จังหวัดพิจิตรในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2566

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดพิจิตรในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2566

← พ.ศ. 2562 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2566 ครั้งต่อไป →

3 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน428,003
ผู้ใช้สิทธิ73.73% (เพิ่มขึ้น 3.02 pp)
  First party Second party Third party
 
Anutin Charnvirakul - 2023 (52638148766) (cropped).jpg
Paethongtarn Shinawatra.png
Pita Limjaroenrat - 2 (cropped).jpg
พรรค ภูมิใจไทย เพื่อไทย ก้าวไกล
เลือกตั้งล่าสุด 0 0 พรรคใหม่
ที่นั่งก่อนหน้า 0 0 0
ที่นั่งที่ชนะ 3 0 0
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น 3 Steady Steady
คะแนนเสียง 111,351 57,234 47,247
% 37.66 19.36 15.98

  Fourth party
 
Prawit Wongsuwan (2018) (cropped).jpg
พรรค พลังประชารัฐ
เลือกตั้งล่าสุด 3
ที่นั่งก่อนหน้า 2
ที่นั่งที่ชนะ 0
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง 3
คะแนนเสียง 27,786
% 9.40

ผลการเลือกตั้งตามเขตเลือกตั้ง
  •   พรรคภูมิใจไทย

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

ประยุทธ์ จันทร์โอชา
รวมไทยสร้างชาติ

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

เศรษฐา ทวีสิน
เพื่อไทย

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพิจิตร พ.ศ. 2566 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2566 จัดขึ้นในวันที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2566 โดยแบ่งเขตเลือกตั้งออกเป็น 3 เขตเลือกตั้ง[1] จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อปี พ.ศ. 2562 ในแต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 1 คน

ภาพรวม[แก้]

แบ่งตามพรรค[แก้]

พรรค จำนวน
ผู้สมัคร
คะแนนเสียง ที่นั่ง
จน. % จน. +/– %
ภูมิใจไทย 3 111,351 37.66 3 Steady 100.00
เพื่อไทย 3 57,234 19.36 0 Steady 0.00
ก้าวไกล 3 47,247 15.98 0 Steady 0.00
อื่น ๆ 18 79,790 27.00 0 Steady 0.00
ผลรวม 27 295,622 100.00 3 Steady 100.00
คะแนนเสียง
ภูมิใจไทย
  
37.66%
เพื่อไทย
  
19.36%
ก้าวไกล
  
15.98%
อื่น ๆ
  
27.00%
ที่นั่ง
ภูมิใจไทย
  
100.00%

แบ่งตามเขต[แก้]

เขตเลือกตั้ง ภูมิใจไทย เพื่อไทย ก้าวไกล อื่น ๆ ผลรวม ผลการเลือกตั้ง
คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง %
เขต 1 43,965 42.97 21,985 21.49 18,133 17.72 18,214 17.82 102,297 100.00 ภูมิใจไทย ได้ที่นั่ง
เขต 2 33,390 35.59 20,646 22.00 14,756 15.73 25,013 26.68 93,805 100.00 ภูมิใจไทย ได้ที่นั่ง
เขต 3 33,996 34.15 14,603 14.67 14,358 14.42 36,563 36.76 99,520 100.00 ภูมิใจไทย ได้ที่นั่ง
ผลรวม 111,351 37.66 57,234 19.36 47,274 15.98 79,790 27.00 295,622 100.00

คะแนนในระบบบัญชีรายชื่อแบ่งตามเขตเลือกตั้ง[แก้]

เขตเลือกตั้ง ภูมิใจไทย เพื่อไทย ก้าวไกล อื่น ๆ ผลรวม พรรคที่ชนะ
คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง %
เขต 1 6,552 6.00 31,956 29.26 33,524 30.70 31,051 34.04 103,083 100.00 ก้าวไกล
เขต 2 3,561 3.54 33,524 33.32 29,737 29.56 28,189 33.58 95,011 100.00 เพื่อไทย
เขต 3 8,406 7.95 30,340 28.69 31,769 30.04 29,457 33.32 99,972 100.00 ก้าวไกล
ผลรวม 18,519 6.21 95,820 32.14 95,030 31.88 88,697 29.77 298,066 100.00

