ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประเทศอินเดีย"

พิกัด: 21°N 78°E / 21°N 78°E / 21; 78
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
JBot (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่อาจเป็นการทดลอง หรือก่อกวนด้วยบอต ไม่ควรย้อน? แจ้งที่นี่
ป้ายระบุ: เปลี่ยนทางใหม่ ย้อนด้วยมือ ถูกย้อนกลับแล้ว
Eviolite (คุย | ส่วนร่วม)
Reverted 1 edit by JBot (talk): False positive (TwinkleGlobal)
ป้ายระบุ: ลบหน้าเปลี่ยนทาง ทำกลับ ถูกย้อนกลับแล้ว ผู้ใช้แก้หน้าเปลี่ยนทาง ลิงก์แก้ความกำกวม
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{short description|ประเทศในเอเชียใต้}}
#REDIRECT [[ฝรั่งเศส]]
{{เกี่ยวกับ|สาธารณรัฐอินเดีย|ความหมายอื่น|อินเดีย (แก้ความกำกวม)}}
{{Infobox country
| conventional_long_name = สาธารณรัฐอินเดีย
| common_name = อินเดีย
| native_name = <!--Do NOT remove this from the infobox as infobox translations and transliterations do not fall under [[WP:Manual of Style/India-related articles#Indic scripts in leads and infoboxes]].--> {{transl|hi|ISO|Bhārat Gaṇarājya}}<br />{{smaller|(ดู[[Names of India in its official languages|ชื่อท้องถิ่น]])}}
| image_flag = Flag of India.svg
| alt_flag = Horizontal tricolour flag bearing, from top to bottom, deep saffron, white, and green horizontal bands. In the centre of the white band is a navy-blue wheel with 24 spokes.
| image_coat = Emblem of India.svg
| symbol_width = 60px
| alt_coat = Three lions facing left, right, and toward viewer, atop a frieze containing a galloping horse, a 24-spoke wheel, and an elephant. Underneath is a motto: "सत्यमेव जयते".
| symbol_type = [[ตราแผ่นดินของอินเดีย|ตราแผ่นดิน]]
| other_symbol = {{native phrase|sa|"[[วันเดมาตรัม]]"|italics=off}}<br />"ข้าขอคารวะแก่ท่านมารดา"{{lower|0.2em|{{efn|"[...] ''ชนะ คณะ มนะ'' เป็นเพลงชาติอินเดีย และเพลง ''วันเดมาตรัม'' ซึ่งมีส่วนในทางประวัติศาสตร์ช่วงที่อินเดียต้องการเป็นเอกราช สมควรถูกยกย่องเท่ากับ ''ชนะ คณะ มนะ'' และควรมีสถานะเดียวกัน"{{harv|Constituent Assembly of India|1950}}.<!--end efn:-->}}{{sfn|National Informatics Centre|2005}}<!--end lower:--><ref name="india.gov.in" />}}
| other_symbol_type = เพลงพื้นเมือง
| national_motto = {{native phrase|sa|"[[สตฺยเมว ชยเต]]"|italics=off}}
| national_anthem = {{native phrase|bn|"[[เพลงชาติอินเดีย|ชนะ คณะ มนะ]]"|italics=off|paren=omit}}<ref name="india.gov.in">{{cite web |url=https://india.gov.in/india-glance/national-symbols |title=National Symbols &#124; National Portal of India |publisher=[[India.gov.in]] |quote=The National Anthem of India Jana Gana Mana, composed originally in Bengali by Rabindranath Tagore, was adopted in its Hindi version by the Constituent Assembly as the National Anthem of India on 24 January 1950. |access-date=1 March 2017 |archive-url=https://web.archive.org/web/20170204121208/https://india.gov.in/india-glance/national-symbols |archive-date=4 February 2017 }}</ref><ref name="tatsama">{{cite news |title=National anthem of India: a brief on 'Jana Gana Mana' |url=https://www.news18.com/news/india/national-anthem-of-india-a-brief-on-jana-gana-mana-498576.html |access-date=7 June 2019 |publisher=[[News18 India|News18]] |archive-url=https://web.archive.org/web/20190417194530/https://www.news18.com/news/india/national-anthem-of-india-a-brief-on-jana-gana-mana-498576.html |archive-date=17 April 2019}}</ref><br />"เจ้านั้นคือดวงใจแห่งผองชน"{{lower|0.2em|{{sfn|Wolpert|2003|p=1}}<ref name="india.gov.in" />}}<br />
<div style="display:inline-block;margin-top:0.4em;">{{center|[[ไฟล์:Jana Gana Mana instrumental.ogg]]}}</div>
| national_languages = ไม่มี<ref name="Times News Network">{{cite news|last=Khan|first=Saeed|title=There's no national language in India: Gujarat High Court|url=http://timesofindia.indiatimes.com/india/Theres-no-national-language-in-India-Gujarat-High-Court/articleshow/5496231.cms|access-date=5 May 2014|newspaper=[[The Times of India]]|date=25 January 2010|archive-url=https://web.archive.org/web/20140318040319/http://timesofindia.indiatimes.com/india/Theres-no-national-language-in-India-Gujarat-High-Court/articleshow/5496231.cms|archive-date=18 March 2014}}</ref><ref name="NoneNtl">{{cite news|url=http://timesofindia.indiatimes.com/india/Learning-with-the-Times-India-doesnt-have-any-national-language/articleshow/5234047.cms|title=Learning with the Times: India doesn't have any 'national language'|newspaper=[[The Times of India]]|archive-url=https://web.archive.org/web/20171010085454/https://timesofindia.indiatimes.com/india/Learning-with-the-Times-India-doesnt-have-any-national-language/articleshow/5234047.cms|archive-date=10 October 2017|date=16 November 2009}}</ref><ref name="Press Trust of India">{{Cite news|url=http://www.thehindu.com/news/national/hindi-not-a-national-language-court/article94695.ece|title=Hindi, not a national language: Court|newspaper=[[Press Trust of India]] via [[The Hindu]]|access-date=23 December 2014|date=25 January 2010|location=Ahmedabad|archive-url=https://web.archive.org/web/20140704084339/http://www.thehindu.com/news/national/hindi-not-a-national-language-court/article94695.ece|archive-date=4 July 2014}}</ref>
| image_map = India (orthographic projection).svg
| map_width = 250px
| alt_map = Image of a globe centred on India, with India highlighted.
| map_caption = พื้นที่ที่ควบคุมแสดงในสีเขียวเข้ม ส่วนบริเวณที่อ้างสิทธิ์แต่มิได้ควบคุมแสดงในสีเขียวอ่อน
| capital = [[นิวเดลี]]
| coordinates = {{Coord|28|36|50|N|77|12|30|E|type:city_region:IN}}
| largest_city = {{plainlist|
* [[มุมไบ]] (เมือง)
* [[เดลี]] (เขตปริมณฑล)
}}
| official_languages = {{hlist |[[ภาษาฮินดี|ฮินดี]]|[[ภาษาอังกฤษอินเดีย|อังกฤษ]]{{efn|รายงานจาก[[รัฐธรรมนูญอินเดีย ส่วนที่ 17]] [[ภาษาฮินดี]]ใน[[อักษรเทวนาครี]]เป็น[[อักษรทางการ]]ของสหภาพ คู่กับ[[ภาษาอังกฤษอินเดีย|ภาษาอังกฤษ]]{{sfn|Ministry of Home Affairs 1960}}{{sfn|National Informatics Centre|2005}}<ref name="india.gov.in2">{{cite web |url=https://india.gov.in/india-glance/profile |title=Profile &#124; National Portal of India |publisher=[[India.gov.in]] |access-date=23 August 2013 |archive-url=https://web.archive.org/web/20130830064815/http://india.gov.in/india-glance/profile |archive-date=30 August 2013 }}</ref> [[รัฐและดินแดนสหภาพของประเทศอินเดีย|รัฐและดินแดนสหภาพ]]สามารถมีภาษาทางการเป็นของตนเอง ซึ่งอยู่นอกเหนือจากภาษาฮินดีและอังกฤษ}}<ref>{{cite web |url=https://rajbhasha.gov.in/en/constitutional-provisions |title=Constitutional Provisions – Official Language Related Part-17 of the Constitution of India |language=hi |website=[[Government of India]] |access-date=18 April 2021 |url-status=live |archive-url=https://web.archive.org/web/20210418112326/https://rajbhasha.gov.in/en/constitutional-provisions |archive-date=18 April 2021}}</ref>}}
| regional_languages = {{collapsible list
|titlestyle = background:transparent;text-align:left;
|title = [[ภาษาราชการของอินเดีย#ระดับรัฐ|ระดับรัฐ]]และ[[Eighth Schedule to the Constitution of India|{{nowrap|ข้อกำหนดที่แปด}}]]<ref name="langoff">{{cite web |url=http://nclm.nic.in/shared/linkimages/NCLM50thReport.pdf |title=Report of the Commissioner for linguistic minorities: 50th report (July 2012 to June 2013) |publisher=Commissioner for Linguistic Minorities, Ministry of Minority Affairs, Government of India |access-date=26 December 2014 |url-status=dead |archive-url=https://web.archive.org/web/20160708012438/http://nclm.nic.in/shared/linkimages/NCLM50thReport.pdf |archive-date=8 July 2016 }}</ref>
|{{hlist
| [[ภาษาอัสสัม|อัสสัม]]
| [[ภาษาเบงกอล|เบงกอล]]
| [[ภาษาโบโด|โบโด]]
| [[ภาษาโดกรี|โดกรี]]
| [[ภาษาคุชราต|คุชราต]]
| [[ภาษาฮินดี|ฮินดี]]
| [[ภาษากันนาดา|กันนาดา]]
| [[ภาษากัศมีร์|กัศมีร์]]
| [[ภาษากอกบอรอก|กอกบอรอก]]
| [[ภาษากงกณี|กงกณี]]
| [[ภาษาไมถิลี|ไมถิลี]]
| [[ภาษามลยาฬัม|มลยาฬัม]]
| [[ภาษามณีปุระ|มณีปุระ]]
| [[ภาษามราฐี|มราฐี]]
| [[ภาษามีโซ|มีโซ]]
| [[ภาษาเนปาล|เนปาล]]
| [[ภาษาโอริยา|โอริยา]]
| [[ภาษาปัญจาบ|ปัญจาบ]]
| [[ภาษาสันสกฤต|สันสกฤต]]
| [[ภาษาสันถาลี|สันถาลี]]
| [[ภาษาสินธี|สินธี]]
| [[ภาษาทมิฬ|ทมิฬ]]
| [[ภาษาเตลูกู|เตลูกู]]
| [[ภาษาอูรดู|อูรดู]]
}}
}}
| languages_type = ภาษาแม่
| languages = [[List of languages by number of native speakers in India|447 ภาษา]]{{efn|มีข้อมูลต่างกันไป ขึ้นอยู่กับว่าจำกัดความ "ภาษา" และ "สำเนียง" อย่างไร โดย Ethnologue จัดให้มี 461 ภาษา (จาก 6,912 ภาษาทั่วโลก) โดย 447 ยังมีผู้ใช้งาน ในขณะที่ 14 สูญพันธุ์แล้ว<ref name="Ethnologue">{{cite web|editor=Lewis, M. Paul |editor2=Simons, Gary F. |editor3=Fennig, Charles D.|year=2014|title=Ethnologue: Languages of the World (Seventeenth edition) : India|publisher=SIL International|location= Dallas, Texas|url= http://www.ethnologue.com/country/IN|access-date=15 December 2014}}</ref><ref name="Ethnologue2">[http://archive.ethnologue.com/15/ethno_docs/distribution.asp?by=area Ethnologue : Languages of the World (Seventeenth edition) : Statistical Summaries] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20141217151950/http://archive.ethnologue.com/15/ethno_docs/distribution.asp?by=area |date=17 December 2014 }}. Retrieved 17 December 2014.</ref>}}
| demonym = [[ชาวอินเดีย]]
| government_type = [[สาธารณรัฐ|สาธารณรัฐรัฐธรรมนูญ]] [[สาธารณรัฐระบบรัฐสภา|ระบอบรัฐสภา]]แบบ[[ระบอบสหพันธรัฐ|สหพันธรัฐ]]
| leader_title1 = [[ประธานาธิบดีอินเดีย|ประธานาธิบดี]]
| leader_name1 = [[ราม นาถ โกวินท์]]
| leader_title2 = [[รองประธานาธิบดีอินเดีย|รองประธานาธิบดี]]
| leader_name2 = [[Venkaiah Naidu]]
| leader_title3 = [[นายกรัฐมนตรีอินเดีย|นายกรัฐมนตรี]]
| leader_name3 = [[นเรนทระ โมที]]
| leader_title4 = [[ผู้พิพากษาสูงสุดอินเดีย| ผู้พิพากษาสูงสุด]]
| leader_name4 = [[N. V. Ramana]]
| leader_title5 = [[ประธานโลกสภา]]
| leader_name5 = [[Om Birla]]
| legislature = [[รัฐสภาอินเดีย|รัฐสภา]]
| upper_house = [[ราชยสภา]]
| lower_house = [[โลกสภา]]
| sovereignty_type = [[ขบวนการเอกราชอินเดีย|เป็นเอกราช]]
| sovereignty_note = จาก[[สหราชอาณาจักร]]
| established_event1 = [[ประเทศอินเดียในเครือจักรภพ|เครือจักรภพ]]
| established_date1 = [[วันเอกราช (ประเทศอินเดีย)|15 สิงหาคม ค.ศ. 1947]]
| established_event2 = [[สาธารณรัฐ]]
| established_date2 = [[วันสาธารณรัฐ (ประเทศอินเดีย)|26 มกราคม ค.ศ. 1950]]
| area_km2 = 3,287,263<ref name="india.gov.in" />
| area_footnote = {{efn|"ขนาดประเทศยังคงมีความขัดแย้งเนื่องจากมีดินแดนพิพาท รัฐบาลอินเดียระบุว่ามีพื้นที่ {{convert|3287260|km2|sqmi|abbr=off}} และมีพื้นที่ดินทั้งหมด {{convert|3060500|km2|sqmi|abbr=off}}; สหประชาชาติระบุว่ามีพื้นที่ {{convert|3287263|km2|sqmi|abbr=off}} และมีพื้นที่ดินทั้งหมด {{convert|2973190|km2|sqmi|abbr=off}}"{{harv|Library of Congress|2004}}.}}
| area_rank = อันดับที่ 7
| area_sq_mi = 1,269,346
| percent_water = 9.6
| population_estimate = {{IncreaseNeutral}} {{UN Population|India}}{{UN Population|ref}}
| population_census = 1,210,854,977<ref>{{cite web|url=http://www.censusindia.gov.in/2011census/population_enumeration.html|title=Population Enumeration Data (Final Population)|work=2011 Census Data|publisher=Office of the Registrar General & Census Commissioner, India|access-date=17 June 2016|archive-url=https://web.archive.org/web/20160522213913/http://www.censusindia.gov.in/2011census/population_enumeration.html|archive-date=22 May 2016}}</ref><ref>{{cite web|url=http://www.censusindia.gov.in/2011census/PCA/A-2_Data_Tables/00%20A%202-India.pdf|title=A – 2 Decadal Variation in Population Since 1901|work=2011 Census Data|publisher=Office of the Registrar General & Census Commissioner, India|access-date=17 June 2016|archive-url=https://web.archive.org/web/20160430213141/http://www.censusindia.gov.in/2011census/PCA/A-2_Data_Tables/00%20A%202-India.pdf|archive-date=30 April 2016}}</ref>
| population_estimate_year = {{UN Population|Year}}
| population_estimate_rank = อันดับที่ 2
| population_census_year = ค.ศ. 2011
| population_census_rank = อันดับที่ 2
| population_density_km2 = {{Pop density|{{Indian population clock}}|3287263|km2|disp=num|prec=1}}
| population_density_sq_mi = {{Pop density|{{Indian population clock}}|1269219|sqmi|disp=num|prec=1}}
| population_density_rank = อันดับที่ 19
| GDP_PPP = {{increase}} {{nowrap|10.207 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ}}<ref name=imf>{{cite web |url=https://www.imf.org/en/Publications/WEO/weo-database/2021/April/weo-report?c=534,&s=NGDP_R,NGDP_RPCH,NGDP,NGDPD,PPPGDP,NGDP_D,NGDPRPC,NGDPRPPPPC,NGDPPC,NGDPDPC,PPPPC,&sy=2019&ey=2026&ssm=0&scsm=1&scc=0&ssd=1&ssc=0&sic=0&sort=country&ds=.&br=1 |title=World Economic Outlook Database, April 2021 |publisher=[[International Monetary Fund]] |website=IMF.org |date=April 2021 |access-date=6 April 2021}}</ref>
| GDP_PPP_year = ค.ศ. 2021
| GDP_PPP_rank = อันดับที่ 3
| GDP_PPP_per_capita = {{increase}} 7,333 ดอลลาร์สหรัฐ<ref name=imf/>
| GDP_PPP_per_capita_rank = อันดับที่ 122
| GDP_nominal = {{increase}} {{nowrap|3.050 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ}}<ref name=imf/>
| GDP_nominal_year = ค.ศ. 2021
| GDP_nominal_rank = อันดับที่ 6
| GDP_nominal_per_capita = {{increase}} 2,191 ดอลลาร์สหรัฐ<ref name=imf/>
| GDP_nominal_per_capita_rank = อันดับที่ 145
| Gini = 35.7 <!--number only-->
| Gini_year = ค.ศ. 2011
| Gini_change =
| Gini_ref = <ref>{{cite web|title=Gini Index coefficient|url=https://www.cia.gov/the-world-factbook/field/gini-index-coefficient-distribution-of-family-income/country-comparison|website=CIA : The World Factbook|access-date=10 July 2021|archive-url=https://web.archive.org/web/20210707032440/https://www.cia.gov/the-world-factbook/field/gini-index-coefficient-distribution-of-family-income/country-comparison|archive-date=7 July 2021}}</ref>
| Gini_rank = อันดับที่ 98
| HDI = 0.645 <!--number only-->
| HDI_year = ค.ศ. 2019 <!--Please use the year to which the HDI [[Human Development Index]] data refers, not the publication year-->
| HDI_change = increase <!--increase/decrease/steady-->
| HDI_ref = <ref name="UNHDR">{{cite web|url=http://hdr.undp.org/sites/default/files/hdr2020.pdf|title=Human Development Report 2020|language=en|publisher=[[United Nations Development Programme]]|date=15 December 2020|access-date=15 December 2020}}</ref>
| HDI_rank = อันดับที่ 131
| currency = [[รูปีอินเดีย]] (₹)
| currency_code = INR
| time_zone = [[เวลามาตรฐานอินเดีย]]
| utc_offset = +05:30
| utc_offset_DST =
| DST_note = ''ไม่สังเกต[[เวลาออมแสง]]''
| time_zone_DST =
| date_format = {{ubl
| {{nowrap|{{abbr|วว|วัน}}-{{abbr|ดด|เดือน}}-{{abbr|ปปปป|ปี}}}}{{efn|ดู [[Date and time notation in India]].}}
}}
| electricity = [[Mains electricity by country|230 โวลต์–50 เฮิร์ซ]]
| drives_on = [[Left- and right-hand traffic|ซ้าย]]<ref>{{Cite web |title=List of all left- & right-driving countries around the world |url=https://www.worldstandards.eu/cars/list-of-left-driving-countries/ |date=13 May 2020 |access-date=10 June 2020 |website=worldstandards.eu}}</ref>
| calling_code = [[Telephone numbers in India|+91]]
| cctld = [[.in]] ([[.in#Internationalized domain names and country codes|อื่น ๆ]])
| englishmotto = "ความจริงเท่านั้นจักมีชัย"{{lower|0.2em|{{sfn|National Informatics Centre|2005}}}}
| religion_year = 2011
| religion = {{ubl
| 79.8% [[ศาสนาฮินดูในประเทศอินเดีย|ฮินดู]]
| 14.2% [[ศาสนาอิสลามในประเทศอินเดีย|อิสลาม]]
| 2.3% [[ศาสนาคริสต์ในประเทศอินเดีย|คริสต์]]
| 1.7% [[ศาสนาซิกข์ในประเทศอินเดีย|ซิกข์]]
| 0.7% [[ประวัติศาสตรศาสนาพุทธในประเทศอินเดีย|พุทธ]]
| 0.4% [[ศาสนาเชนในประเทศอินเดีย|เชน]]
| 0.23% [[การไม่มีศาสนาในประเทศอินเดีย|ไม่มีศาสนา]]
| 0.65% [[ศาสนาในประเทศอินเดีย|อื่น ๆ]]<ref name="Census2011religion">{{cite web|url=http://www.censusindia.gov.in/2011census/C-01/DDW00C-01%20MDDS.XLS |title=C −1 Population by religious community – 2011 |publisher=[[Office of the Registrar General & Census Commissioner]] |access-date=25 August 2015 |url-status=dead |archive-url=https://web.archive.org/web/20150825155850/http://www.censusindia.gov.in/2011census/C-01/DDW00C-01%20MDDS.XLS |archive-date=25 August 2015}}</ref>
}}
| official_website = <!-- do not add www.gov.in – The article is about the country, not the government – from Template:Infobox country, "do not use government website (e.g. usa.gov) for countries (e.g. United States) -->
| today =
|iso3166code=IN}}
'''อินเดีย''' ({{lang-en|India}}) หรือ '''ภารตะ''' ({{lang-hi|भारत}}, ถอดอักษรเทวนาครีเป็นไทย ''ภารต'', ออกเสียง {{IPA|[ˈbʱaːɾət̪]}} ''บฮฺรัต'') หรือชื่อทางการว่า '''สาธารณรัฐอินเดีย''' ({{lang-en|Republic of India}}, {{lang-hi|भारत गणराज्य}}) เป็น[[ประเทศ]]ที่ตั้งอยู่ใน[[เอเชียใต้|ทวีปเอเชียใต้]] กินพื้นที่ส่วนใหญ่ใน[[อนุทวีปอินเดีย]] เป็นประเทศที่มี[[ประชากร]]มากเป็นอันดับสองของโลก และยังเป็นประเทศ[[ประชาธิปไตย]]ที่มีประชากรมากที่สุดในโลก (ประมาณ 1,300 ล้านคน)<ref>{{Cite web|date=2019-11-25|title=HTLS 2019: The evolution of the world’s largest democracy|url=https://www.hindustantimes.com/india-news/htls-2019-the-evolution-of-the-world-s-largest-democracy/story-9Ok3FbGUDKFQfmYcVRugAP.html|website=Hindustan Times|language=en}}</ref><ref>https://www.europarl.europa.eu/RegData/etudes/ATAG/2014/538956/EPRS_ATA(2014)538956_REV1_EN.pdf</ref><ref>{{Cite news|date=2019-02-18|title=India country profile|language=en-GB|work=BBC News|url=https://www.bbc.com/news/world-south-asia-12557384|access-date=2021-07-08}}</ref> มีอาณาเขตทางทิศเหนือติดกับ[[ประเทศจีน|จีน]] [[ประเทศเนปาล|เนปาล]] และ[[ประเทศภูฏาน|ภูฏาน]] ทางตะวันตกเฉียงเหนือติดกับ[[ปากีสถาน]] ทางตะวันออกติด[[ประเทศพม่า|พม่า]] ทางตะวันตกเฉียงใต้จรด[[มหาสมุทรอินเดีย]] ทางตะวันออกเฉียงใต้ติด[[ประเทศศรีลังกา|ศรีลังกา]] ล้อมรอบ[[ประเทศบังกลาเทศ|บังกลาเทศ]]ทางทิศเหนือ ทิศตะวันออก และทิศตะวันตก และยังมีเขตแดนทางทะเลต่อเนื่องกับน่านน้ำไทย พม่า และ[[ประเทศอินโดนีเซีย|อินโดนีเซีย]] และด้วยพื้นที่ 3,287,590 ตารางกิโลเมตร อินเดียจึงเป็น[[รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมด|ประเทศที่ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับ 7 ของโลก]]<ref>{{Cite web|title=Largest countries in the world|url=https://www.statista.com/statistics/262955/largest-countries-in-the-world/|website=Statista|language=en}}</ref>

