชื่อ รถไฟสีแดง-สถานีกลางบางซื่อ "นครวิถี-ธานีรัถยา" และ "สถานีกลางกรุงเทพอภิวัฒน์"". ผู้จัดการออนไลน์. 29 กันยายน 2022. สืบค้นเมื่อ 29 กันยายน 2022.
  2. 2.0 2.1 “สถานีกลางบางซื่อ” อลังการงานสร้าง ศูนย์กลางระบบรางใหญ่ที่สุดในอาเซียน ผู้จัดการออนไลน์. 18 ธันวาคม 2563
  3. โครงการรถไฟความเร็วสูง กรุงเทพ-หนองงูเห่า-ระยอง
  4. การเข้าสู่วาระนโยบายระบบขนส่งทางรางในประเทศไทย: กรณีศึกษาโครงการรถไฟความเร็วสูงโดยใช้ตัวแบบของคิงด็อน วิทยานิพนธ์ของนายประสงค์ชัย เศรษฐสุรวิชญ คณะรัฐศาสตร์ จุฬา
  5. สรุปผลการประชุมคณะรัฐมนตรีชุดพลเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์ (นายกรัฐมนตรี) วันที่ 22 พฤษภาคม 2550
  6. “ชัชชาติ”สั่งร.ฟ.ท.เน้นระบบเชื่อมต่อสถานีบางซื่อสายสีแดง หวั่นซ้ำรอยแอร์พอร์ตลิงก์ ผู้จัดการ. 18 มกราคม พ.ศ. 2556
  7. ปรับแบบรับ'ไฮสปีด'ค่าก่อสร้างสายสีแดงพุ่ง กรุงเทพธุรกิจ. 26 สิงหาคม พ.ศ. 2556
  8. [http://www.cabinet.soc.go.th/doc_image/2558/9931215719.pdf ที่คค (ปคร)0811.2/28 กระทรวงคมนาคม
  9. มติคณะรัฐมนตรี ๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘
  10. Buyers, Home. "สรุปแล้ว ย้ายบขส หมอชิตกลับที่เดิม BTS หมอชิต คาดปี 66 เปิดให้บริการ". www.home.co.th/news.
  11. ข่าวช่อง 8. "บขส.สรุปไม่ย้ายหมอชิตไปรังสิต เล็งปรับแผนใช้พื้นที่ใหม่ | ข่าวช่อง 8". www.thaich8.com.
  12. 23 (2016-10-31). "บขส.คุยรฟท.ขอปักหลักหมอชิต 2 ไม่ย้ายไปรังสิต". ข่าวสด.{{cite web}}: CS1 maint: numeric names: authors list (ลิงก์)
  13. คมนาคมเปิดวันแรก 'ศูนย์ฉีดวัคซีนกลางบางซื่อ' รับบุคลากรขนส่งมวลชน
  14. Pafun (2022-01-17). "งานสัปดาห์หนังสือแห่งชาติครั้งที่ 50 จัดที่สถานีกลางบางซื่อ". ประชาชาติธุรกิจ.