จังหวัดแม่ฮ่องสอนในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดแม่ฮ่องสอนในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562

← พ.ศ. 2557 (โมฆะ) 24 มีนาคม พ.ศ. 2562 พ.ศ. 2566 →

1 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน173,490
ผู้ใช้สิทธิ83.46%
  First party Second party Third party
 
พรรค พลังประชารัฐ ประชาธิปัตย์ อนาคตใหม่
ที่นั่งก่อนหน้า พรรคใหม่ 1 พรรคใหม่
ที่นั่งที่ชนะ 1 0 0
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น1 ลดลง1 Steady0
คะแนนเสียง 29,754 23,050 17,148
% 22.27 17.25 12.83

ผลการเลือกตั้งตามเขตการเลือกตั้ง
  •   พรรคพลังประชารัฐ

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

ประยุทธ์ จันทร์โอชา
คณะรักษาความสงบแห่งชาติ

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

ประยุทธ์ จันทร์โอชา
อิสระ (พลังประชารัฐ)

จังหวัดแม่ฮ่องสอนในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2562 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 1 เขตเลือกตั้ง[1] โดยแต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 1 คน

ภาพรวม[แก้]

แบ่งตามพรรค[แก้]

พรรค จำนวน
ผู้สมัคร
คะแนนเสียง ที่นั่ง
จน. % จน. +/– %
พลังประชารัฐ 1 29,754 22.27% 1 เพิ่มขึ้น1 100.00%
ประชาธิปัตย์ 1 23,050 17.25% 0 ลดลง1 0.00%
อนาคตใหม่ 1 17,148 12.83% 0 Steady 0.00%
อื่น ๆ 27 63,665 47.65% 0 Steady 0.00%
ผลรวม 30 133,617 100.00% 1 Steady 100.00%
คะแนนเสียง
พลังประชารัฐ
  
22.27%
ประชาธิปัตย์
  
17.25%
อนาคตใหม่
  
12.83%
อื่น ๆ
  
47.65%
ที่นั่ง
พลังประชารัฐ
  
100.00%

เทียบคะแนนกับการเลือกตั้งครั้งก่อนหน้า[แก้]

เปรียบเทียบคะแนนกับผลการเลือกตั้งเมื่อ พ.ศ. 2554

เทียบคะแนนจากการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ พ.ศ. 2554[แก้]

พรรค ปี 2554 ปี 2562 +/–
จน. % จน. %
พลังประชารัฐ 29,754 22.27% เพิ่มขึ้น22.27%
ประชาธิปัตย์ 50,209 44.55% 23,050 17.25% ลดลง27.30%
อนาคตใหม่ 17,148 12.83% เพิ่มขึ้น12.83%
เพื่อไทย 41,217 36.57% 16,747 12.53% ลดลง24.04%
อื่น ๆ 21,269 18.88% 46,918 35.12% เพิ่มขึ้น16.24%
ผลรวม 112,695 100.00% 133,617 100.00%

เทียบคะแนนจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต พ.ศ. 2554[แก้]

พรรค ปี 2554 ปี 2562 +/–
จน. % จน. %
พลังประชารัฐ 29,754 22.27% เพิ่มขึ้น22.27%
ประชาธิปัตย์ 43,732 41.52% 23,050 17.25% ลดลง24.27%
อนาคตใหม่ 17,148 12.83% เพิ่มขึ้น12.83%
เพื่อไทย 31,953 30.34% 16,747 12.53% ลดลง17.81%
อื่น ๆ 29,630 28.14% 46,918 35.12% เพิ่มขึ้น6.98%
ผลรวม 105,315 100.00% 133,617 100.00%

แบ่งตามเขต[แก้]

เขตเลือกตั้ง พลังประชารัฐ ประชาธิปัตย์ อนาคตใหม่ อื่น ๆ ผลรวม ผลการเลือกตั้ง
คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง %
เขต 1 29,754 22.27% 23,050 17.25% 17,148 12.83% 63,665 47.65% 133,617 100.00% พลังประชารัฐ ได้ที่นั่ง
ผลรวม 29,754 22.27% 23,050 17.25% 17,148 12.83% 63,665 47.65% 133,617 100.00%

เขตเลือกตั้ง[แก้]

เขต 1

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขต 1[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยจังหวัดแม่ฮ่องสอนทั้งจังหวัด

