จังหวัดตรังในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดตรังในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562

← พ.ศ. 2557 (โมฆะ) 24 มีนาคม พ.ศ. 2562 พ.ศ. 2566 →

3 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน489,798
ผู้ใช้สิทธิ80.44%
  First party Second party Third party
 
พรรค ประชาธิปัตย์ พลังประชารัฐ อนาคตใหม่
เลือกตั้งล่าสุด 4 พรรคใหม่ พรรคใหม่
ที่นั่งที่ชนะ 2 1 0
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง2 เพิ่มขึ้น1 Steady0
คะแนนเสียง 137,574 103,892 40,836
% 37.61 28.40 11.16

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562 ในจังหวัดตรัง กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2562 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 3 เขตเลือกตั้ง[1] ซึ่งลดลงจากการเลือกตั้งครั้งก่อน 1 เขต โดยแต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 1 คน

ภาพรวม[แก้]

แบ่งตามพรรค[แก้]

พรรค จำนวน
ผู้สมัคร
คะแนนเสียง ที่นั่ง
จน. % จน. +/– %
ประชาธิปัตย์ 3 137,574 37.61% 2 ลดลง2 66.67%
พลังประชารัฐ 3 103,892 28.40% 1 เพิ่มขึ้น1 33.33%
อนาคตใหม่ 3 40,836 11.16% 0 Steady 0.00%
อื่น ๆ 100 83,500 22.83% 0 Steady 0.00%
ผลรวม 109 365,802 100.00% 3 ลดลง1 100.00%

แบ่งตามเขต[แก้]

เขตเลือกตั้ง ประชาธิปัตย์ พลังประชารัฐ อนาคตใหม่ อื่น ๆ ผลรวม ผลการเลือกตั้ง
คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง %
เขต 1 38,332 30.67% 39,416 31.54% 17,371 13.90% 29,845 23.89% 124,964 100.00% พลังประชารัฐ ได้ที่นั่ง
เขต 2 47,640 39.47% 33,457 27.72% 10,427 8.64% 29,172 24.17% 120,696 100.00% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
เขต 3 51,602 42.95% 31,019 25.82% 13,038 10.85% 24,483 20.38% 120,142 100.00% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ผลรวม 137,574 37.61% 103,892 28.40% 40,836 11.16% 83,500 22.83% 365,802 100.00%

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต[แก้]

เขต 1เขต 2เขต 3

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขต 1[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วย อำเภอเมืองตรัง อำเภอนาโยงและอำเภอย่านตาขาว (เฉพาะตำบลนาชุมเห็ดและตำบลโพรงจระเข้)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดตรัง เขต 1
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
พลังประชารัฐ นิพันธ์ ศิริธร (4) 39,416 31.54
ประชาธิปัตย์ สุกิจ อัถโถปกรณ์ (14)* 38,332 30.67
อนาคตใหม่ อภิรักษ์ สังข์ทอง (7) 17,371 13.90
พลังท้องถิ่นไท ชาลี กางอิ่ม (16) 10,017 8.02
เสรีรวมไทย เรวัต ชูวงศ์ทวิพงศ์ (15) 2,664 2.13
เศรษฐกิจใหม่ สมเกียรติ วัฒนสิน (24) 2,491 1.99
คลองไทย จิตรเลขา เลอพิพัฒวรพงศ์ (1) 1,707 1.37
ประชาชาติ ทวีศักดิ์ คีรีรัตน์ (10) 1,395 1.12
ภูมิใจไทย จิโรจน์ พีระเกียรติขจร (13) 1,380 1.10
ชาติไทยพัฒนา สันต์ชัย นิลสวัสดิ์ (11) 1,338 1.07
ประชาธิปไตยใหม่ ฐิติรัตน์ สิทธิชัย (3) 958 0.77
ทางเลือกใหม่ ปรีดิ์ปราโมทย์ เลิศวรภัทร (9) 760 0.61
เพื่อชาติ นงค์ ดำหมาน (21) 706 0.56
พลังธรรมใหม่ อลงกรณ์ คงฉาง (5) 690 0.55
รวมพลังประชาชาติไทย จันทิมา อณะสุวรรณ (22) 618 0.49
ชาติพัฒนา ทวี จันทร์ฝาก (17) 594 0.48
ประชานิยม สตรีรัตน์ ล่ำทรัพย์ (18) 470 0.38
พลังชาติไทย วิกรม ศรีเกตุ (26) 412 0.33
เพื่อธรรม ธนัตถ์ อนันต์ (6) 319 0.26
พลังปวงชนไทย ณรงค์ นาโค (25) 303 0.24
ไทรักธรรม นฤสรณ์ คงฉาง (35) 303 0.24
พลังประชาธิปไตย ทวี กาญจนพรหม (30) 282 0.23
กรีน ธวัฎน์ ว่องวรานนท์ (19) 281 0.22
ความหวังใหม่ สุนทร ขวัญดี (31) 281 0.22
พลังไทยรักไทย ณรงค์ ดำเอียด (8) 264 0.21
ภาคีเครือข่ายไทย ธนกร ช่วยเกลี้ยง (34) 251 0.20
ประชาชนปฏิรูป จิราเจตณ์ อ่อนมาก (2) 248 0.20
พลังไทสร้างชาติ เลิศพิสิฐ สีเหมือน (28) 226 0.18
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย นัฐชา สายจิตรื่น (23) 217 0.17
ผึ้งหลวง ประทีป โจ้งทอง (32) 161 0.13
พลเมืองไทย ประเทือง ศรีคง (29) 149 0.12
ครูไทยเพื่อประชาชน ศักดิ์ณสันต์ จินตสกุล (27) 125 0.10
ประชาธรรมไทย ณรงค์ โดะโอย (36) 105 0.08
ประชาไทย สุรเชษฐ์ ปานยัง (33) 78 0.06
ถิ่นกาขาวชาววิไล ภาวนา สะดะ (20) 52 0.04
ไทยรักษาชาติ รัตน์ ภู่กลาง (12)
ผลรวม 124,964 100.00
บัตรดี 124,964
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 4,556 3.36
บัตรเสีย 5,891 4.35
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 135,411 82.07
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 164,986 100
พลังประชารัฐ ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์