มนุษย์ยุคใหม่เริ่มเข้ามาตั้งรกรากในอนุทวีปอินเดียเมื่อประมาณ 55,000 ปีที่แล้ว<ref>{{Cite book|last=Dyson|first=Tim|url=https://books.google.co.th/books?id=3TRtDwAAQBAJ&pg=PA1&redir_esc=y#v=onepage&q&f=false|title=A Population History of India: From the First Modern People to the Present Day|date=2018-09-27|publisher=Oxford University Press|isbn=978-0-19-882905-8|language=en}}</ref> โดยเลี้ยงชีพด้วยการทำ[[เกษตรกรรม]]และล่าสัตว์ และอนุทวีปอินเดียถือเป็นบริเวณที่มีความหลากหลายทาง[[ชาติพันธุ์วิทยา|ชาติพันธุ์]]มากที่สุดรองจาก[[ทวีปแอฟริกา]]<ref>{{Cite book|last=Dyson|first=Tim|url=https://books.google.co.th/books?id=3TRtDwAAQBAJ&pg=PA28&redir_esc=y#v=onepage&q&f=false|title=A Population History of India: From the First Modern People to the Present Day|date=2018-09-27|publisher=Oxford University Press|isbn=978-0-19-882905-8|language=en}}</ref> ผู้คนเริ่มรวมตัวกันเป็น[[สังคม]]เมื่อ 9,000 ปีที่แล้วบริเวณลุ่ม[[แม่น้ำสินธุ]] ประมาณ 1,200 ปีก่อนคริสต์ศักราช [[ภาษาสันสกฤต]]โบราณซึ่งเป็นตระกูล[[ภาษาอินโด-ยูโรเปียนดั้งเดิม]] ได้แพร่กระจายไปยังอินเดียจากแถบตะวันตกเฉียงเหนือ<ref>{{Cite book|last=Lowe|first=John J.|url=https://books.google.co.th/books?id=L07CBwAAQBAJ&pg=PA2&redir_esc=y#v=onepage&q&f=false|title=Participles in Rigvedic Sanskrit: The Syntax and Semantics of Adjectival Verb Forms|date=2015-04-23|publisher=OUP Oxford|isbn=978-0-19-100505-3|language=en}}</ref> และประมาณ 400 ปี ก่อนคริสต์ศักราช อิทธิพลของ[[ศาสนาฮินดู]]ได้ก่อให้เกิดระบบชนชั้น[[วรรณะ (ศาสนาฮินดู)|วรรณะ]]ในอินเดีย ตามมาด้วยการแพร่หลายของ[[ศาสนาพุทธ]]และ[[ศาสนาเชน]] การรวมกลุ่มทาง[[การเมือง]]ก่อให้เกิด[[ราชวงศ์โมริยะ]]และ[[จักรวรรดิคุปตะ]]ซึ่งตั้งอยู่ในลุ่มน้ำ[[คงคา]] ในยุคนั้นเพศชายมีบทบาทหลักในการพัฒนาประเทศ แต่[[ผู้หญิง|สตรี]]เพศยังคงถูกจำกัด[[เสรีภาพ]]ในสังคม<ref>{{Cite web|title=Role of women in India's freedom struggle|url=https://www.madhavuniversity.edu.in/|website=madhavuniversity.edu.in}}</ref> วิถีชีวิตในสังคมของประชากรในอินเดียตอนใต้ยังได้ขยายอิทธิพลไปยัง[[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้]]ทั้งวัฒนธรรมทาง[[ศาสนา]]และภาษาตระกูล[[ดราวิเดียน]]<ref>{{Cite book|last=Asher|first=Catherine B.|url=https://books.google.co.th/books?id=ZvaGuaJIJgoC&pg=PA17&redir_esc=y#v=onepage&q&f=false|title=India Before Europe|last2=Asher|last3=Talbot|first3=Cynthia|last4=Talbot|first4=Assistant Professor of History and Asian Studies Cynthia|date=2006-03-16|publisher=Cambridge University Press|isbn=978-0-521-80904-7|language=en}}</ref>