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ[แก้]

e • d ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ จังหวัดพิจิตร
พรรค คะแนนเสียง ร้อยละ
ใหม่ (1) 1,123 0.38
ประชาธิปไตยใหม่ (2) 2,337 0.78
เป็นธรรม (3) 786 0.26
ท้องที่ไทย (4) 2,129 0.71
พลังสังคมใหม่ (5) 4,834 1.62
ครูไทยเพื่อประชาชน (6) 5,556 1.86
ภูมิใจไทย (7) 18,519 6.21
แรงงานสร้างชาติ (8) 1,454 0.49
พลัง (9) 531 0.18
อนาคตไทย (10) 376 0.13
ประชาชาติ (11) 352 0.12
ไทยรวมไทย (12) 684 0.23
ไทยชนะ (13) 354 0.12
ชาติพัฒนากล้า (14) 381 0.13
กรีน (15) 170 0.06
พลังสยาม (16) 220 0.07
เสมอภาค (17) 119 0.04
ชาติไทยพัฒนา (18) 354 0.12
ภาคีเครือข่ายไทย (19) 607 0.20
เปลี่ยน (20) 393 0.13
ไทยภักดี (21) 759 0.25
รวมไทยสร้างชาติ (22) 34,626 11.62
รวมใจไทย (23) 716 0.24
เพื่อชาติ (24) 463 0.16
เสรีรวมไทย (25) 2,097 0.70
ประชาธิปัตย์ (26) 12,264 4.12
พลังธรรมใหม่ (27) 367 0.12
ไทยพร้อม (28) 1,035 0.35
เพื่อไทย (29) 95,820 32.15
ทางเลือกใหม่ (30) 1,007 0.34
ก้าวไกล (31) 95,030 31.89
ไทยสร้างไทย (32) 1,109 0.37
ไทยเป็นหนึ่ง (33) 85 0.03
แผ่นดินธรรม (34) 86 0.03
รวมพลัง (35) 264 0.09
เพื่อชาติไทย (36) 1,224 0.41
พลังประชารัฐ (37) 3,735 1.25
เพื่อไทรวมพลัง (38) 475 0.16
มิติใหม่ (39) 1,537 0.52
ประชาภิวัฒน์ (40) 436 0.15
ไทยธรรม (41) 285 0.10
ไทยศรีวิไลย์ (42) 235 0.08
พลังสหกรณ์ (43) 57 0.02
ราษฎร์วิถี (44) 40 0.01
แนวทางใหม่ (45) 47 0.02
ถิ่นกาขาวชาววิไล (46) 62 0.02
รวมแผ่นดิน (47) 42 0.01
เพื่ออนาคตไทย (48) 93 0.03
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย (49) 115 0.04
พลังปวงชนไทย (50) 44 0.01
สามัญชน (51) 38 0.01
ชาติรุ่งเรือง (52) 33 0.01
พลังสังคม (53) 59 0.02
ภราดรภาพ (54) 25 0.01
ไทยก้าวหน้า (55) 257 0.09
ประชาไทย (56) 383 0.13
พลังเพื่อไทย (57) 383 0.13
สังคมประชาธิปไตยไทย (58) 37 0.01
ช่วยชาติ (59) 59 0.02
ความหวังใหม่ (60) 142 0.05
คลองไทย (61) 50 0.02
พลังไทรักชาติ (62) 119 0.04
ประชากรไทย (63) 628 0.21
เส้นด้าย (64) 51 0.02
เปลี่ยนอนาคต (65) 212 0.07
พลังประชาธิปไตย (66) 66 0.02
ไทยสมาร์ท (67) 90 0.03
บัตรดี 298,006 94.46
บัตรเสีย 14,685 4.65
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,831 0.89
ผู้มาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง 315,584 73.73
ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง 428,003 100.00

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต[แก้]

เขต 1เขต 2เขต 3

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขต 1[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอวชิรบารมี อำเภอสามง่าม และอำเภอเมืองพิจิตร

