ข้ามไปเนื้อหา

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตาก

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
จังหวัดตาก
เขตเลือกตั้งในปัจจุบัน
จำนวนเขต3
คะแนนเสียง69,177 (ก้าวไกล)
62,509 (พลังประชารัฐ)
เขตเลือกตั้งปัจจุบัน
ก่อตั้งพ.ศ. 2476
ที่นั่งประชาชน (2)
พลังประชารัฐ (1)
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรดูในบทความ

จังหวัดตาก มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 3 เขต (สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ. 2566)[1] และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 3 คน จากทั้งหมด 400 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย

ประวัติศาสตร์

[แก้]

หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยจังหวัดตากมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนแรก คือ พระประนาทกรณี (ถม อินทรสูต)[2]

เขตเลือกตั้ง

[แก้]
การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้ง แผนที่ จำนวน ส.ส.
พ.ศ. 2476 เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด 1 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2480
พ.ศ. 2481
พ.ศ. 2489
พ.ศ. 2491
พ.ศ. 2492
พ.ศ. 2495
พ.ศ. 2500/1
พ.ศ. 2500/2
พ.ศ. 2512
พ.ศ. 2518 2 คน (เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2519
พ.ศ. 2522
พ.ศ. 2526
พ.ศ. 2529
พ.ศ. 2531
พ.ศ. 2535/1
พ.ศ. 2535/2
พ.ศ. 2538 3 คน (เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2539
พ.ศ. 2544 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองตาก, อำเภอบ้านตาก (ยกเว้นตำบลท้องฟ้าและตำบลเกาะตะเภา) และกิ่งอำเภอวังเจ้า
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภออุ้มผาง, อำเภอพบพระ และอำเภอแม่สอด (ยกเว้นตำบลแม่กาษา)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอสามเงา, อำเภอท่าสองยาง, อำเภอแม่ระมาด, อำเภอบ้านตาก (เฉพาะตำบลท้องฟ้าและตำบลเกาะตะเภา) และอำเภอแม่สอด (เฉพาะตำบลแม่กาษา)
3 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2550 เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด 3 คน (เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2554 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองตาก, อำเภอวังเจ้า และอำเภอบ้านตาก (ยกเว้นตำบลท้องฟ้าและตำบลเกาะตะเภา)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภออุ้มผาง, อำเภอพบพระ และอำเภอแม่สอด (ยกเว้นตำบลแม่กาษา)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอท่าสองยาง, อำเภอแม่ระมาด, อำเภอสามเงา, อำเภอบ้านตาก (เฉพาะตำบลท้องฟ้าและตำบลเกาะตะเภา) และอำเภอแม่สอด (เฉพาะตำบลแม่กาษา)
3 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2562 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองตาก, อำเภอวังเจ้า, อำเภอสามเงา และอำเภอบ้านตาก (ยกเว้นตำบลท้องฟ้าและตำบลเกาะตะเภา)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภออุ้มผาง, อำเภอพบพระ และอำเภอแม่สอด (ยกเว้นตำบลแม่กาษา ตำบลท่าสายลวด และตำบลแม่ปะ)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอท่าสองยาง, อำเภอแม่ระมาด, อำเภอบ้านตาก (เฉพาะตำบลท้องฟ้าและตำบลเกาะตะเภา) และอำเภอแม่สอด (เฉพาะตำบลแม่กาษา ตำบลท่าสายลวด และตำบลแม่ปะ)
3 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2566 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอวังเจ้า, อำเภอเมืองตาก, อำเภอสามเงา และอำเภอบ้านตาก (เฉพาะตำบลแม่สลิด ตำบลตากออก และตำบลสมอโคน)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภออุ้มผาง, อำเภอพบพระ และอำเภอแม่สอด (ยกเว้นตำบลแม่กาษา ตำบลแม่ปะ และตำบลท่าสายลวด)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอท่าสองยาง, อำเภอแม่ระมาด, อำเภอบ้านตาก (ยกเว้นตำบลแม่สลิด ตำบลตากออก และตำบลสมอโคน) และอำเภอแม่สอด (เฉพาะตำบลแม่กาษา ตำบลแม่ปะ และตำบลท่าสายลวด)
3 คน (เขตละ 1 คน)

รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต

[แก้]

