ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมศักดิ์ ชูโต"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pongsak ksm (คุย | ส่วนร่วม)
Pongsak ksm (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 37: บรรทัด 37:
== เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ==
== เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ==
{{ม.ป.ช.}}
{{ม.ป.ช.}}
{{ม.ว.ม.|2523}}<ref>ราชกิจจานุเบกษา [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2523/D/188/36.PDF แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์] ฉบับพิเศษ หน้า ๓๖ เล่ม ๙๗ ตอนที่ ๑๘๘ วันที่ ๕ ธันวาคม ๒๕๒๓</ref>
{{ม.ว.ม.}}


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 00:14, 23 กันยายน 2558

สมศักดิ์ ชูโต
ไฟล์:สมศักดิ์ ชูโต.jpg
รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี
ดำรงตำแหน่ง
21 มีนาคม พ.ศ. 2523 – 11 มีนาคม พ.ศ. 2524
นายกรัฐมนตรีพลเอก เปรม ติณสูลานนท์
โฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี
ดำรงตำแหน่ง
3 มีนาคม พ.ศ. 2523 – 19 มีนาคม พ.ศ. 2526
นายกรัฐมนตรีพลเอก เปรม ติณสูลานนท์
ก่อนหน้าพลตรี อุทาร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
ถัดไปไตรรงค์ สุวรรณคีรี

ศาสตราจารย์ ดร.สมศักดิ์ ชูโต เป็นอดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี และโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลพลเอก เปรม ติณสูลานนท์ (ครม.42) เป็นอดีตอธิการบดีสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ และอดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ พ.ศ. 2516

การทำงาน

สมศักดิ์ ชูโต ได้รับการแต่งตั้งเป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ในปี พ.ศ. 2516 ซึ่งเป็นสภานิติบัญญัติแต่งตั้งขึ้นในรัฐบาลนายสัญญา ธรรมศักดิ์ หลังเหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 ต่อมาในปี พ.ศ. 2517 เขาได้รับแต่งตั้งเป็นอธิการบดีสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA)[1] ดำรงตำแหน่งจนครบวาระในปี พ.ศ. 2521

ต่อมาในรัฐบาลพลเอก เปรม ติณสูลานนท์ (ครม.42) ได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี[2] และโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีอีกตำแหน่งหนึ่ง จนกระทั่งในอีก 1 ปีถัดมาจึงถูกปรับออกจากตำแหน่งรัฐมนตรีดังกล่าว แต่ยังคงปฏิบัติหน้าที่โฆษกรัฐบาลเช่นเดิม

สมศักดิ์ ชูโต เข้ารับตำแหน่งอธิการบดีสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ อีกครั้งในปี พ.ศ. 2530[3]

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

อ้างอิง