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพิจิตร เขต 1
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ภูมิใจไทย ภัทรพงศ์ ภัทรประสิทธิ์ (6) 43,965 42.97
เพื่อไทย ปุณยวัจน์ เหลืองวิจิตร (2) 21,985 21.49
ก้าวไกล ชัยณรงค์ คล้ายเนียม (7) 18,133 17.72
พลังประชารัฐ พรชัย อินทร์สุข (4)* 12,282 12.00 –14.20
รวมไทยสร้างชาติ ว่าที่ร้อยตรี พนาพันธุ์ พลศร (1) 3,517 3.43
ประชาธิปัตย์ พลโท ฉลวย แย้มโพธิ์ใช้ (3) 1,412 1.38
ไทยสร้างไทย ชนกฤดิ โหมอ่อน (5) 454 0.44 –11.64
ไทยภักดี สุวรรณ์ จันทรงา (9) 262 0.25
เสรีรวมไทย สุนทร บุญมาตร (8) 204 0.19
คลองไทย เอนก เกาะเพ็ชร (10) 83 0.08
ผลรวม 102,297 100.00
บัตรดี 102,297 93.68
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,738 1.59
บัตรเสีย 5,176 4.73
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 109,211 75.07
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 145,488 100.00
ภูมิใจไทย ได้ที่นั่งจาก พลังประชารัฐ

เขต 2[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอสากเหล็ก อำเภอวังทรายพูน อำเภอตะพานหิน อำเภอทับคล้อ และอำเภอดงเจริญ

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพิจิตร เขต 2
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ภูมิใจไทย วินัย ภัทรประสิทธิ์ (5)✔ 33,390 35.59
เพื่อไทย ภูดิท อินสุวรรณ์ (8)* 20,646 22.00 –2.78
ก้าวไกล ดุษฎี บัวเขียว (2) 14,756 15.73 –6.03
ประชาธิปัตย์ พันตำรวจโท สามารถ แก้วทอง (6) 14,682 15.65
พลังประชารัฐ ณริยา บุญเสรฐ (3) 5,429 5.78 +0.62
รวมไทยสร้างชาติ มาดามนิด ศรีบุศกร (1) 3,955 4.21
ไทยภักดี สกล มาเนียม (7) 540 0.57
เสรีรวมไทย พันตำรวจเอก ยงยุทธ บุญไชโย (4) 407 0.43
คลองไทย ถนอม ผุยผง (9)
ผลรวม 93,805 100.00
บัตรดี 93,805 93.24
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,302 1.29
บัตรเสีย 5,504 5.47
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 100,611 71.00
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 141,711 100.00
ภูมิใจไทย ได้ที่นั่งจาก พลังประชารัฐ

เขต 3[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วยอำเภอบางมูลนาก อำเภอโพทะเล อำเภอบึงนาราง และอำเภอโพธิ์ประทับช้าง

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพิจิตร เขต 3
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ภูมิใจไทย ศิริวัฒน์ ขจรประศาสน์ (5)** 33,996 34.15
รวมไทยสร้างชาติ สุรชาติ ศรีบุศกร (6)* 24,821 24.94 –7.51
เพื่อไทย วิชัย ด่านรุ่งโรจน์ (8) 14,603 14.67 –16.96
ก้าวไกล จักรพงศ์ บุบผา (4) 14,358 14.42 –7.12
พลังประชารัฐ เอกวิชญ์ เรืองมาลัย (7) 10,075 10.12
เสรีรวมไทย พันเอก มนู ชูจิตร (2) 611 0.61 –2.84
ประชาธิปัตย์ วรวุธ แก้วทอง (1) 482 0.48
คลองไทย ร้อยตรี สมคิด เกิดธูป (9) 308 0.30
ไทยภักดี ว่าที่ร้อยตรี พุฒิธร เพ็ญสนั่นพูนพันธุ์ (3) 266 0.26
ผลรวม 99,520 100.00
บัตรดี 99,520 94.11
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 945 0.89
บัตรเสีย 5,297 5.00
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 105,762 75.11
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 140,804 100.00
ภูมิใจไทย ได้ที่นั่งจาก พลังประชารัฐ

อ้างอิง[แก้]

  1. "เปิดจำนวน ส.ส. 400 เขตเลือกตั้งใหม่ กทม.ยังมากสุด 33 คน". workpointTODAY.

ดูเพิ่ม[แก้]