ชุดที่ 1–7; พ.ศ. 2476–2495

[แก้]
      พรรคประชาธิปัตย์
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 1 พ.ศ. 2476 พระประนาทกรณี (ถม อินทรสูต)
ชุดที่ 2 พ.ศ. 2480 นายหมัง สายชุ่มอินทร์
ชุดที่ 3 พ.ศ. 2481
ชุดที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2489 นายเทียม ไชยนันทน์
สิงหาคม พ.ศ. 2489 – (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
ชุดที่ 5 พ.ศ. 2491 นายเทียม ไชยนันทน์
พ.ศ. 2492 – (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
ชุดที่ 7 พ.ศ. 2495 นายเทียม ไชยนันทน์

ชุดที่ 8–10; พ.ศ. 2500–2512

[แก้]
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคสหประชาไทย
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 นายเทียม ไชยนันทน์
ชุดที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2500
ชุดที่ 10 พ.ศ. 2512 นายอุดร ตันติสุนทร

ชุดที่ 11–18; พ.ศ. 2518–2535

[แก้]
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคชาติไทย
      พรรคกิจสังคม
      พรรคราษฎร
      พรรคพลังธรรม
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 11 พ.ศ. 2518 นายเทอดพงษ์ ไชยนันทน์ นายเทียม ไชยนันทน์
ชุดที่ 12 พ.ศ. 2519 นายอุดร ตันติสุนทร
ชุดที่ 13 พ.ศ. 2522 นายเทียม ไชยนันทน์
ชุดที่ 14 พ.ศ. 2526 นายอุดร ตันติสุนทร
ชุดที่ 15 พ.ศ. 2529 นายเฉลียว วัชรพุกก์
ชุดที่ 16 พ.ศ. 2531 นายอุดร ตันติสุนทร
ชุดที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2535 นายถาวร กาสมสัน
ชุดที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2535 นายอุดร ตันติสุนทร

ชุดที่ 19–20; พ.ศ. 2538–2539

[แก้]
      พรรคประชาธิปัตย์
เขต ชุดที่ 19 พ.ศ. 2538 ชุดที่ 20 พ.ศ. 2539
1 นายรักษ์ ตันติสุนทร
นายเทอดพงษ์ ไชยนันทน์ นายชัยวุฒิ บรรณวัฒน์
นายถาวร กาสมสัน

ชุดที่ 21–22; พ.ศ. 2544–2548

[แก้]
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคไทยรักไทย
เขต ชุดที่ 21 พ.ศ. 2544 ชุดที่ 22 พ.ศ. 2548
1 นายธนญ ตันติสุนทร นายธนัสถ์ ทวีเกื้อกูลกิจ
2 นายชัยวุฒิ บรรณวัฒน์
3 นายธนิตพล ไชยนันทน์

ชุดที่ 23; พ.ศ. 2550

[แก้]
      พรรคประชาธิปัตย์
เขต ชุดที่ 23 พ.ศ. 2550
1 นายชัยวุฒิ บรรณวัฒน์
นายธนิตพล ไชยนันทน์
นายเธียรชัย สุวรรณเพ็ญ

ชุดที่ 24–26; พ.ศ. 2554–2566

[แก้]
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคพลังประชารัฐพรรคเศรษฐกิจไทย
      พรรคพลังประชารัฐพรรคเศรษฐกิจไทย → พรรคพลังประชารัฐ
      พรรคก้าวไกลพรรคประชาชน
      พรรคพลังประชารัฐ
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1 เขตเลือกตั้งที่ 2 เขตเลือกตั้งที่ 3
ชุดที่ 24 พ.ศ. 2554 นายเธียรชัย สุวรรณเพ็ญ นายชัยวุฒิ บรรณวัฒน์ นายธนิตพล ไชยนันทน์
ชุดที่ 25 พ.ศ. 2562 นายธนัสถ์ ทวีเกื้อกูลกิจ
(ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งใหม่)
นายภาคภูมิ บูลย์ประมุข
ชุดที่ 26 พ.ศ. 2566 นายคริษฐ์ ปานเนียม นายรัชต์พงศ์ สร้อยสุวรรณ นายภาคภูมิ บูลย์ประมุข

รูปภาพ

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งและเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัดจะพึงมี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 140 (14 ก): 38–42. 3 มีนาคม 2566.
  2. อาร์วายทีไนน์,สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจากการเลือกตั้งครั้งแรก

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]