เขต 2[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วย อำเภอรัษฎา อำเภอห้วยยอด อำเภอวังวิเศษ อำเภอสิเกาและอำเภอกันตัง (เฉพาะตำบลโคกยาง)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดตรัง เขต 2
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ สาทิตย์ วงศ์หนองเตย (10)* 47,640 39.47
พลังประชารัฐ วิโรจน์ ทองโอเอี่ยม (2) 33,457 27.72
พลังท้องถิ่นไท โชคดี คีรีกิ้น (4) 12,268 10.16
อนาคตใหม่ ปองศักดิ์ ชอบทำกิจ (14) 10,427 8.64
ภูมิใจไทย ชัยฤทธิ์ ถ่ายย้วน (22) 3,468 2.87
เสรีรวมไทย สง จันทร์สุขศรี (11) 2,848 2.36
ประชาชาติ ทวี ปรังพันธ์ (1) 1,113 0.92
ชาติไทยพัฒนา ศรายุทธ นุ่นทอง (3) 1,028 0.85
เศรษฐกิจใหม่ เกียรติกร อรัญวารี (23) 936 0.78
พลังไทยรักไทย นิพนธ์ ทองส่งโสม (6) 879 0.73
เพื่อธรรม ประดิษฐ์ จันทร์สง (9) 786 0.65
พลังชาติไทย จักรกฤต แก้วทอง (27) 758 0.63
ชาติพัฒนา ก้องกฤษณ์ อ่อนรู้ที่ (5) 616 0.51
คลองไทย สิริพงษ์ สุจิตราภรณ์ (7) 486 0.40
เพื่อชาติ อนันต์ รองพล (17) 486 0.40
ทางเลือกใหม่ สันติ รักเพ็ชร (30) 452 0.37
ประชาธิปไตยใหม่ สมพร ขวัญศรีสุทธิ์ (15) 401 0.33
ประชานิยม ธัณพัทธ์ แจ้งพูล (21) 315 0.26
พลังประชาธิปไตย อำนวย ปราบปราม (28) 269 0.22
รวมพลังประชาชาติไทย สบาย เทพกิจ (19) 264 0.22
กรีน ยงยุทธ กูลเมือง (20) 230 0.19
พลังธรรมใหม่ วิจัย น้อยหนู (8) 217 0.18
พลังไทสร้างชาติ ลักษมี ศรีประสิทธิ์ (24) 215 0.18
ประชาชนปฏิรูป วิสิษฐ์ สังขโชติ (12) 205 0.17
พลเมืองไทย จินตณัฐ สุวรรณหมัด (29) 157 0.13
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย ณัฐพร ธรรมเนียม (16) 148 0.12
ครูไทยเพื่อประชาชน ชมะนันท์ ไกรเทพ (25) 119 0.10
ประชาธรรมไทย อมร วงศ์มาก (36) 117 0.10
ความหวังใหม่ อำนาจ วงศ์ดารากุล (31) 84 0.07
ไทรักธรรม เย็นจิตร จิตรา (35) 79 0.07
แผ่นดินธรรม วรรณฤดี นิรันเรือง (26) 71 0.06
ประชาไทย เดโช บุญกราน (32) 49 0.04
ถิ่นกาขาวชาววิไล วรนาฎ วงศ์สวัสดิ์ (18) 48 0.04
ภาคีเครือข่ายไทย รัตนา ช่วยเกลี้ยง (34) 31 0.03
พลังปวงชนไทย วิทยา เจียมสวัสดิ์พันธ์ (33) 29 0.02
ไทยรักษาชาติ คมสรร ต้องหุ้ย (13)
ผลรวม 120,696 100.00
บัตรดี 120,696
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 3,000 2.33
บัตรเสีย 5,145 4.00
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 128,784 80.66
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 159,661 100
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