ใน[[สมัยกลาง|ยุคกลาง]]ตอนต้น [[ศาสนาคริสต์]], [[ศาสนาอิสลาม|อิสลาม]], [[ศาสนายูดาห์|ยูดายห์]] และ[[ซาราธุสตรา]] ได้รับอิทธิพลมาจากชายฝั่งทางใต้และตะวันตกของอินเดีย กองทัพ[[มุสลิม]]จาก[[เอเชียกลาง]]เข้ายึดที่ราบทางเหนือของอินเดียและได้ก่อตั้งรัฐ[[สุลต่าน]]เดลี และผนวกอินเดียตอนเหนือเข้าสู่เครือข่ายสากลของอิสลามยุคกลาง ใน[[ศตวรรษที่ 15]] [[จักรวรรดิวิชัยนคร]]ได้สร้างวัฒนธรรมฮินดูผสมผสานขึ้นในอินเดียตอนใต้ [[ศาสนาซิกข์]]ได้ถือกำเนิดขึ้นในรัฐ[[ปัญจาบ]] ต่อมาใน ค.ศ. 1526 [[จักรวรรดิโมกุล]]ได้ปกครองประเทศเป็นเวลากว่าสองศตวรรษ และทิ้งมรดกทาง[[สถาปัตยกรรมอินเดีย|สถาปัตยกรรม]]อันล้ำค่าเอาไว้ถึงปัจจุบัน<ref>{{Cite web|last=Chakraborty|first=Debasree|title=Greatest Examples of Mughal Architectures in India|url=https://www.heritagehotelsofindia.com/blog/mughal-architectures-in-india/|website=www.heritagehotelsofindia.com|language=en-US}}</ref><ref>{{Cite news|last=Limited|first=Bangkok Post Public Company|title=The magnificence of the Mughals|work=Bangkok Post|url=https://www.bangkokpost.com/thailand/special-reports/1670672/the-magnificence-of-the-mughals|access-date=2021-07-08}}</ref> ต่อมา [[การปกครองของบริษัทในอินเดีย]]โดย[[สหราชอาณาจักร]]ได้เข้ามามีบทบาทหลัก ส่งผลให้อินเดียกลายเป็นประเทศอาณานิคมที่มีขนาดเศรษฐกิจใหญ่ระดับโลกแต่ยังคงรักษา[[อำนาจอธิปไตย]]ของตนไว้ การปกครองของ[[บริติชราช]]เริ่มต้นใน ค.ศ. 1858 และเป็นจุดเริ่มต้นของการพัฒนาประเทศเข้าสู่ยุคใหม่<ref>{{Cite journal|date=1964-12-31|editor-last=Bary|editor-first=Wm. Theodore De|editor2-last=Embree|editor2-first=Ainslie T.|title=Approaches to Asian Civilizations|url=http://dx.doi.org/10.7312/deba90382|doi=10.7312/deba90382}}</ref> โดยมีการเปลี่ยนแปลงทาง[[เทคโนโลยี]]และการศึกษาให้ทันสมัยยิ่งขึ้น ต่อมา ขบวนการ[[ชาตินิยม]]ได้ถือกำเนิดขึ้นโดยมี[[อุดมการณ์]]ในการต่อต้านการปกครองของต่างชาติ<ref>{{Cite book|last=Marshall|first=P. J.|url=https://books.google.co.th/books?id=S2EXN8JTwAEC&pg=PAPA179&redir_esc=y#v=onepage&q&f=false|title=The Cambridge Illustrated History of the British Empire|date=2001-08-02|publisher=Cambridge University Press|isbn=978-0-521-00254-7|language=en}}</ref> ซึ่งนำไปสู่การยุติการปกครองของ[[ประเทศอังกฤษ|อังกฤษ]]ใน ค.ศ. 1947 จักรวรรดิบริติชอินเดียนถูกแบ่งออกเป็นสองอาณาจักรอิสระได้แก่ อาณาจักรฮินดูที่ส่วนใหญ่เป็นชาวอินเดีย และปากีสถานซึ่งส่วนใหญ่เป็นชาวมุสลิมท่ามกลาง[[อพยพ|การอพยพ]]ของประชากรจำนวนมากซึ่งไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อนในทวีปเอเชีย<ref>{{Cite book|last=Metcalf|first=Barbara|url=https://www.worldcat.org/oclc/161834406|title=A concise history of modern India|date=2006|publisher=Cambridge University Press|others=Thomas R. Metcalf, Barbara Metcalf|isbn=978-0-511-24698-2|edition=2nd ed|location=New York|oclc=161834406}}</ref><ref>{{Cite book|last=Copland|first=Ian|url=https://www.worldcat.org/oclc/47023696|title=India, 1885-1947 : the unmaking of an empire|date=2001|publisher=Longman|isbn=0-582-38173-8|location=Harlow, England|oclc=47023696}}</ref>

อินเดียเป็นสหพันธ์[[สาธารณรัฐ]]มาตั้งแต่ ค.ศ. 1950 ปกครองด้วยระบบ[[รัฐสภา]]แบบ[[ประชาธิปไตย]] เป็นสังคม[[พหุนิยมทางศาสนา|พหุนิยม]]ซึ่งประกอบไปด้วยความหลากหลายทางภาษาและเชื้อชาติ ประชากรของอินเดียเพิ่มขึ้นจาก 361 ล้านคนใน ค.ศ. 1951 เป็น 1.2 พันล้านใน ค.ศ. 2011<ref>{{Cite book|last=Dyson|first=Tim|url=https://books.google.co.th/books?id=3TRtDwAAQBAJ&pg=PA219&redir_esc=y#v=onepage&q&f=false|title=A Population History of India: From the First Modern People to the Present Day|date=2018-09-27|publisher=Oxford University Press|isbn=978-0-19-882905-8|language=en}}</ref> ในช่วงเวลาเดียวกัน รายได้ต่อหัวของประชากรได้เพิ่มขึ้นจาก 64 [[ดอลลาร์สหรัฐ|ดอลลาร์]] เป็น 1,498 ดอลลาร์ต่อปี และอัตรา[[การรู้หนังสือในประเทศอินเดีย|การรู้หนังสือ]]เพิ่มขึ้นจาก 16.6% เป็น 74% จากการเป็นประเทศที่[[ความยากจน|ยากจน]]ใน ค.ศ. 1951 อินเดียได้กลายเป็นประเทศที่มีเศรษฐกิจเติบโตอย่างรวดเร็วและเป็นศูนย์กลางด้าน[[วิทยาศาสตร์]]และ[[เทคโนโลยีสารสนเทศ|เทคโนโลยี]] จากการมีกลุ่ม[[ชนชั้นกลาง]]ที่ขยายตัวเพิ่มขึ้นในประเทศ<ref>{{Cite book|last=Fisher|first=Michael H.|url=https://books.google.co.th/books?id=kZVuDwAAQBAJ&pg=PA8&redir_esc=y#v=onepage&q&f=false|title=An Environmental History of India: From Earliest Times to the Twenty-First Century|date=2018-10-18|publisher=Cambridge University Press|isbn=978-1-107-11162-2|language=en}}</ref> อินเดียยังมีโครงการ[[อวกาศ]]ซึ่งรวมถึงภารกิจนอกโลกทั้งที่วางแผนไว้และสำเร็จแล้วหลายภารกิจ<ref>{{Cite news|title=India's Space Program|language=en-US|work=The New York Times|url=https://www.nytimes.com/topic/subject/indias-space-program|access-date=2021-07-08|issn=0362-4331}}</ref><ref>{{Cite web|title=India Announces Plans For Its First Human Space Mission|url=https://www.npr.org/2020/01/01/792927666/india-announces-plans-for-its-first-human-space-mission|website=NPR.org|language=en}}</ref><ref>{{Cite web|title=INDIA SPACE MISSION: Latest News & Videos, Photos about INDIA SPACE MISSION {{!}} The Economic Times - Page 1|url=https://economictimes.indiatimes.com/topic/INDIA-SPACE-MISSION|website=The Economic Times}}</ref> และยังมีชื่อเสียงในด้านวงการบันเทิง รวมทั้งคำสอนทางจิตวิญญาณและศาสนาของอินเดียได้มีบทบาทต่อวัฒนธรรมโลก<ref>{{Cite book|last=Metcalf|first=Barbara D.|url=https://books.google.co.th/books?id=mjIfqyY7jlsC&pg=PA266&redir_esc=y#v=onepage&q&f=false|title=A Concise History of Modern India|last2=Metcalf|first2=Thomas R.|date=2012-09-24|publisher=Cambridge University Press|isbn=978-1-107-02649-0|language=en}}</ref> อินเดียได้ลดอัตราความยากจนลงอย่างมาก แม้ว่าจะต้องแลกมาด้วยความไม่เท่าเทียมกันทางสังคมที่เพิ่มขึ้นจนถึงปัจจุบัน<ref>{{Cite book|last=Dyson|first=Tim|url=https://books.google.co.th/books?id=3TRtDwAAQBAJ&pg=PA216&redir_esc=y#v=onepage&q&f=false|title=A Population History of India: From the First Modern People to the Present Day|date=2018-09-27|publisher=Oxford University Press|isbn=978-0-19-882905-8|language=en}}</ref> อินเดียมีค่าใช้จ่ายด้านการทหารสูง และมีปัญหาข้อพิพาทบริเวณ[[กัศมีร์|แคชเมียร์]]กับปากีสถานและจีนมาตั้งแต่กลาง[[ศตวรรษที่ 20]] ปัญหาหลักในปัจจุบันของอินเดีย ได้แก่ ความไม่เท่าเทียมกันทางเพศ, ภาวะ[[ทุพโภชนาการ]]ในเด็ก และระดับ[[มลพิษทางอากาศ]]ที่เพิ่มสูงขึ้น<ref>{{Cite journal|date=2019-1|title=The impact of air pollution on deaths, disease burden, and life expectancy across the states of India: the Global Burden of Disease Study 2017|url=https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC6358127/|journal=The Lancet. Planetary Health|volume=3|issue=1|pages=e26–e39|doi=10.1016/S2542-5196(18)30261-4|issn=2542-5196|pmc=6358127|pmid=30528905}}</ref> อินเดียยังมี[[ธรรมชาติ]]ที่อุดมสมบูรณ์โดยพื้นที่ป่าไม้คิดเป็นเนื้อที่กว่า 21.7% ของประเทศ<ref>http://www.frienvis.nic.in/Database/Forest-Cover-in-States-UTs-2019_2478.aspx</ref> และมี[[กฎหมายสิ่งแวดล้อม]]ที่เข้มงวด<ref>{{Cite book|last=Fisher|first=Michael H.|url=https://books.google.co.th/books?id=kZVuDwAAQBAJ&pg=PA23&redir_esc=y#v=onepage&q&f=false|title=An Environmental History of India: From Earliest Times to the Twenty-First Century|date=2018-10-18|publisher=Cambridge University Press|isbn=978-1-107-11162-2|language=en}}</ref>

== นิรุกติศาสตร์ ==
อ้างอิงจาก[[พจนานุกรมภาษาอังกฤษ ฉบับออกซฟอร์ด|พจนานุกรม]]ภาษาอังกฤษของ[[ออกซฟอร์ด|อ็อกซ์ฟอร์ด]] (ฉบับที่สาม ปี 2009) ชื่อประเทศ "อินเดีย" มาจากภาษาละติน '''India''' ซึ่งหมายถึงภูมิภาค[[เอเชียใต้]]และภูมิภาคอื่น ๆ ทางตะวันออก และบางหลักฐานยังชี้ให้เห็นว่าคำนี้มีที่มาจาก[[ภาษากรีกคอยนี]] ''Ἰνδία''; และ[[ภาษากรีกโบราณ]] ''Ἰνδός'' ซึ่งใช้เรียกบริเวณตะวันออกของอาณาจักร และยังหมายถึง "ชาวสินธุ" ซึ่งเป็นการกล่าวถึงผู้คนบริเวณอนุทวีปอินเดียที่เข้ามาตั้งรกรากบริเวณ[[แม่น้ำสินธุ]]<ref>{{Cite web|title=Etymology of the Name India|url=https://www.worldhistory.org/article/203/etymology-of-the-name-india/|website=World History Encyclopedia|language=en}}</ref><ref>{{Cite web|date=2020-06-07|title=From Meluha to Hindustan, the many names of India and Bharat|url=https://indianexpress.com/article/research/from-meluha-to-hindustan-the-many-names-of-india-and-bharat-6445264/|website=The Indian Express|language=en}}</ref>

นอกจากนี้ยังมีการใช้คำว่า ''Hindustan'' ซึ่งเป็น[[ภาษาเปอร์เซียกลาง]] เพื่อใช้เรียกประเทศอินเดียซึ่งเริ่มมีการใช้ในสมัย[[จักรวรรดิโมกุล]] โดยคำว่า ''Hindustan'' มีความหมายหลากหลาย แต่นัก[[ภาษาศาสตร์]]สากลได้นิยามว่าหมายถึงภูมิภาคทั้งหมดที่ครอบคลุมบริเวณอินเดียตอนเหนือและ[[ประเทศปากีสถาน]]ในปัจจุบัน แต่ในบางครั้งคำนี้สามารถสื่อถึงแผ่นดินอินเดียทั้งประเทศได้เช่นกัน<ref>{{Cite web|date=2015-09-28|title=‘India, that is Bharat…’: One Country, Two Names|url=https://web.archive.org/web/20150928035644/http://samaj.revues.org/3717|website=web.archive.org}}</ref><ref>Barrow, Ian J. (2003). "From Hindustan to India: Naming change in changing names". ''South Asia: Journal of South Asian Studies''. '''26''' (1): 37–49. </ref>

== ภูมิศาสตร์ ==
{{หลัก|ภูมิศาสตร์อินเดีย}}
[[ไฟล์:India topo big.jpg|thumb|alt=Map of India. พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นบริเวณสีเหลือง (ความสูงตั้งแต่ 100–1000 เมตร) บางบริเวณแถบตอนใต้และตะวันออกเป็นสีน้ำตาล (ความสูงตั้งแต่ 1000 เมตร) บริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำเป็นบริเวณสีเขียว (ความสูงต่ำกว่า 1 เมตร)|แผนที่ภูมิประเทศของอินเดีย]]

ประเทศอินเดียเกิดขึ้นบน[[อนุทวีปอินเดีย]] (Indian subcontinent) ซึ่งตั้งอยู่บนบริเวณ[[แผ่นเปลือกโลก|แผ่นเปลือกโลกอินเดีย (Indian tectonic plate)]] ซึ่งในอดีตนั้นเคยเชื่อมอยู่กับแผ่นออสเตรเลีย<ref>{{Cite web|title=India - Geography|url=http://countrystudies.us/india/27.htm|website=countrystudies.us}}</ref> การรวมตัวทางภูมิศาสตร์ครั้งสำคัญของประเทศอินเดียนั้นเกิดขึ้นราว 75 ล้านปีก่อน เมื่ออนุทวีปอินเดียซึ่งเคยเป็นส่วนหนึ่งของ[[มหาทวีป]]แห่งตอนใต้<ref>{{Cite web|title=Geography of India|url=https://www.cs.mcgill.ca/~rwest/wikispeedia/wpcd/wp/g/Geography_of_India.htm|website=www.cs.mcgill.ca}}</ref> คือ [[มหาทวีปกอนด์วานา]] (Gondwana) ได้เริ่มเคลื่อนตัวขึ้นไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ผ่านที่บริเวณมหาสมุทรอินเดียซึ่งในขณะนั้นยังไม่เกิดขึ้น โดยกินเวลารวมทั้งหมดประมาณ 55 ล้านปี หลังจากนั้นอนุทวีปอินเดียนได้ชนเข้ากับแผ่น[[ทวีปยูเรเชีย]] อันเป็นที่มาของการเกิดเทือกเขาที่มีความสูงที่สุดในโลก คือ [[เทือกเขาหิมาลัย]] ซึ่งอยู่บริเวณภาคเหนือ และตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดีย ตอนใต้ของเทือกเขาซึ่งเคยเป็นท้องทะเลอันกว้างขวางได้ค่อย ๆ กลายมาเป็น[[ที่ราบลุ่มแม่น้ำ|ผืนดินราบลุ่มแม่น้ำ]]อันกว้างใหญ่ ทำให้เกิดเป็น[[ที่ราบลุ่มแม่น้ำสินธุ-คงคา]] (Indo-Gangetic Plain) ทางภาคตะวันตกนั้นติดกับ[[ทะเลทรายธาร์]] ซึ่งถูกกั้นกลางด้วย[[ทิวเขาอะราวัลลี]]<ref>{{Cite web|title=India {{!}} History, Map, Population, Economy, & Facts|url=https://www.britannica.com/place/India|website=Encyclopedia Britannica|language=en}}</ref>

