ข้ามไปเนื้อหา

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสตูล

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
จังหวัดสตูล
เขตเลือกตั้งในปัจจุบัน
จำนวนเขต2
คะแนนเสียง92,431 (ภูมิใจไทย)
เขตเลือกตั้งปัจจุบัน
ก่อตั้งพ.ศ. 2476
ที่นั่งภูมิใจไทย (2)
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรดูในบทความ

จังหวัดสตูล มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2 เขต (สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ. 2566)[1] และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 2 คน จากทั้งหมด 400 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย

ประวัติศาสตร์

[แก้]

หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยจังหวัดสตูลมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนแรก คือ พระยาสมันต์รัฐบุรินทร์ (ตุ๋ย บินอับดุลลาห์)[2]

เขตเลือกตั้ง

[แก้]
การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้ง แผนที่ จำนวน ส.ส.
พ.ศ. 2476 เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด 1 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2480
พ.ศ. 2481
พ.ศ. 2489
พ.ศ. 2491
พ.ศ. 2492
พ.ศ. 2495
พ.ศ. 2500/1
พ.ศ. 2500/2
พ.ศ. 2512
พ.ศ. 2518
พ.ศ. 2519
พ.ศ. 2522
พ.ศ. 2526
พ.ศ. 2529
พ.ศ. 2531
พ.ศ. 2535/1
พ.ศ. 2535/2
พ.ศ. 2538 2 คน (เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2539
พ.ศ. 2544 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสตูล, อำเภอควนโดน และอำเภอควนกาหลง (เฉพาะตำบลทุ่งนุ้ย)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอท่าแพ, อำเภอละงู, อำเภอทุ่งหว้า, อำเภอควนกาหลง (ยกเว้นตำบลทุ่งนุ้ย) และกิ่งอำเภอมะนัง
2 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2550 เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด 2 คน (เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2554 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสตูล, อำเภอควนโดน และอำเภอควนกาหลง (เฉพาะตำบลทุ่งนุ้ย)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอท่าแพ, อำเภอละงู, อำเภอทุ่งหว้า, อำเภอมะนัง และอำเภอควนกาหลง (ยกเว้นตำบลทุ่งนุ้ย)
2 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2562
พ.ศ. 2566

รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต

[แก้]

ชุดที่ 1–7; พ.ศ. 2476–2495

[แก้]
      พรรคประชาธิปัตย์
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 1 พ.ศ. 2476 พระยาสมันต์รัฐบุรินทร์ (ตุ๋ย บินอับดุลลาห์)
ชุดที่ 2 พ.ศ. 2480 นายสงวน ณ นคร
ชุดที่ 3 พ.ศ. 2481
ชุดที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2489 นายเจ๊ะอับดุลลาห์ หลังปูเต๊ะ
สิงหาคม พ.ศ. 2489 – (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
ชุดที่ 5 พ.ศ. 2491 นายเจ๊ะอับดุลลาห์ หลังปูเต๊ะ
พ.ศ. 2492 – (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
ชุดที่ 7 พ.ศ. 2495 นายเจ๊ะอับดุลลาห์ หลังปูเต๊ะ

ชุดที่ 8–18; พ.ศ. 2500–2535

[แก้]
      พรรคเสรีมนังคศิลา
      พรรคสหภูมิพรรคชาติสังคม
      พรรคธรรมสังคม
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคชาติประชาชน
      พรรคก้าวหน้า
      พรรคชาติไทย
      พรรคมวลชน
      ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 นายเจ๊ะอับดุลลาห์ หลังปูเต๊ะ
ชุดที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2500 นายเจ๊ะอับดุลลาห์ หลังปูเต๊ะ
ชุดที่ 10 พ.ศ. 2512 นายชูสิน โคนันทน์
ชุดที่ 11 พ.ศ. 2518 นายชูสิน โคนันทน์
ชุดที่ 12 พ.ศ. 2519 นายสมศักดิ์ เส็นดาโอ๊ะ
ชุดที่ 13 พ.ศ. 2522 นายชูสิน โคนันทน์
ชุดที่ 14 พ.ศ. 2526 นายจิรายุส เนาวเกตุ
ชุดที่ 15 พ.ศ. 2529 นายจิรายุส เนาวเกตุ
ชุดที่ 16 พ.ศ. 2531 นายวิทูร หลังจิ
ชุดที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2535 นายจิรายุส เนาวเกตุ
ชุดที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2535 นายธานินทร์ ใจสมุทร

ชุดที่ 19–20; พ.ศ. 2538–2539

[แก้]
      พรรคประชาธิปัตย์
เขต ชุดที่ 19 พ.ศ. 2538 ชุดที่ 20 พ.ศ. 2539
1 นายสนั่น สุธากุล
นายธานินทร์ ใจสมุทร

ชุดที่ 21–22; พ.ศ. 2544–2548

[แก้]
      พรรคประชาธิปัตย์
เขต ชุดที่ 21 พ.ศ. 2544 ชุดที่ 22 พ.ศ. 2548
1 นายธานินทร์ ใจสมุทร นายอสิ มะหะมัดยังกี
2 นายสนั่น สุธากุล นายธานินทร์ ใจสมุทร
นายฮอชาลี ม่าเหร็ม
(แทนนายธานินทร์)

ชุดที่ 23; พ.ศ. 2550

[แก้]
      พรรคประชาธิปัตย์
เขต ชุดที่ 23 พ.ศ. 2550
1 นายฮอชาลี ม่าเหร็ม
นายอสิ มะหะมัดยังกี

ชุดที่ 24–26; พ.ศ. 2554–2566

[แก้]
      พรรคชาติไทยพัฒนา
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคภูมิใจไทย
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1 เขตเลือกตั้งที่ 2
ชุดที่ 24 พ.ศ. 2554 นายธานินทร์ ใจสมุทร นายฮอชาลี ม่าเหร็ม
ชุดที่ 25 พ.ศ. 2562 นายพิบูลย์ รัชกิจประการ นายวรศิษฎ์ เลียงประสิทธิ์
ชุดที่ 26 พ.ศ. 2566

รูปภาพ

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งและเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัดจะพึงมี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 140 (14 ก): 38–42. 3 มีนาคม 2566.
  2. อาร์วายทีไนน์,สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจากการเลือกตั้งครั้งแรก

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]