เขต 3[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วย อำเภอหาดสำราญ อำเภอปะเหลียน อำเภอย่านตาขาว (ยกเว้นตำบลนาชุมเห็ดและตำบลโพรงจระเข้) และอำเภอกันตัง (ยกเว้นตำบลโคกยาง)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดตรัง เขต 3
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ สุณัฐชา โล่สถาพรพิพิธ (11) 51,602 42.95
พลังประชารัฐ ดิษฐ์ธนิน ภาคย์อิชณน์ (9) 31,019 25.82
อนาคตใหม่ ยศวัฒน์ ธีรัตม์วัฒนากุล (6) 13,038 10.85
พลังท้องถิ่นไท พิชัย แซ่เตียว (27) 5,183 4.31
ภูมิใจไทย เรือเอก พัฒน์พงษ์ คงผลาญ (5) 3,541 2.95
ประชาชาติ เนติวิทย์ ขาวดี (13) 2,879 2.40
เสรีรวมไทย มงคลสิษฐ์ มีสุข (1) 2,158 1.80
เศรษฐกิจใหม่ พงษ์พันธ์ สุทธิยาภรณ์ (20) 1,267 1.05
ประชาธิปไตยใหม่ สมหมาย จันทรมาศ (10) 998 0.83
ทางเลือกใหม่ วิชิต กุลจิ (12) 894 0.74
เพื่อชาติ อชิระ หนูทองแก้ว (16) 754 0.63
เพื่อธรรม อวิรุทธิ์ กิ้มเท่ง (3) 670 0.56
พลังประชาธิปไตย หยา เต้งชู (29) 567 0.47
พลังธรรมใหม่ อนิวัฒน์ ศรีสุข (8) 533 0.44
ประชาชนปฏิรูป นราวุธ คงปาน (7) 509 0.42
ชาติไทยพัฒนา ณิชเชฏฐ์ นิลสวัสดิ์ (33) 483 0.40
ความหวังใหม่ พิน เบ็ญระเหม (31) 460 0.38
คลองไทย ซ่อนกลิ่น รัตนะ (26) 350 0.29
ภาคีเครือข่ายไทย มิตต์ดา ช่วยเกลี้ยง (35) 326 0.27
กรีน อาคม สรรเพชร (22) 321 0.27
พลังไทสร้างชาติ ขนิษฐา ภักดีภัทรพงศ์ (30) 311 0.26
ชาติพัฒนา สุกัญญา ช่วยด้วง (4) 302 0.25
รวมพลังประชาชาติไทย ศิรินทร์ทิพย์ กิจเลิศทรัพย์ (18) 301 0.25
ประชาธรรมไทย สงวน พลพัง (37) 281 0.23
ประชานิยม กษิดิฐ แต่งสวน (14) 260 0.22
พลังสังคม ลัญฉกร ชะนะพาล (28) 224 0.19
พลังชาติไทย ประยุทธ เศษวิชัย (25) 211 0.18
ไทรักธรรม ธวัชร์ คงปาน (36) 191 0.16
ประชาไทย ณภัทร ผลิผล (34) 161 0.13
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย ภูดิส เกตุเกลี้ยง (19) 98 0.08
ถิ่นกาขาวชาววิไล พงค์ศักดิ์ ชุมสกุล (17) 92 0.08
แผ่นดินธรรม รัติกาล จักรกรด (23) 81 0.07
ครูไทยเพื่อประชาชน โชติพัฒน์ นวลสุวรรณ์ (24) 77 0.06
ไทยรักษาชาติ นิรุตติ์ รอดริน (2)
พลังไทยรักไทย เทพ บุญศรี (15)
พลังปวงชนไทย ประดิษฐ์ โสบเด็น (21)
ภูมิพลังเกษตรกรไทย ภัคพินันท์ ปภาพิชญ์ธนันท์ (32)
ผลรวม 120,142 100.00
บัตรดี 120,142
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 3,298 2.54
บัตรเสีย 6,350 4.89
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 129,790 78.59
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 165,151 100
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

อ้างอิง[แก้]

  1. พลวุฒิ สงสกุล (19 Sep 2018). "แบ่งเขตเลือกตั้งใหม่ เตรียมหย่อนบัตรปี 62 ส.ส. ลด 23 จังหวัด อีสานหด 10 ที่นั่ง". THE STANDARD. สืบค้นเมื่อ 19 Feb 2019.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]