อนุทวีปอินเดียนั้นได้คงอยู่จนกลายมาเป็น[[คาบสมุทรอินเดีย]]ในปัจจุบัน<ref>{{Cite web|date=2014-03-21|title=India Country Profile - National Geographic Kids|url=https://kids.nationalgeographic.com/geography/countries/article/india|website=Geography|language=en}}</ref> ซึ่งจัดเป็นส่วนที่เก่าแก่ที่สุดทางธรณีวิทยา และยังเป็นบริเวณที่มีความคงที่ทางภูมิศาสตร์ที่สุดแห่งหนึ่งในอินเดีย โดยกินพื้นที่กว้างขวางจรดเทือกเขาสัทปุระ (Satpura) ทางตอนใต้ และเทือกเขาผิงอ ในภาคกลางของอินเดีย โดยมีลักษณะคู่ขนานกันไปจรดชายฝั่ง[[ทะเลอาหรับ]]ใน[[รัฐคุชราต]]ทางทิศตะวันตก และที่ราบสูงโชตนาคปุระ (Chota Nagpur Plateau) ที่เต็มไปด้วยแร่รัตนชาติใน[[รัฐฌาร์ขัณฑ์]]ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ส่วนทิศใต้นั้นประกอบด้วยแผ่นดินคาบสมุทรบน[[ที่ราบสูงเดกกัน]] (Deccan Plateau) ซึ่งถูกขนาบโดยเทือกเขาริมทะเลทั้งสองฝั่งที่เรียกว่า เทือกเขากัทส์ทิศตะวันตก และตะวันออก(Western and Eastern Ghats) ในบริเวณนี้จะพบหินที่มีอายุเก่าแก่ที่สุดในอินเดีย ซึ่งมีอายุถึง 1 พันล้านปี

[[ไฟล์:KedarRange.jpg|thumb|left|[[เทือกเขาเกดาร์]] (Kedar Range) ส่วนหนึ่งของหิมาลัย]]

ชายฝั่งของอินเดียนั้นมีระยะทางประมาณ {{Convert|7517|km|mi|-2}} แบ่งเป็นระยะทางบนคาบสมุทรอินเดีย {{Convert|5423|km|mi|-2}} และ {{Convert|2094|km|mi|-2}} ใน[[หมู่เกาะอันดามันและนิโคบาร์]]และ[[ลักษทวีป]] จากแผนที่ทะเลของอินเดียนั้น ชายฝั่งบนแผ่นดินใหญ่ของอินเดียประกอบด้วยหาดทรายถึง 43% กรวดและหิน 11% รวมถึงหน้าผา และ 46% เป็นดินเลนและโคลน

แม่น้ำในอินเดียแบ่งออกได้เป็นสี่ประเภทคือ แม่น้ำจากเทือกเขาเอเวอเรส แม่น้ำคาบสมุทรเดคคาน แม่น้ำชายฝั่ง และแม่น้ำในดินแดนภายในแม่น้ำหิมาลัย ปกติจะเกิดจากน้ำที่ละลายมาจากหิมะ ในภาคเหนือของอินเดีย ดังนั้น แม่น้ำเหล่านี้จะมีน้ำไหลเต็มที่อยู่ตลอดเวลา และมีความลาดชันค่อนข้างต่ำ ในฤดูมรสุมเมื่อฝนตกมาก แม่น้ำเหล่านี้จะรับน้ำไว้ได้ไม่หมด จึงทำให้เกิดน้ำท่วมใหญ่อยู่เสมอ ส่วนแม่น้ำในคาบสมุทรเดคคาน โดยปกติได้น้ำจากน้ำฝน ดังนั้นปริมาณน้ำในแม่น้ำดังกล่าว จึงมักจะมากน้อยไม่แน่นอน อีกทั้งมีความลาดชันลดหลั่นลง จึงรับน้ำได้มาก และช่วยระบายน้ำในฤดูมรสุมอีกด้วย นอกจากนี้ยังมีแม่น้ำย่อย ๆ ซึ่งไม่มีต้นกำเนิดจากแม่น้ำทั้งสองประเภทดังกล่าว และอยู่ตามชายฝั่งโดยเฉพาะในฝั่งตะวันตก จะมีเส้นทางสั้น ๆ และมีขนาดแคบ จึงรับน้ำได้ในปริมาณจำกัด สำหรับแม่น้ำในดินแดนภายใน เป็นลำน้ำเล็ก ๆ ไม่มีทางออกทะเล ปลายทางของแม่น้ำหากไม่ไหลลงแอ่งน้ำ ทะเลสาบ ก็จะเหือดแห้งไปใน[[ทะเลทรายธาร์]]

ระบบแม่น้ำที่ใหญ่ที่สุดในอินเดียคือ [[แม่น้ำคงคา]] (Ganges) ซึ่งมีต้นกำเนิดจาก[[เทือกเขาหิมาลัย]] แม่น้ำสาขาในระบบแม่น้ำคงคาคือ [[แม่น้ำยมนา]] แม่น้ำกากรา แม่น้ำกันดัค และแม่น้ำโคสิ บริเวณผืนดินที่ราบลุ่มแม่น้ำคงคาจัดได้ว่ามีความอุดมสมบูรณ์ และกว้างใหญ่ที่สุด โดยเป็นบริเวณกว้างถึงหนึ่งในสี่ของประเทศ นอกจากนั้นยังมี[[แม่น้ำพรหมบุตร]] ซึ่งมีความสำคัญรองลงมา มีสาขามากมาย ซึ่งไหลผ่านพื้นที่ส่วนใหญ่ของอินเดีย โดยไปสุดที่[[อ่าวเบงกอล]]เช่นเดียวกับ[[แม่น้ำคงคา]]<ref>{{Cite web|title=India Geography Maps, India Geography, Geographical Map of India|url=https://www.mapsofindia.com/geography/|website=Maps of India|language=en}}</ref>

ส่วนลุ่มน้ำของระบบแม่น้ำอื่น ๆ ที่มีความสำคัญ รองลงมาได้แก่ ลุ่มแม่น้ำโคธาวารีนาเลีย (Godavari) ในเขตที่ราบสูงเดคคาน ระบบน้ำตาปี (Tapi) ในภาคเหนือ และระบบน้ำเพนเนอร์ (Penner) ในภาคใต้ การที่อินเดียถูกแวดล้อมด้วยพรมแดนธรรมชาติรอบด้าน คือมีทั้งภูเขาและฝั่งทะเลเป็นพรมแดน ได้แยกอินเดียออกจากส่วนอื่น ๆ ของทวีปเอเชีย ทำให้อินเดียตั้งอยู่โดดเดี่ยวตามลำพัง ซึ่งนับว่ามีอิทธิพลเป็นอย่างมากต่อวิถีชีวิตของชาวอินเดีย ทำให้ชาวอินเดียมีอารยธรรมและวัฒนธรรมที่มีลักษณะของตนเองโดยเฉพาะ และในโอกาสเดียวกัน พรมแดนธรรมชาติดังกล่าว ช่วยให้สามารถรักษาวัฒนธรรมของตนให้สืบเนื่องตลอดมาตั้งแต่สมัยโบราณจนถึงสมัยปัจจุบัน

สภาพอากาศของอินเดียนั้นได้รับอิทธิพลจากสองแหล่งใหญ่ ๆ คือ[[เทือกเขาหิมาลัย]] และ[[ทะเลทรายธาร์]] ทำให้มีทั้งฤดูร้อนอันอบอุ่น และฤดูหนาวที่มีมรสุม [[เทือกเขาหิมาลัย]]นั้นมีบทบาทมากในการป้องกันลมพัดลงลาดเขา (Katabatic wind) ทำให้บริเวณส่วนใหญ่ของประเทศนั้นอบอุ่นกว่าประเทศอื่น ๆ ที่ตั้งอยู่ในละติจูดเดียวกัน ส่วน[[ทะเลทรายธาร์]]นั้นก็มีบทบาทในการขับเคลื่อนความชื้นของ[[ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้]] ซึ่งลมมรสุมนี้เองที่ทำให้ทุกปี ๆ ระหว่างเดือนมิถุนายนถึงตุลาคมนั้นมีฝนกรดตกในพื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศ

จากการแบ่งเขตภูมิอากาศนั้น อินเดียประกอบด้วยภูมิอากาศหลัก ๆ 4 แบบได้แก่ แบบเขตร้อนชื้น (tropical wet), แบบเขตร้อนแห้งแล้ง (tropical dry), แบบอบอุ่นชื้น (subtropical humid), และแบบเทือกเขาสูง (montanr)<ref>{{Cite web|title=Profile {{!}} National Portal of India|url=https://www.india.gov.in/india-glance/profile|website=www.india.gov.in}}</ref>

== ประวัติศาสตร์ ==
ประวัติศาสตร์ของประเทศอินเดียมีต้นกำเนิดมาจากลุ่ม[[แม่น้ำสินธุ]]<ref>{{Cite web|title=ข้อมูลพื้นฐาน|url=http://newdelhi.thaiembassy.org/th/useful-knowledge-th/%e0%b8%82%e0%b9%89%e0%b8%ad%e0%b8%a1%e0%b8%b9%e0%b8%a5%e0%b8%9b%e0%b8%a3%e0%b8%b0%e0%b9%80%e0%b8%97%e0%b8%a8%e0%b8%ad%e0%b8%b4%e0%b8%99%e0%b9%80%e0%b8%94%e0%b8%b5%e0%b8%a2/country-profile-th/|website=Royal Thai Embassy, New Delhi, Republic of India}}</ref> ซึ่งเป็นแหล่งอารยธรรมแรกของอินเดียที่รุ่งเรืองเมื่อประมาณ 2,600 ปีถึง 1,900 ปีก่อนคริสตกาล ต่อมาเมื่อประมาณ 2,000 ถึง 15,000 ปีก่อนคริสตกาล [[ชาวอินเดีย|ชาวอินโด]]-อารยันจากเอเชียกลางอพยพ เข้ามาในอินเดีย และพบกับ[[อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ|อารยธรรมสินธุ]] ทั้งสองอารยธรรมได้ผสมผสานรวมกันเป็นอารยธรรม[[พระเวท]]โดยหลักฐานที่สำคัญที่สุดของอารยธรรมนี้คือ [[พระเวท|คัมภีร์พระเวท]] ซึ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนาใน[[ภาษาสันสกฤต]] และเป็นรากฐานของ[[ศาสนาฮินดู]] ระบบ[[กฎหมาย]]และการปกครอง ตลอดจนขนบธรรมมเนียมประเพณีของ ชาวอินเดีย อันเป็นที่มาของชื่อยุคพระเวทคัมภีร์ฤคเวทเป็นพระเวทที่เก่าแก่ที่สุด ต่อมาจึงมีคัมภีร์ยชุรเวท สามเวทอาถรรพเวท และ[[มหากาพย์]]ทั้งหลายซึ่งได้แก่ [[รามายณะ]]และ[[มหาภารตะ]] ซึ่งถือกำเนิดในช่วงประมาณพุทธกาลตอนปลายสมัยพระเวท [[ชาวอารยัน]]ในอินเดียอยู่กันเป็นเผ่า เลี้ยงสัตว์เร่ร่อน แต่ต่อมาเริ่มรู้จัก[[เกษตรกรรม|เพาะปลูก]]ตั้งรกราก มีการค้าขายทำให้บางเผ่ารวบรวมตั้งตนเป็นอาณาจักรใหญ่ได้และเริ่มมี[[วรรณะทางสังคม|ระบบวรรณะ]]ชัดเจน<ref>{{Cite web|title=India|url=https://www.history.com/tag/india|website=HISTORY|language=en}}</ref>

ต่อมา อารยธรรม[[ศาสนาอิสลาม|อิสลาม]]ได้เริ่มขยายอิทธิพลเข้ามาในอินเดียตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 8 โดยพ่อค้ามุสลิมจาก[[ตะวันออกกลาง]]และจักรวรรดิ[[อาหรับ]]ได้ส่งกองทัพมาโจมตีแคว้นซินด์ (ปัจจุบันอยู่ในปากีสถาน) จักรวรรดิที่มีความยิ่งใหญ่ในสมัยนั้น คือ [[จักรวรรดิโมกุล]] (คริสต์ศตวรรษที่ 16-18) เป็นสมัยที่มีการแพร่ขยายอิทธิพลวัฒนธรรมโมกุลอย่างกว้างขวางทั้งในด้านการปกครอง ภาษา ศิลปะ [[สถาปัตยกรรมอินเดีย|สถาปัตยกรรม]] และศาสนาอิสลาม<ref>{{Cite web|title=India - History|url=https://www.britannica.com/place/India|website=Encyclopedia Britannica|language=en}}</ref>

ในสมัยของ[[จักรพรรดิออรังเซพ]] (Aurangzeb) ซึ่งเป็นผู้เคร่งศาสนาอิสลามได้ออกกฎหมายที่ก่อให้เกิดความขัดแย้งระหว่างชาวฮินดูและ[[มุสลิม]]และเป็นเหตุให้ชาวอินเดียต่อต้านอำนาจของจักรวรรดิเมื่อสิ้นอำนาจของพระองค์ จักรวรรดิโมกุลก็ค่อยๆแตกแยกและเสื่อมลง เป็นโอกาสให้[[ประเทศอังกฤษ|อังกฤษ]]เข้ามามีอำนาจแทนที่อังกฤษเริ่มเข้าไปมีอิทธิพลในอนุทวีปตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 โดยเข้าไปการค้าขายพร้อมๆ กับการเข้าไปครอบครองดินแดนและแทรกแซงการเมืองท้องถิ่น