ทั้งนี้ หลังจากที่ผู้ได้รับเลือกตั้ง นายปัญญา จีนาคำ ถูกขับออกจากพรรคพลังประชารัฐ เมื่อวันที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2565 ได้ย้ายเข้าสังกัดพรรคเศรษฐกิจไทยในเวลาต่อมา [2] และคาดว่าถูกขับออกจากพรรคหลังจากพบว่ากลับมาเป็นสมาชิกพรรคพลังประชารัฐอีกครั้งหนึ่ง[3]

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดแม่ฮ่องสอน เขต 1
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
พลังประชารัฐ ปัญญา จีนาคำ (12)✔ 29,754 22.27
ประชาธิปัตย์ สมบัติ ยะสินธุ์ (15)* 23,050 17.25
อนาคตใหม่ อนุพันธ์ หาญประดับทอง (20) 17,148 12.83
เพื่อไทย วิเชียร บุญระชัยสวรรค์ (4) 16,747 12.53
ภูมิใจไทย สนธยา มานะจิตต์ (9) 14,264 10.68
ชาติพัฒนา ไพฑูรย์ สำราญไพรวัลย์ (14) 13,872 10.38
ชาติไทยพัฒนา สมบูรณ์ ไพรวัลย์ (7)✔ 3,402 2.55
เสรีรวมไทย ธนนท์ สารวาท (13) 1,724 1.29
รวมพลังประชาชาติไทย สมจิต สุวรรณบุษย์ (1) 1,612 1.21
พลังท้องถิ่นไท ชรินทร์ทิพย์ ชิงชัยพงษ์ (11) 1,407 1.05
เศรษฐกิจใหม่ อำนวย ธรรมตะถา (21) 1,057 0.79
ประชาชาติ ซัวหยี้ แซ่หัน (5) 943 0.71
พลังธรรมใหม่ รัตน์ติการ เสริมเสรี (8) 863 0.65
ประชาภิวัฒน์ ดำริ สุมงคลลาภ (10) 825 0.62
ทางเลือกใหม่ อำนาจ แสงสกาย (2) 823 0.62
ประชาธรรมไทย ณัฐปคัลภ์ ศักดิ์ปิยเมธากุล (24) 805 0.60
เพื่อชาติ ชุณห์พิมาน เชษฐ์เมทินี (3) 753 0.56
แผ่นดินธรรม โอภาส ต้ออาษา (6) 644 0.48
พลังชาติไทย พันศักดิ์ จิตสว่าง (22) 638 0.48
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย ชาติชาย ตาหมี่ (16) 549 0.41
ไทยศรีวิไลย์ เทวราชฤทธิ์ ปันดี (25) 453 0.34
พลังไทยดี เกษมชัย ชนิดกานนท์ (29) 368 0.28
เพื่อแผ่นดิน ว่าที่ร้อยตรีเทียนชัย เครือแก้ว (19) 323 0.24
ภราดรภาพ สวาท หล้าคำ (17) 274 0.21
ครูไทยเพื่อประชาชน สมศรี สิทธิบุญ (23) 273 0.20
พลังไทยรักไทย ธัช ยุกตานนท์ (30) 256 0.19
พลังปวงชนไทย หม่อทูคำ สถิรภูวดล (27) 206 0.15
ชาติพันธุ์ไทย วิศรุตวัฒต์ สุศิริวรรักษ์ (26) 200 0.15
ไทรักธรรม คำแข่ง บุญทำใจ (28) 194 0.15
ประชานิยม กิตติศักดิ์ บัวแก้ว (18) 190 0.14
ผลรวม 133,617 100.00
บัตรดี 133,617 92.28
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,884 1.30
บัตรเสีย 9,300 6.42
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 144,801 83.46
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 173,490 100.00
พลังประชารัฐ ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์

อ้างอิง[แก้]

  1. สยามรัฐออนไลน์ (4 กุมภาพันธ์ 2562). "สนามเลือกตั้งเมืองสามหมอกเปิดรับสมัครสส.วันแรกคึกคัก". siamrath. สืบค้นเมื่อ 4 กันยายน 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  2. "พรรคเศรษฐกิจไทย" แจ้ง "สภาฯ" 18ส.ส. ที่ถูก "พปชร." ขับ ย้ายเข้าสังกัดแล้ว
  3. 'ธรรมนัส' หนีบ 11 ส.ส.เศรษฐกิจไทยย่องเงียบสมัคร 'พรรคพลังประชารัฐ' แล้ว https://www.thaipost.net/hi-light/320199/

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]