ซิหลง
หน้าตา
ซิหลง | |
---|---|
徐晃 | |
ภาพวาดซิหลงในสมัยราชวงศ์ชิง | |
ขุนพลฝ่ายขวา (右將軍) | |
ดำรงตำแหน่ง ค.ศ. 220 – ค.ศ. 227 | |
กษัตริย์ | โจผี |
ขุนพลปราบโจร (平寇將軍) | |
ดำรงตำแหน่ง ค.ศ. 214 – ค.ศ. 220 | |
กษัตริย์ | พระเจ้าเหี้ยนเต้ |
หัวหน้ารัฐบาล | โจโฉ |
เหิงเหย่อเจียงจุน (橫野將軍) | |
ดำรงตำแหน่ง ค.ศ. 207 – ค.ศ. 214 | |
กษัตริย์ | พระเจ้าเหี้ยนเต้ |
หัวหน้ารัฐบาล | โจโฉ (ตั้งแต่ ค.ศ. 208) |
ข้อมูลส่วนบุคคล | |
เกิด | ไม่ทราบ เทศมณฑลหงถง มณฑลส่านซี |
เสียชีวิต | ค.ศ. 227[1] |
บุตร | Xu Gai |
อาชีพ | ขุนพล |
ชื่อรอง | กงหมิง (公明) |
ชื่อหลังเสียชีวิต | จ้วงโหว (壯侯) |
ตำแหน่ง | หยางผิงโหว (陽平侯) |
ซิหลง (จีน: 徐晃; พินอิน: Xú Huǎng; เวด-ไจลส์: Hsu Huang; เสียชีวืต ค.ศ. 227)[1] มีชื่อรองว่า กงหมิง เป็นชาวตำบลหยางจวิ้น เมืองเหอตง มณฑลซานซี เกิดในปี ค.ศ.168 เป็นขุนพลชาวจีนที่รับใช้โจโฉในปลายราชวงศ์ฮั่นตะวันออก ต่อมาหลังจากการล่มสลายของราชวงศ์ฮั่นตะวันออกในปี 220 เขารับราชการในรัฐวุยก๊กในช่วงยุคสามก๊กภายใต้จักรพรรดิสององค์แรกคือจักรพรรดิโจผี และจักรพรรดิโจยอย ก่อนที่เขาจะถึงแก่กรรมในต้นรัชสมัยของจักรพรรดิโจยอย ซิหลงเป็นที่รู้จักจากการทำงานแนวล้อมที่ยุทธการที่อ้วนเสียใน ค.ศ. 219 ด้วยการล่อกวนอู ผู้บัญชาการฝ่ายศัตรู ในสนามรบ
ตันซิ่ว ผู้เขียนจดหมายเหตุสามก๊ก จัดให้ซิหลงเป็นหนึ่งในห้าทหารเสือแห่งวุยก๊ก ร่วมกับอิกิ๋ม เตียวคับ งักจิ้น และเตียวเลี้ยว[2]
ชีวิตช่วงต้นและรับใช้ภายใต้เอียวฮอง
[แก้]อาวุธของซิหลง
[แก้]ในหนังสือสามก๊กแต่ละเล่มบอกว่าอาวุธประจำตัวของซิหลงคือขวานใหญ่และด้ามยาว
หมายเหตุ
[แก้]อ้างอิง
[แก้]- ตันซิ่ว (คริสต์ศตวรรษที่ 3). จดหมายเหตุสามก๊ก (ซานกั๋วจื้อ).
- de Crespigny, Rafe (2007). A Biographical Dictionary of Later Han to the Three Kingdoms 23-220 AD. Leiden: Brill. ISBN 9789004156050.
- ล่อ กวนตง (คริสต์ศตวรรษที่ 14). สามก๊ก (Sanguo Yanyi).
- เผย์ ซงจือ (คริสต์ศตวรรษที่ 5). อรรถาธิบายจดหมายเหตุสามก๊ก (ซานกั๋วจื้อจู้).
- Sima, Guang (1084). จือจื้อทงเจี้ยน.