จนกระทั่งอินเดียตกอยู่ภายใต้[[การปกครองของบริษัทในอินเดีย|การปกครอง]]ของอังกฤษในปี 1877 โดยมีสมเด็จ[[สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย|พระราชินีวิคตอเรีย]]แห่งอังกฤษทรงดำรงตำแหน่งสมเด็จพระเจ้า[[จักรพรรดินี]]แห่งอินเดีย หลังจากการรณรงค์ต่อสู้กับการปกครองของอังกฤษมาเป็นเวลานาน ภายใต้การนำของ[[มหาตมา คานธี]] และ [[ชวาหะร์ลาล เนห์รู]] อินเดียจึงได้รับเอกราชและร่วมเป็นสมาชิกอยู่ภายใต้เครือจักรภพเมื่อวันที่ 15 สิงหาคม 2490 โดยยังมีพระมหากษัตริย์ของอังกฤษเป็นประมุข และทรงแต่งตั้งข้าหลวงใหญ่เป็นผู้สำเร็จราชการแผ่นดินแทนพระองค์ ต่อมาในวันที่ 26 มกราคม 1947 ได้มีการสถาปนา[[สาธารณรัฐ]]อินเดียโดยมีประธานาธิบดีเป็นประมุขของรัฐ และนายชวาหะร์ลาล เนห์รู ดำรงตำแหน่ง[[นายกรัฐมนตรีอินเดีย|นายกรัฐมนตรี]]คนแรก<ref>{{Cite web|title=Ancient India|url=https://www.worldhistory.org/india/|website=World History Encyclopedia|language=en}}</ref>

== การเมืองการปกครอง ==
=== บริหาร ===
{{บทความหลัก|รัฐบาลอินเดีย}}
[[ไฟล์:The Prime Minister, Shri Narendra Modi taking charge of the office of the Prime Minister of India, at South Block, in New Delhi on May 27, 2014.jpg|thumb|[[นเรนทระ โมที]] นายกรัฐมนตรีคนปัจจุบัน|left]]
การปกครองของอินเดียเป็นระบอบ[[ประชาธิปไตย]][[ระบบรัฐสภา]] แยกศาสนาออกจากการเมือง แบ่งอำนาจการปกครองเป็นสาธารณรัฐ (Secular Democratic Republic with a parliamentary system) แบ่งเป็น 29 รัฐ และดินแดนสหภาพ (Union Territories) อีก 7 เขต<ref>{{Cite web|title=การเมืองการปกครองอินเดีย|url=http://newdelhi.thaiembassy.org/th/useful-knowledge-th/%e0%b8%82%e0%b9%89%e0%b8%ad%e0%b8%a1%e0%b8%b9%e0%b8%a5%e0%b8%9b%e0%b8%a3%e0%b8%b0%e0%b9%80%e0%b8%97%e0%b8%a8%e0%b8%ad%e0%b8%b4%e0%b8%99%e0%b9%80%e0%b8%94%e0%b8%b5%e0%b8%a2/%e0%b8%81%e0%b8%b2%e0%b8%a3%e0%b9%80%e0%b8%a1%e0%b8%b7%e0%b8%ad%e0%b8%87%e0%b8%81%e0%b8%b2%e0%b8%a3%e0%b8%9b%e0%b8%81%e0%b8%84%e0%b8%a3%e0%b8%ad%e0%b8%87/|website=Royal Thai Embassy, New Delhi, Republic of India}}</ref>

การปกครองของอินเดียมีรัฐธรรมนูญเป็นแม่บท มีประธานาธิบดีเป็น[[ประมุขแห่งรัฐ|ประมุข]]ของรัฐ และประมุขของฝ่ายบริหารตามบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญ แต่อำนาจในการบริหารที่แท้จริงอยู่ที่นายกรัฐมนตรี ประธานาธิบดีคนปัจจุบัน คือ นาย [[ราม นาถ โกวินท์]] เข้ารับตำแหน่งเมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม 2017 ในฐานะประธานาธิบดีคนที่ 13 ส่วนนายกรัฐมนตรีคนปัจจุบันคือนาย[[นเรนทระ โมที]] (Narendra Modi) เข้ารับตำแหน่งเมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม 2014 ในฐานะนายกรัฐมนตรีคนที่ 15<ref>{{Cite web|title=My Government {{!}} National Portal of India|url=https://www.india.gov.in/my-government|website=www.india.gov.in}}</ref> โดยนายกรัฐมนตรี เป็นผู้ที่มีอำนาจในการบริหารอย่างแท้จริง ดำรงตำแหน่งคราวละ 5 ปี ได้รับการแต่งตั้งโดยตรงจากประธานาธิบดี เป็นหัวหน้าคณะรัฐมนตรี (Council of Ministers) ซึ่งได้รับการแต่งตั้งโดยประธานาธิบดี โดยการเสนอแนะของนายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรีประกอบด้วย รัฐมนตรีว่าการ (Cabinet Ministers) รัฐมนตรีที่ขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี (Ministers of State – Independent Charge) และรัฐมนตรีช่วยว่าการ (Ministers of State)<ref>https://thecommonwealth.org/our-member-countries/india/constitution-politics</ref>

รัฐบาลอินเดียชุดปัจจุบันมี 66 คน ประกอบด้วย นายกรัฐมนตรี 1 คน รัฐมนตรีว่าการ (Cabinet Ministers) 26 คน และรัฐมนตรีที่ขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี (Ministers of State with Independent Charge) และรัฐมนตรีช่วยว่าการ (Ministers of State) 39 คน รวม 66 คน<ref>{{Cite web|title=India - Government and politics|url=https://www.britannica.com/place/India|website=Encyclopedia Britannica|language=en}}</ref>

=== นิติบัญญัติ ===
{{บทความหลัก|รัฐสภาแห่งอินเดีย}}
ระบบรัฐสภา ประกอบด้วย[[ราชยสภา]] (Rajya Sabha) เป็นสภาสูง มีสมาชิกจำนวน 245 คน สมาชิกส่วนใหญ่ มาจากการเลือกตั้งทางอ้อม อีกส่วนมาจากการแต่งตั้งโดยประธานาธิบดี และ[[โลกสภา]] (Lok Sabha) เป็นสภาล่าง มีสมาชิกจำนวน 545 คน สมาชิกจำนวน 543 คน มาจากการเลือกตั้งโดยตรงและอีก 2 คน มาจากการคัดเลือกของประธานาธิบดี จากกลุ่มอินโด-อารยันในประเทศอยู่ในวาระคราวละ 5 ปี เว้นเสียแต่จะมีการยุบสภา<ref>https://mays.tamu.edu/center-for-international-business-studies/wp-content/uploads/sites/14/2015/10/Indias-Political-System.pdf</ref>

=== ตุลาการ ===
{{บทความหลัก|กฎหมายอินเดีย}}
อำนาจตุลาการเป็นอำนาจอิสระ ไม่ขึ้นกับฝ่ายบริหาร มีหน้าที่ปกป้องและตีความรัฐธรรมนูญ ศาลฎีกา (Supreme Court) เป็นศาลสูงสุดของประเทศ ผู้พิพากษาประจำศาลฎีกา มีจำนวนไม่เกิน 25 คน แต่งตั้งโดยประธานาธิบดี ในระดับรัฐ มีศาลสูง (High Court) ของตนเองเป็นศาลสูงสุดของแต่ละรัฐ รองลงมาเป็นศาลย่อย (Subordinate Courts) ซึ่งแตกต่างกันไปในแต่ละรัฐ อย่างไรก็ตาม อำนาจตุลาการของรัฐอยู่ภายใต้ศาลฎีกาซึ่งมีอำนาจสูงสุด<ref>{{Cite web|title=India - Government and politics|url=https://www.britannica.com/place/India|website=Encyclopedia Britannica|language=en}}</ref>

ศาลอินเดียแบ่งเป็นสามชั้น ประกอบด้วย [[ศาลสูงสุดอินเดีย|ศาลสูงสุด]] (Supreme Court) นำโดย [[ประธานศาลสูงสุดแห่งอินเดีย]] (Chief Justice of India), [[ศาลสูงอินเดีย|ศาลสูง]] (High Courts) ยี่สิบเอ็ดศาล เป็นศาลชั้นอุทธรณ์ และศาลชั้นต้นอีกจำนวนมาก ศาลสูงสุดมีเขตอำนาจชำระคดีเกี่ยวกับสิทธิขั้นพื้นฐาน, ข้อพิพาทระหว่างรัฐบาลท้องถิ่นกับส่วนกลาง และคดีที่อุทธรณ์มาจากศาลสูง กับทั้งการตีความรัฐธรรมนูญ

=== การแบ่งเขตการปกครอง ===
{{หลัก|รัฐและดินแดนสหภาพของประเทศอินเดีย|อำเภอในประเทศอินเดีย}}
อินเดียแบ่งเขตการปกครองออกเป็น '''28 รัฐ (States)''' (ซึ่งแบ่งย่อยลงเป็นเขต) และ '''9 ดินแดนสหภาพ''' (Union Territories) ได้แก่
[[ไฟล์:Political map of India EN.svg|thumb|left|290px|แผนที่แสดงรัฐและดินแดนสหภาพของประเทศอินเดีย]]
'''รัฐ'''
{| border=0
|- valign=top
||
* 1. [[รัฐอานธรประเทศ|อานธรประเทศ]]
* 2. [[รัฐอรุณาจัลประเทศ|อรุณาจัลประเทศ]]
* 3. [[รัฐอัสสัม|อัสสัม]]
* 4. [[รัฐพิหาร|พิหาร]]
* 5. [[รัฐฉัตตีสครห์|ฉัตตีสครห์]]
* 6. [[รัฐกัว|กัว]]
* 7. [[รัฐคุชราต|คุชราต]]
* 8. [[รัฐหรยาณา|หรยาณา]]
* 9. [[รัฐหิมาจัลประเทศ|หิมาจัลประเทศ]]
* 10. [[รัฐฌาร์ขัณฑ์|ฌาร์ขัณฑ์]]
* 11. [[รัฐกรณาฏกะ|กรณาฏกะ]]
* 12. [[รัฐเกรละ|เกรละ]]
* 13. [[รัฐมัธยประเทศ|มัธยประเทศ]]
||
* 14. [[รัฐมหาราษฏระ|มหาราษฏระ]]
* 15. [[รัฐมณีปุระ|มณีปุระ]]
* 16. [[รัฐเมฆาลัย|เมฆาลัย]]
* 17. [[รัฐมิโซรัม|มิโซรัม]]
* 18. [[รัฐนาคาแลนด์|นาคาแลนด์]]
* 19. [[รัฐโอริศา|โอริศา]]
* 20. [[รัฐปัญจาบ|ปัญจาบ]]
* 21. [[รัฐราชสถาน|ราชสถาน]]
* 22. [[รัฐสิกขิม|สิกขิม]]
* 23. [[รัฐทมิฬนาฑู|ทมิฬนาฑู]]
* 24. [[รัฐเตลังคานา|เตลังคานา]]
* 25. [[รัฐตริปุระ|ตริปุระ]]
* 26. [[รัฐอุตตรประเทศ|อุตตรประเทศ]]
* 27. [[รัฐอุตตรขันท์|อุตตราขัณฑ์]]
* 28. [[รัฐเบงกอลตะวันตก|เบงกอลตะวันตก]]

||
'''ดินแดนสหภาพ'''

* A. [[หมู่เกาะอันดามันและนิโคบาร์]]
* B. [[จัณฑีครห์]]
* C. [[ดาดราและนครหเวลี]]
* C. [[ดามันและดีอู]]
* D. [[ชัมมูและกัศมีร์ (ดินแดนสหภาพ)]]
* E. [[ลาดัก]]
* F. [[ลักษทวีป]]
* G. [[เดลี]]
* H. [[ปุทุจเจรี]]
|}

=== นโยบายต่างประเทศ ===
ในปี 1950 อินเดียสนับสนุนการปลดปล่อย[[อาณานิคม]]ใน[[ทวีปแอฟริกา|แอฟริกา]]และ[[ทวีปเอเชีย|เอเชีย]]อย่างแข็งขัน<ref>{{Cite web|title=MEA {{!}} Briefs on Foreign Relations|url=https://mea.gov.in/foreign-relations.htm|website=mea.gov.in}}</ref> และมีบทบาทสำคัญใน[[ขบวนการไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใด]] อินเดียมีความสัมพันธ์ที่ตึงเครียดกับเพื่อนบ้านอย่าง[[ประเทศปากีสถาน|ปากีสถาน]]<ref>{{Cite web|title=No ties with Pakistan at India's cost, relations with New Delhi long-term: Russia|url=https://www.timesnownews.com/india/article/will-not-develop-relations-with-pakistan-at-cost-of-india-ties-with-new-delhi-long-term-russia-narendra-modi-vladimir-putin/298009|website=www.timesnownews.com|language=en}}</ref> ทั้งสองประเทศได้ทำสงครามกันถึง 4 ครั้ง: ในปี 1947, 1965, 1971 และ 1999 สงครามเกิดขึ้นในพื้นที่พิพาทของ[[กัศมีร์|แคชเมียร์]] ในช่วงปลายทศวรรษ 1980 กองทัพอินเดียเข้าแทรกแซงในต่างประเทศสองครั้งตามคำเชิญของประเทศเจ้าภาพ ได้แก่ การปฏิบัติการรักษาสันติภาพใน[[ประเทศศรีลังกา|ศรีลังกา]]ระหว่างปี 1987 และ 1990; และการแทรกแซงทางอาวุธเพื่อป้องกันความพยายามก่อรัฐประหารใน[[ประเทศมัลดีฟส์|มัลดีฟส์]]ในปี 1988 หลังสงครามกับปากีสถานในปี 1965 อินเดียเริ่มสานสัมพันธ์ทางการทหารและเศรษฐกิจอย่างใกล้ชิดกับ[[สหภาพโซเวียต]] ในช่วงปลายทศวรรษ 1960 สหภาพโซเวียตเป็นผู้จัดหาอาวุธรายใหญ่ที่สุด นอกเหนือจากความสัมพันธ์พิเศษกับรัสเซียอย่างต่อเนื่องแล้ว อินเดียยังมีความสัมพันธ์ด้านการป้องกันประเทศกับ[[ประเทศอิสราเอล|อิสราเอล]]และ[[ประเทศฝรั่งเศส|ฝรั่งเศส]]ในวงกว้าง ในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา สมาคมดังกล่าวมีบทบาทสำคัญใน[[สมาคมเอเชียใต้เพื่อความร่วมมือระดับภูมิภาค]] และ[[องค์การการค้าโลก]] ประเทศได้จัดหาบุคลากรทางทหารและตำรวจ 100,000 นายเพื่อปฏิบัติหน้าที่ในการรักษาสันติภาพของ[[สหประชาชาติ]] 35 แห่งทั่ว 4 ทวีป อินเดียเข้าร่วมใน[[การประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก]] G8+5 และฟอรัมพหุภาคีอื่น ๆ อินเดียมีความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจที่ใกล้ชิดกับประเทศต่างๆ ใน[[ทวีปอเมริกาใต้|อเมริกาใต้]]<ref>{{Cite web|date=2017-05-25|title=India and Latin America Trade - Economic Ties Latin America and India|url=https://web.archive.org/web/20170525115121/http://www.americasquarterly.org/india-latin-america|website=web.archive.org}}</ref> [[ทวีปเอเชีย|เอเชีย]] และ[[ทวีปแอฟริกา|แอฟริกา]]

อินเดียทำการทดสอบ[[อาวุธนิวเคลียร์]]ครั้งแรกในปี 1974 และทำการทดสอบใต้ดินเพิ่มเติมในปี 1998 แม้จะมีการวิพากษ์วิจารณ์และการคว่ำบาตรทางทหาร อินเดียไม่ได้ลงนามทั้งสนธิสัญญาห้ามทดสอบนิวเคลียร์อย่างครอบคลุมหรือสนธิสัญญาไม่แพร่ขยายอาวุธนิวเคลียร์ โดยพิจารณาว่าทั้งสองสนธิสัญญามีข้อบกพร่อง นับตั้งแต่สิ้นสุด[[สงครามเย็น]] อินเดียได้เพิ่มความร่วมมือทางเศรษฐกิจ ยุทธศาสตร์ และการทหารกับ[[สหรัฐ|สหรัฐอเมริกา]]และ[[สหภาพยุโรป]] ในปี 2008 มีการลงนาม[[ข้อตกลงนิวเคลียร์พลเรือน]]ระหว่างอินเดียและสหรัฐอเมริกา แม้ว่าอินเดียจะมีอาวุธนิวเคลียร์อยู่ในขณะนั้นและไม่ได้เข้าร่วมสนธิสัญญาไม่แพร่ขยายอาวุธนิวเคลียร์ แต่ก็ได้รับการยกเว้นจาก[[ทบวงการพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศ]]และกลุ่มซัพพลายเออร์นิวเคลียร์ ซึ่งยุติข้อจำกัดก่อนหน้านี้เกี่ยวกับเทคโนโลยีนิวเคลียร์และการพาณิชย์ของอินเดีย เป็นผลให้อินเดียกลายเป็นรัฐอาวุธนิวเคลียร์โดยพฤตินัยชาติที่ 6<ref>{{Cite web|title=Indian Nuclear Weapons Program {{!}} India Outside Nuclear Non-Proliferation Treaty {{!}} NTI|url=https://www.nti.org/learn/countries/india/nuclear/|website=www.nti.org}}</ref> ต่อมาอินเดียได้ลงนามในข้อตกลงความร่วมมือที่เกี่ยวข้องกับพลังงานนิวเคลียร์พลเรือนกับรัสเซีย ฝรั่งเศส [[สหราชอาณาจักร]] และ[[ประเทศแคนาดา|แคนาดา]]

=== กองทัพ ===
{{บทความหลัก|กองทัพอินเดีย}}
[[ไฟล์:Indian Navy Dress No. 9 and 10.jpg|thumb|ทหารเรือของอินเดีย]]
ประธานาธิบดีเป็นผู้บัญชาการสูงสุดของกองกำลังติดอาวุธของประเทศ<ref>{{Cite web|title=The Official Home Page of the Indian Army|url=https://indianarmy.nic.in/|website=www.indianarmy.nic.in}}</ref><ref>{{Cite web|title=The Official Home Page of the Indian Army|url=https://indianarmy.nic.in/|website=www.indianarmy.nic.in}}</ref> ด้วยกองกำลังประจำการ 1.45 ล้านนาย พวกเขาเป็นกองทัพที่ใหญ่เป็นอันดับสองของโลก<ref>{{Cite web|title=The world's biggest armies: Ranking the top 10 accross the globe|url=https://www.army-technology.com/features/feature-the-worlds-biggest-armies/|website=www.army-technology.com|language=en-GB}}</ref><ref>{{Cite web|title=Largest armies in the world by personnel 2020|url=https://www.statista.com/statistics/264443/the-worlds-largest-armies-based-on-active-force-level/|website=Statista|language=en}}</ref> ประกอบด้วยกองทัพอินเดีย กองทัพเรืออินเดีย กองทัพอากาศอินเดีย และหน่วยยามฝั่งอินเดีย งบประมาณการป้องกันประเทศอย่างเป็นทางการของอินเดียในปี 2011 อยู่ที่ 36.03 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือ 1.83% ของจีดีพี สำหรับปีงบประมาณระหว่างปี 2012-2013 มีงบประมาณ 40.44 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ตามรายงานของสถาบันวิจัยสันติภาพนานาชาติแห่งสตอกโฮล์ม (SIPRI) ในปี 2008 ค่าใช้จ่ายทางการทหารประจำปีของอินเดียในแง่ของกำลังซื้ออยู่ที่ 72.7 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ในปี 2011 งบประมาณการป้องกันประเทศเพิ่มขึ้น 11.6% แม้ว่าจะไม่รวมเงินทุนที่เข้าถึงกองทัพผ่านหน่วยงานอื่นของรัฐบาล

ในปี 2012 อินเดียเป็นผู้นำเข้าอาวุธรายใหญ่ที่สุดของโลก ระหว่างปี 2007 ถึง 2011 คิดเป็น 10% ของเงินทุนที่ใช้ในการซื้ออาวุธระหว่างประเทศ ค่าใช้จ่ายทางทหารส่วนใหญ่มุ่งเน้นไปที่การป้องกันประเทศปากีสถานและต่อต้านอิทธิพลของจีนที่เพิ่มขึ้นในมหาสมุทรอินเดีย ในเดือนพฤษภาคม 2017 องค์การวิจัยอวกาศของอินเดียได้เปิดตัวดาวเทียมเอเชียใต้ ซึ่งเป็นของขวัญจากอินเดียไปยังประเทศในกลุ่ม SAARC ที่อยู่ใกล้เคียง ในเดือนตุลาคม 2018 อินเดียได้ลงนามในข้อตกลงมูลค่า 5.43 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (มากกว่า 400 พันล้านดอลลาร์) กับรัสเซียเพื่อจัดหาระบบป้องกันขีปนาวุธจากพื้นสู่อากาศ S-400 Triumf 4 ระบบ ซึ่งเป็นระบบป้องกันขีปนาวุธพิสัยไกลที่ทันสมัยที่สุดของรัสเซีย<ref>{{Cite web|last=Oct 5|first=TIMESOFINDIA COM / Updated:|last2=2018|last3=Ist|first3=15:12|title=S400 missile system: Why India wants to buy S-400 defence system from Russia {{!}} India News - Times of India|url=https://timesofindia.indiatimes.com/india/india-russia-s-400-missile-deal-all-you-need-to-know/articleshow/66066460.cms|website=The Times of India|language=en}}</ref>

== เศรษฐกิจ ==
=== โครงสร้างเศรษฐกิจ ===
{{บทความหลัก|เศรษฐกิจอินเดีย}}
เศรษฐกิจของอินเดียมีขนาดเป็น[[รายชื่อประเทศตามค่าจีดีพี|อันดับที่ 11]] ของโลกเมื่อวัดด้วย[[ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ|ค่าจีดีพี]]<ref name=imf2>{{cite web|url=http://www.imf.org/external/pubs/ft/weo/2010/01/weodata/weorept.aspx?sy=2007&ey=2010&scsm=1&ssd=1&sort=country&ds=.&br=1&c=534&s=NGDPD%2CNGDPDPC%2CPPPGDP%2CPPPPC%2CLP&grp=0&a=&pr.x=81&pr.y=8 |title=India|publisher=International Monetary Fund|accessdate=21 April 2010}}</ref> และเป็นอันดับ 4 ของโลกเมื่อเทียบด้วย[[ความเท่าเทียมกันของอำนาจซื้อ]]<ref>{{cite web|url=https://www.cia.gov/library/publications/the-world-factbook/rankorder/2001rank.html |title=CIA&nbsp;— The World Factbook&nbsp;— Rank Order&nbsp;— GDP (purchasing power parity) |publisher=Cia.gov |date=2009-03-05 |accessdate=2009-03-13}}</ref> หลังจากที่ได้มีการปฏิรูปเศรษฐกิจที่แข็งแกร่งโดยนักสังคมนิยมเป็นแรงบันดาลใจให้แก่เศรษฐกิจของประเทศหลังจากได้รับเอกราช อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศได้เติบโตขึ้นอย่างก้าวกระโดด โดยกิจกรรม[[ตลาดเสรี]]ซึ่งริเริ่มในปี 1990 เพื่อการแข่งขันกับนานาชาติและการลงทุนจากต่างประเทศ อินเดียเป็นประเทศอุตสาหกรรมก้าวหน้าเกิดใหม่โดยมีจำนวนประชากรมหาศาล เช่นเดียวกับทรัพยากรทางธรรมชาติและบุคลากรมืออาชีพมีทักษะที่เพิ่มมากขึ้น นักเศรษฐศาสตร์หลายท่านได้ทำนายว่าในปี 2020<ref>{{cite web|url=http://planningcommission.gov.in/reports/genrep/pl_vsn2020.pdf |title=India Vision 2020 |format=PDF |date= |accessdate=2009-12-12}}</ref> อินเดียจะกลายเป็นผู้นำทางเศรษฐกิจของโลก

[[ไฟล์:Mumbai Skyline at Night.jpg|thumb|จำนวนชนชั้นกลางกว่า 300 ล้านคนของอินเดียเพิ่มจำนวนโดยเฉลี่ย 5% ต่อปี<ref>{{cite book|url=http://books.google.com/books?id=4bXMvrwE_1EC&pg=PA83&dq=india+fastest+growing+middle+class&as_brr=3&client=firefox-a |title=Marketing in the 21st Century: New world marketing - By Bruce David Keillor |publisher=Books.google.com |date= |accessdate=2010-04-05 | isbn=9780275992767}}</ref> จากภาพ แสดงถึงการจัดสร้างเขตที่อยู่อาศัยใน[[มุมไบ]]]]
อินเดียอยู่ภายใต้นโยบายซึ่งตั้งบนพื้นฐานของ[[สังคมประชาธิปไตย]] นับจากปี 1947 ถึง 1991 เศรษฐกิจอินเดียมีลักษณะของข้อบังคับขยาย ลัทธิคุ้มครอง การถือกรรมสิทธิ์โดยเอกชน การคอรัปชั่นและการเจริญเติบโตอย่างช้า ๆ<ref name="makar">{{cite book|title=An American's Guide to Doing Business in India|author=Eugene M. Makar|year=2007}}</ref><ref name="oecd"/><ref name="nyt"/><ref name="potential">{{cite web|url=http://www.usindiafriendship.net/viewpoints1/Indias_Rising_Growth_Potential.pdf|title=India’s Rising Growth Potential|format=PDF|publisher=Goldman Sachs|year=2007|accessdate=2009-06-21|archive-date=2011-07-24|archive-url=https://web.archive.org/web/20110724120152/http://www.usindiafriendship.net/viewpoints1/Indias_Rising_Growth_Potential.pdf|url-status=dead}}</ref> จนกระทั่งเริ่มมีการเปลี่ยนแปลงตั้งแต่ปี 1991 ซึ่งมีการเปิดโอกาสเสรีทางเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่อง และได้ส่งผลให้ประเทศเปลี่ยนไปเป็นลักษณะของตลาดเศรษฐกิจแทน<ref name="oecd">{{cite web|url=http://www.oecd.org/dataoecd/17/52/39452196.pdf|format=PDF|title=Economic survey of India 2007: Policy Brief|publisher=[[OECD]]|accessdate=2009-06-21}}</ref><ref name="nyt">{{cite web|url=http://www.nytimes.com/1992/08/15/world/india-stumbles-in-rush-to-a-free-market-economy.html|title=India Stumbles in Rush to a Free Market Economy|publisher=[[New York Times]]}}</ref> การฟื้นฟูการปฏิรูปเศรษฐกิจและนโยบายทางเศรษฐกิจที่ดีขึ้นในช่วงทศวรรษ 2000 ได้เร่งให้การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเร็วยิ่งขึ้น ไม่กี่ปีที่ผ่านมานี้ เมืองต่าง ๆ ในอินเดียได้เริ่มเปิดเสรีในข้อบังคับเกี่ยวกับธุรกิจอย่างต่อเนื่อง<ref name=" World Bank and International Financial Corporation ">{{cite web|url= http://www.doingbusiness.org/subnational/exploreeconomies/India2009.aspx |title= Doing Business in India 2009|publisher=[[World Bank]]|accessdate=2010-06-08}}</ref> โดยในปี 2008 อินเดียเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจขนาดใหญ่ที่มีอัตราการเติบโตเร็วที่สุดอันดับสองของโลก<ref>{{cite web |url=http://www.australiannews.net/story/366072 |title=India now second fastest growing economy |publisher=Australiannews.net |date= |accessdate=2010-04-05 |archive-date=2009-11-24 |archive-url=https://web.archive.org/web/20091124032105/http://www.australiannews.net/story/366072 |url-status=dead }}</ref><ref>{{cite web |author=Maurice R. Landes |url=http://www.ers.usda.gov/Briefing/India/ |title=USDA - India |publisher=Ers.usda.gov |date=2009-12-17 |accessdate=2010-04-05 |archive-date=2011-05-20 |archive-url=https://web.archive.org/web/20110520002800/http://www.ers.usda.gov/Briefing/India/ |url-status=dead }}</ref><ref>{{cite book|url=http://books.google.com/books?id=4bXMvrwE_1EC&pg=PA82&dq=india+fastest+growing+economy&client=firefox-a |title=Marketing in the 21st Century: New world marketing - By Bruce David Keillor |publisher=Books.google.com |date= |accessdate=2010-04-05 | isbn=9780275992767}}</ref> อย่างไรก็ตาม ในปี 2009 อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจของอินเดียกลับลดลงอย่างมากเหลือ 6.8 เปอร์เซนต์<ref>{{cite web |url=http://online.wsj.com/article/BT-CO-20100622-707571.html?mod=WSJ_latestheadlines |title=World GDP Contracted 2% in 2009 |date= |accessdate=2010-07-02 }}{{ลิงก์เสีย|date=กันยายน 2021 |bot=InternetArchiveBot |fix-attempted=yes }}</ref> ตลอดจนโครงการฟื้นฟูการขาดดุลปีงบประมาณครั้งใหญ่ที่ 6.8 เปอร์เซ็นต์ของจีดีพี ซึ่งจะเป็นระดับสูงที่สุดของโลก<ref>{{cite web|url=http://www.rediff.com/money/2009/feb/20bcrisis-india-fiscal-deficit-to-be-highest.htm |title=India's fiscal deficit to be highest in the world: Goldman |publisher=Rediff.com |date=2004-12-31 |accessdate=2010-04-05}}</ref><ref>http://www.business-standard.com/india/news/pmeac-for-including-expense-targets-in-fiscal-discipline/374074/
PMEAC for including expense targets in fiscal discipline</ref>

[[แรงงานเกณฑ์|แรงงาน]]ชาวอินเดียจำนวน 522 ล้านคนเป็นแรงงานที่ใหญ่เป็นอันดับสองของโลก<ref>https://tradestat.commerce.gov.in/eidb/default.asp</ref> ณ ปี 2017 ภาคบริการคิดเป็น 55.6% ของจีดีพีภาคอุตสาหกรรม 26.3% และภาคเกษตร 18.1% การส่งเงินตราต่างประเทศของอินเดียจำนวน 70 พันล้านดอลลาร์สหรัฐในปี 2014 ซึ่งใหญ่ที่สุดในโลกนั้นมีส่วนสนับสนุนเศรษฐกิจ โดยมีชาวอินเดีย 25 ล้านคนที่ทำงานในต่างประเทศ<ref>{{Cite web|title=Trade Statistics|url=https://commerce.gov.in/trade-statistics/|website=Mcommerce|language=en}}</ref> สินค้าเกษตรที่สำคัญ ได้แก่ [[ข้าว]] [[ข้าวสาลี]] เมล็ดพืชน้ำมัน [[ฝ้าย]] ปอกระเจา ชา อ้อย และ[[มันฝรั่ง]] อุตสาหกรรมหลัก ได้แก่<ref>{{Cite web|title=Indian Trade Portal|url=https://www.indiantradeportal.in/|website=www.indiantradeportal.in}}</ref> สิ่งทอ โทรคมนาคม เคมีภัณฑ์ ยา เทคโนโลยีชีวภาพ การแปรรูปอาหาร เหล็ก อุปกรณ์การขนส่ง ซีเมนต์ เหมืองแร่ ปิโตรเลียม เครื่องจักร และซอฟต์แวร์ ในปี 2006 ส่วนแบ่งการค้าภายนอกในจีดีพีของอินเดียอยู่ที่ 24% เพิ่มขึ้นจาก 6% ในปี 1985 และในปี 2008 ส่วนแบ่งการค้าโลกของอินเดียอยู่ที่ 1.68% ในปี 2011 อินเดียเป็นผู้นำเข้ารายใหญ่อันดับ 10 ของโลกและส่งออกรายใหญ่ที่สุดอันดับ 19 สินค้าส่งออกที่สำคัญ ได้แก่ ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม สินค้าสิ่งทอ เครื่องเพชรพลอย [[ซอฟต์แวร์]] สินค้าวิศวกรรม เคมีภัณฑ์ และเครื่องหนัง สินค้านำเข้าที่สำคัญ ได้แก่ [[ปิโตรเลียม|น้ำมันดิบ]] [[เครื่องจักร]] [[อัญมณี]] [[ปุ๋ย]] และเคมีภัณฑ์ ระหว่างปี 2001 ถึง 2011 สัดส่วนของสินค้าปิโตรเคมีและวิศวกรรมในการส่งออกทั้งหมดเพิ่มขึ้นจาก 14% เป็น 42% อินเดียเป็นผู้ส่งออกสิ่งทอรายใหญ่เป็นอันดับสองของโลกรองจากจีน

=== พลังงาน ===
กำลังการผลิตของอินเดียในการผลิตพลังงานไฟฟ้าคือ 300 กิกะวัตต์ ซึ่งจำนวนกว่า 42 กิกะวัตต์สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้<ref>{{Cite web|date=2017-06-16|title=India's Total Power Generation Capacity Crosses 300 GW Mark|url=https://web.archive.org/web/20170616181350/http://www.ndtv.com/india-news/indias-total-power-generation-capacity-crosses-300-gw-mark-1438906|website=web.archive.org}}</ref> การใช้[[ถ่านหิน]]ของประเทศเป็นสาเหตุสำคัญของการปล่อย[[แก๊สเรือนกระจก|ก๊าซเรือนกระจก]]โดยอินเดีย แต่อินเดียก็เป้นหนึ่งในประเทศที่รณรงค์การใช้[[พลังงานทดแทน|พลังงานหมุนเวียน]]อย่างกว้างขวาง อินเดียปล่อยก๊าซเรือนกระจกเป็นประมาณ 7% ของปริมาณก๊าซทั่วโลก<ref>{{Cite news|date=2020-05-12|title=India's carbon emissions fall for first time in four decades|language=en-GB|work=BBC News|url=https://www.bbc.com/news/world-asia-india-52614770|access-date=2021-09-25}}</ref> ซึ่งเท่ากับประมาณ 2.5 ตัน[[คาร์บอนไดออกไซด์]]ต่อคนต่อปี ซึ่งเท่ากับครึ่งหนึ่งของค่าเฉลี่ยโลก<ref>{{Cite web |url=https://www.unep.org/resources/emissions-gap-report-2019 |title=สำเนาที่เก็บถาวร |access-date=2021-09-25 |archive-date=2021-10-06 |archive-url=https://web.archive.org/web/20211006195706/https://www.unep.org/resources/emissions-gap-report-2019 |url-status=dead }}</ref> การเพิ่มการเข้าถึงไฟฟ้าและการปรุงอาหารที่สะอาดด้วย[[แก๊สปิโตรเลียมเหลว|ก๊าซปิโตรเลียมเหลว]]มีความสำคัญต่อพลังงานในอินเดียปัจจุบัน

=== การท่องเที่ยว ===
{{บทความหลัก|การท่องเที่ยวในประเทศอินเดีย}}
การท่องเที่ยวในประเทศอินเดียเป็นส่วนสำคัญในเศรษฐกิจของประเทศอินเดียที่กำลังเติบโตอย่างรวดเร็ว [[World Travel and Tourism Council|สภาการเดินทางและการท่องเที่ยวโลก]]คำนวณว่าธุรกิจการท่องเที่ยวสร้างรายได้ให้กับอินเดีย {{INR|16.91}} หรือ 9.2% ของจีดีพีประเทศในปี 2018 และทำให้เกิดอาชีพกับผู้คน 42.673 ล้านคน, 8.1% ของการจ้างงานทั้งหมด<ref>{{cite web |title=2019 ANNUAL RESEARCH: KEY HIGHLIGHTS |url=https://www.wttc.org/-/media/files/reports/economic-impact-research/countries-2019/india2019.pdf |website=WTTC |accessdate=15 March 2019|url-status=dead|archive-url=https://web.archive.org/web/20191230065707/https://www.wttc.org/-/media/files/reports/economic-impact-research/countries-2019/india2019.pdf|archive-date=2019-12-30}}</ref> มีการคาดการณ์ว่าจะเติบโตขึ้นสูงถึง 6.9% หรือ {{INRConvert|32.05|lc}} ภายในปี 2028 (9.9% ของจีดีพี)<ref>{{cite web|title=Travel & Tourism Economic Impact 2018 India|url=https://www.wttc.org/-/media/files/reports/economic-impact-research/countries-2018/india2018.pdf|publisher=[[World Travel and Tourism Council]]|accessdate=22 March 2017|archive-date=2018-03-22|archive-url=https://web.archive.org/web/20180322143152/https://www.wttc.org/-/media/files/reports/economic-impact-research/countries-2018/india2018.pdf|url-status=dead}}</ref> ในเดือนตุลาคม 2015 [[การท่องเที่ยวเชิงการแพทย์ในประเทศอินเดีย]]มีมูค่าประมาณการอยู่ที่สามพันล้านดอลล่าร์สหรัฐ และคาดการณ์ว่าจะโตขึ้นถึง 7–8 พันล้านดอลล่าร์ในปี 2020<ref>{{Cite web|url=http://economictimes.indiatimes.com/industry/healthcare/biotech/healthcare/indian-medical-tourism-industry-to-touch-8-billion-by-2020-grant-thornton/articleshow/49615898.cms|title=Indian medical tourism industry to touch $8&nbsp;billion by 2020: Grant Thornton – The Economic Times|website=The Economic Times|access-date=16 April 2016}}</ref> ในปี 2014 มีผู้ป่วยต่างชาติ 184,298 รายเข้ามาในประเทศอินเดียเพื่อเข้ารับการรักษา<ref>{{cite web|title=Promotion of Medical Tourism|url=http://pib.nic.in/newsite/PrintRelease.aspx?relid=144633|website=Press Information Bureau|accessdate=28 April 2016}}</ref>

ในปี 2017 มีนักท่องเที่ยวต่างชาติกว่า 10 ล้านคนเดินทางเข้ามาในอินเดีย เทียบกับจำนวน 8.89 ล้านคนในปี 2016 หรือคิดเป็นการเติบโต 15.6%<ref name="2017FTA">{{cite web|url=http://pib.nic.in/newsite/PrintRelease.aspx?relid=175628|title=15.2% Growth in Foreign Tourist Arrivals in December, 2017 Over December, 2016; 48.3% Growth in Foreign Tourist Arrivals on e-Tourist visa in December, 2017 Over December, 2016|publisher=[[Press Information Bureau]], Government of India, Ministry of Tourism|date=15 January 2018|accessdate=7 March 2018|author=Sanjay Kumar}}</ref><ref>{{cite web|last1=Team|first1=BS Web|title=India attracted 10 mn foreign tourists in 2017, sports to bring more|url=http://www.business-standard.com/article/economy-policy/india-attracted-10-mn-foreigners-in-2017-sports-to-bring-more-alphons-118011700293_1.html|website=Business Standard India|accessdate=11 February 2018|date=17 January 2018}}</ref><ref name="IND">{{cite web|url=http://tourism.gov.in/sites/default/files/FTA/Press_Note_FTAs_Dec_16.PDF|title=Performance of Tourism Sector during December, 2016|work=[[Ministry of Tourism (India)|Ministry of Tourism]]|accessdate=28 February 2017|archive-date=2017-03-02|archive-url=https://web.archive.org/web/20170302121137/http://tourism.gov.in/sites/default/files/FTA/Press_Note_FTAs_Dec_16.PDF|url-status=dead}}</ref> ในขณะที่นักท่องเที่ยวภายในประเทศเดินทางไปตามรัฐและยูทีต่าง ๆ อยู่ที่ 1,036.35 ล้านคนในปี 2012 เติบโตขึ้น 16.5% จากปี 2011<ref>{{cite web|title=India's Domestic Tourists increase by 16% crossing 1 Billion Mark|url=http://news.biharprabha.com/2014/02/indias-domestic-tourists-increase-by-16-crossing-1-billion-mark/|agency=Indo-Asian News Service|publisher=news.biharprabha.com|accessdate=21 February 2014}}</ref> ในปี 2014 รัฐที่ได้รับความนิยมสูงสุดในการท่องเที่ยวคือ[[รัฐทมิฬนาฑู]], [[รัฐมหาราษฏระ]] และ[[รัฐอุตตรประเทศ]]<ref>{{cite news|url=http://timesofindia.indiatimes.com/india/Tamil-Nadu-UP-pip-Goa-as-tourist-havens/articleshow/48210668.cms|title=Tamil Nadu, UP pip Goa as tourist havens}}</ref> และมีเมือง[[เดลี]], [[มุมไบ]], [[เจนไน]], [[อัคระ]] และ[[ไชปุระ]] เป็นเมืองที่มีนักท่องเที่ยวเดินทางเข้ามามากที่สุดห้าอันดับของประเทศ ในปี 2015 นอกจากนี้ในระดับโลก เมือง[[เดลี]] อยู่อันดับที่ 28 ขำองจำนวนนักท่องเที่ยวต่างชาติขาเข้า ตามด้วย [[มุมไบ]] ที่อันดับ 30, [[เจนไน]] ที่อันดับ 43, [[อัคระ]] ที่อันดับ 45, [[ไชปุระ]] ที่อันดับ 52 และ [[โกลกาตา]] ที่อันดับ 90 ของโลก<ref>{{cite web|last1=Bremner|first1=Caroline|title=Top 100 City Destinations Ranking|url=http://go.euromonitor.com/rs/805-KOK-719/images/2017%20Top%20100%20Cities%20Destinations%20Final%20Report.pdf|website=Euromonitor International|accessdate=30 January 2017}}</ref> โดยมี[[Ministry of Tourism (India)|กระทรวงการท่องเที่ยว]]เป็นหน่วยงานรัฐบาลที่กำหนดและดำเนินนโยบายพัฒนาการท่องเที่ยว ภายใต้แคมเปญ [[อินเคร็ดดิเบิล อินเดีย]] (Incredible India)

== ประชากรศาสตร์ ==
{{เมืองใหญ่สุดในอินเดีย}}
=== เชื้อชาติ ===
ประชากรอินเดียมี 1.252 พันล้านคน
โดยมีเชื้อชาติ อินโด-อารยัน ร้อยละ 72 ดราวิเดียน ร้อยละ 25 มองโกลอยด์ ร้อยละ 2 และอื่น ๆ ร้อยละ 1 อัตราการเพิ่มของประชากร ร้อยละ 1.8 (ค.ศ. 1999) และอัตราการรู้หนังสือ ร้อยละ 52.1

=== ระบบชั้นชั้นวรรณะ ===
ตั้งแต่สมัยโบราณวรรณะที่สำคัญของอินเดียมี 4 วรรณะ ได้แก่<ref>{{Cite web|title=Jati: The Caste System in India|url=https://asiasociety.org/education/jati-caste-system-india|website=Asia Society|language=en}}</ref>

* วรรณะพราหมณ์ ได้แก่ นักบวช ปัจจุบันอาจตีความไปถึงนักวิชาการ นักวิทยาศาสตร์ และนักการเมือง
* วรรณะกษัตริย์ ได้แก่ นักรบ ซึ่งอาจรวมไปถึงข้าราชการ

* วรรณะแพศย์ ได้แก่ พ่อค้า และ นักธุรกิจ
* วรรณะศูทร ได้แก่ ผู้ใช้แรงงาน ชาวนา กรรมกร และคนยากจน

โดยทั่วไปแล้วสามวรรณะแรกนั้นเปรียบเสมือนชนชั้นปกครอง และวรรณะศูทรเปรียบได้กับผู้ถูกปกครอง นอกจากนี้ในสังคมของชาวฮินดูยังมีการแบ่งวรรณะที่ต่ำที่สุด คือ ชนชั้น[[จัณฑาล]] หรือที่รู้จักกันในชื่อยุคใหม่ว่า "ดาลิต" มีความหมายว่า "ผู้เป็นที่รักของพระเจ้า" ซึ่งเป็นชนนั้นที่ถูกเลือกปฏิบัติและมีสิทธิเสรีภาพทางสังคมน้อยที่สุด อย่างไรก็ตาม กฎหมายในสังคมยุคใหม่ของอินเดียได้มีการลดช่องว่างทางสังคมดังกล่าวลง โดยมีการเพิ่มโอกาสทางการศึกษา เช่นการกำหนดโควตาให้นักศึกษาชนชั้นดาลิตเข้าศึกษาโดยไม่ต้องผ่านการสอบคัดเลือก, การเลือกประกอบอาชีพ ตลอดจนสิทธิในการเป็นเจ้าของทรัพย์สิน แต่ยังไม่เป็นที่ยอมรับมากนักในทางปฏิบัติ<ref>{{Cite journal|last=Sankaran|first=Sindhuja|last2=Sekerdej|first2=Maciek|last3=von Hecker|first3=Ulrich|date=2017|title=The Role of Indian Caste Identity and Caste Inconsistent Norms on Status Representation|url=https://www.frontiersin.org/articles/10.3389/fpsyg.2017.00487/full|journal=Frontiers in Psychology|language=en|volume=0|doi=10.3389/fpsyg.2017.00487|issn=1664-1078}}</ref>

=== ภาษา ===
{{บทความหลัก|ภาษาราชการของอินเดีย|รายชื่อภาษาของอินเดียเรียงตามจำนวนคนพูด}}
ในปัจจุบัน อินเดียมีประชากรกว่า 1,300 ล้านคน<ref>{{Cite web|title=India Population (2021) - Worldometer|url=https://www.worldometers.info/world-population/india-population/|website=www.worldometers.info|language=en}}</ref> ประชากรเหล่านี้มีความแตกต่างทางด้านชาติพันธุ์ และ[[วัฒนธรรม]] มีภาษาหลักใช้พูดถึง 16 ภาษา เช่น [[ภาษาฮินดี]] [[ภาษาอังกฤษ]] [[ภาษาเบงกอล]] [[ภาษาอูรดู]] ฯลฯ และมีภาษาถิ่นมากกว่า 100 ภาษา ภาษาฮินดี ถือว่าเป็นภาษาประจำชาติ เพราะคนอินเดียกว่าร้อยละ 30 ใช้ภาษานี้ คนอินเดียที่อาศัยอยู่รัฐทางตอนเหนือและรัฐทางตอนใต้นอกจากจะใช้ภาษาที่แตกต่างกันแล้ว การแต่งกาย การรับประทานอาหารก็แตกต่างกันออกไปด้วย

=== ศาสนา ===
{{main|ศาสนาในประเทศอินเดีย}}
{{Pie chart
|thumb = right
|caption = ศาสนาในประเทศอินเดีย ([[2011 Census of India|สำมะโนประชากร ปี 2011]])<ref>{{cite news|url=http://m.firstpost.com/india/india-has-79-8-percent-hindus-14-2-percent-muslims-2016-census-data-on-religion-2407708.html|work=[[Firstpost]]|accessdate=14 August 2016|date=26 August 2016|title=India has 79.8% Hindus, 14.2% Muslims, says 2011 census data on religion}}</ref>
|label1 = [[ศาสนาฮินดู]]
|value1 = 79.8
|color1 = Darkorange
|label2 = [[ศาสนาอิสลาม]]
|value2 = 14.2
|color2 = green
|label3 = [[ศาสนาคริสต์]]
|value3 = 2.3
|color3 = DodgerBlue
|label4 = [[ศาสนาซิกข์]]
|value4 = 1.7
|color4 = orange
|label5 = [[ศาสนาพุทธ]]
|value5 = 0.7
|color5 = Yellow
|label6 = [[ศาสนาเชน]]
|value6 = 0.4
|color6 = Red
|label7 = [[ศาสนาโซโรอัสเตอร์]]
|value7 = 0.2
|color7 = Coral
|label8 = [[ศาสนายูดาย]]
|value8 = 0.2
|color8 = DarkRed
|label9 = [[ศาสนาชนเผ่า]]
|value9 = 0.2
|color9 = Purple
|label10 = [[ศาสนาบาไฮ]]
|value10 = 0.1
|color10 = LightCoral
|label11 = ไม่ระบุศาสนา
|value11 = 0.2
|color11 = Black
}}

ประเทศอินเดียมีความหลากหลายในศาสนา ลัทธิ ความเชื่อ และการปฏิบัติ โดยทางการแล้วประเทศอินเดียเป็น[[รัฐฆราวาส]] (secular state) และไม่มีศาสนาประจำชาติ [[อนุทวีปอินเดีย]]เป็นแหล่งกำเนิดของ[[ศาสนาอินเดีย|ศาสนา]]ที่สำคัญของโลกสี่ศาสนา ได้แก่ [[ศาสนาฮินดู]], [[ศาสนาไชนะ]], [[ศาสนาพุทธ]] และ[[ศาสนาซิกข์]] ข้อมูลจากสำมะโนประชากรปี 2011 ระบุว่าประชากรอินเดีย 79.8% นับถือ[[ศาสนาฮินดูในประเทศอินเดีย|ศาสนาฮินดู]], 14.2% นับถือ[[ศาสนาอิสลามในประเทศอินเดีย|ศาสนาอิสลาม]], 2.3% นับถือ[[ศาสนาคริสต์ในประเทศอินเดีย|ศาสนาคริสต์]], 1.7% นับถือ[[ศาสนาซิกข์ในประเทศอินเดีย|ศาสนาซิกข์]], 0.7% [[ศาสนาพุทธในประเทศอินเดีย|ศาสนาพุทธ]] และ 0.37% นับถือศาสนาไชนะ ทั้ง[[ศาสนาโซโรอัสเตอร์]], [[Sanamahism]] และ [[ศาสนายูดาย]] ล้วนมีประวัติศาสตร์เก่าแก่ในประเทศอินเดีย และมีผู้นับถืออยู่ศาสนาละหลายพันคน ประเทศอินเดียมีประชากรที่นับถือศาสนาโซโรอัสเตอร์มากที่สุดในโลก (ทั้ง [[ปาร์ซี]] (parsi) และ [[อิรานี (อินเดีย)|อิรานี]] (irani)) และยังมีประชากรที่นับถือ[[ศาสนาบาไฮ]]มากที่สุดในโลกเช่นกัน<ref>{{Cite book |last=Smith |first=Peter |title=An introduction to the Baha'i faith |publisher=[[Cambridge University Press]] |year=2008 |page=94 |url=https://books.google.com/?id=z7zdDFTzNr0C&pg=PA94
|isbn=978-0-521-86251-6 }}</ref> ถึงแม้ทั้งสองศาสนานี้จะเติบโตขึ้นในแถบ[[ประเทศอิหร่าน|เปอร์เซีย]]ก็ตาม ตลอดทั้งประวัติศาสตร์ของประเทศอินเดีย ศาสนาเป็นส่วนสำคัญของวัฒนธรรมมาตลอด ความหลากหลายทางศาสนาและ[[การยอมรับความต่างทางศาสนา]] (Religious toleration) ล้วนปรากฏในประเทศทั้งในทาง[[กฎหมายอินเดีย|กฎหมาย]]และทาง[[ธรรมเนียม]]ปฏิบัติ ใน[[รัฐธรรมนูญอินเดีย]]ได้รับรอง[[เสรีภาพทางศาสนา]]ให้เป็น[[สิทธิขั้นพื้นฐานในประเทศอินเดีย|สิทธิขั้นพื้นฐานของประชาชนอินเดีย]]<ref>{{cite book|last=Basu|first=Durga Das|authorlink=Durga Das Basu|title=Introduction to the Constitution of India|edition=21|year=2013|publisher=LexisNexis|isbn=978-81-803-8918-4|page=124}}</ref>

==== เทพเจ้าในความเชื่อของชาวอินเดีย ====
ในบรรดาเรื่องราวของเทพเจ้าของชนชาติทั้งหลายนั้น เทพเจ้าของอินเดียนับว่ามีเรื่องราวและประวัติความเป็นมาที่ซับซ้อนมากกว่าชาติอื่นๆ<ref>{{Cite web|last=vadkwan|date=2017-05-29|title=อารยธรรมอินเดีย|url=https://vadkwan.wordpress.com/2017/05/29/%e0%b8%ad%e0%b8%b2%e0%b8%a3%e0%b8%a2%e0%b8%98%e0%b8%a3%e0%b8%a3%e0%b8%a1%e0%b8%ad%e0%b8%b4%e0%b8%99%e0%b9%80%e0%b8%94%e0%b8%b5%e0%b8%a2/|website=สังคมน่ารู้กับครูขวัญ}}</ref> และกล่าวกันว่าตั้งแต่สมัยดึกดำบรรพ์ ชนชาติอริยกะ หรืออินเดียอิหร่านที่อพยพไปตั้งถิ่นฐานอยู่ในลุ่มแม่น้ำสินธุ มีการนับถือเทพเจ้าและมี[[พระเวท|คัมภีร์พระเวท]]เกิดขึ้น พวกอริยกะ หรืออารยันนั้นแต่เดิมนั้นนับถือธรรมชาติ เช่น [[ดวงอาทิตย์]] [[ดวงจันทร์]] ท้องฟ้า ลม และไฟ ต่อมามีการกำหนดให้ปวงเทพเกิดมีหน้าที่กันขึ้น โดยตั้งชื่อตามสิ่งที่เป็นธรรมชาตินั้นๆแล้วก็เกิดมีหัวหน้าเทพเจ้าขึ้น ดังที่ปรากฏอยู่ในคัมภีร์พระเวท ซึ่งก็คือ[[พระอินทร์]] จากหลักฐานโบราณที่เป็นจารึกบนแผ่นดินเหนียวอายุราว 1,400 ปี ก่อนคริสตกาล เรียกว่าแผ่นจารึก โบกาซ คุย หรือจารึก เทเรีย ซึ่งขุดพบที่ตำบลดังกล่าว ของดินแดนแคปปาโดเซีย ใน[[ประเทศตุรกี|ตุรกี]] จารึกนี้ ได้ออกนามเทพเจ้าเป็นพยานถึง 4 องค์ ได้แก่ พระอินทร์ (lndra) เทพเจ้าแห่งพลัง มิทระ (Mitra) พระวรุณ (Varuna)และ นาสัตย์ (Nasatya) คือ พระนาสัตย์อัศวิน (Asvins)<ref>{{Cite web|title=Hindu Gods and Goddesses|url=https://www.dummies.com/religion/hinduism/hindu-gods-and-goddesses/|website=dummies|language=en}}</ref>

บางตำราได้กล่าวว่า เทพเจ้าดั้งเดิมของพวกอริยกะนั้นได้แก่ พระอินทร์ พระสาวิตรี พระวรุณ และพระยม บ้างก็กล่าวว่า เทพเจ้าที่เก่าที่สุด คือ พระอินทร์ พระพฤหัสบดี พระวรุณ และพระยม

=== ปัญหาสังคม ===
แม้จะมี[[ความเติบโตทางเศรษฐกิจ|การเติบโตทางเศรษฐกิจ]]ในช่วงหลายทศวรรษที่ผ่านมา อินเดียยังคงเผชิญกับความท้าทายทางเศรษฐกิจและสังคม ในปี 2006 อินเดียมีจำนวนประชากรที่อาศัยอยู่ต่ำกว่าเส้นความยากจนของ[[ธนาคารโลก]]มากที่สุดที่ 1.25 ดอลลาร์สหรัฐฯ ต่อวัน<ref>{{Cite web|date=2012-05-14|title=Wayback Machine|url=https://web.archive.org/web/20120514143037/http://siteresources.worldbank.org/SOUTHASIAEXT/Resources/DPR_FullReport.pdf|website=web.archive.org}}</ref> สัดส่วนลดลงจาก 60% ในปี 1981 เป็น 42% ในปี 2005 30.7% ของเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปีของอินเดียมีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์<ref>{{Cite web|date=2015-05-29|title=India home to world's largest number of hungry people: report - World - DAWN.COM|url=https://web.archive.org/web/20150529132938/http://www.dawn.com/news/1184959/india-home-to-worlds-largest-number-of-hungry-people-report|website=web.archive.org}}</ref><ref>{{Cite web|date=2016-12-02|title=India tops world hunger list with 194 million people - The Hindu|url=https://web.archive.org/web/20161202044027/http://www.thehindu.com/news/national/india-is-home-to-194-million-hungry-people-un/article7255937.ece|website=web.archive.org}}</ref> ตามรายงานของ[[องค์การอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติ|องค์การอาหารและการเกษตร]]ในปี 2015 ประชากร 15% [[ทุพโภชนาการ|ขาดสารอาหาร]]<ref>{{Cite web|date=2012-05-06|title=India - New Global Poverty Estimates|url=https://web.archive.org/web/20120506043711/http://www.worldbank.org.in/WBSITE/EXTERNAL/COUNTRIES/SOUTHASIAEXT/INDIAEXTN/0,,contentMDK:21880725~pagePK:141137~piPK:141127~theSitePK:295584,00.html|website=web.archive.org}}</ref> โครงการอาหารกลางวันของชาติพยายามที่จะลดอัตราเหล่านี้ลง ตามรายงานของมูลนิธิ Walk Free Foundation ประจำปี 2016 มีคนประมาณ 18.3 ล้านคนในอินเดีย หรือ 1.4% ของประชากรตกเป็นทาสแรงงาน<ref>{{Cite web|date=2017-10-01|title=India ranks fourth in global slavery survey - The Economic Times|url=https://web.archive.org/web/20171001170950/http://economictimes.indiatimes.com/news/politics-and-nation/india-ranks-fourth-in-global-slavery-survey/articleshow/52528778.cms|website=web.archive.org}}</ref> เช่น แรงงานเด็ก<ref>{{Cite web|date=2017-12-01|title=Wayback Machine|url=https://web.archive.org/web/20171201030715/http://www.ilo.org/wcmsp5/groups/public/---asia/---ro-bangkok/---sro-new_delhi/documents/publication/wcms_557089.pdf|website=web.archive.org}}</ref> การค้ามนุษย์ และการบังคับขอทาน เป็นต้น จากการสำรวจสำมะโนประชากรปี 2011 มีแรงงานเด็ก 10.1 ล้านคนในประเทศ ลดลง 2.6 ล้านคนจาก 12.6 ล้านคนในปี 2001<ref>{{Cite web|date=2017-02-15|title=Poverty headcount ratio at $1.90 a day (2011 PPP) (% of population) {{!}} Data|url=https://web.archive.org/web/20170215021227/http://data.worldbank.org/indicator/SI.POV.DDAY?locations=IN|website=web.archive.org}}</ref> ตั้งแต่ปี 1991 ความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจระหว่างรัฐต่าง ๆ ของอินเดียเติบโตขึ้นอย่างต่อเนื่อง ผลิตภัณฑ์ภายในประเทศสุทธิต่อหัวของรัฐที่ร่ำรวยที่สุดในปี 2007 นั้น มีมูลค่ามากกว่า 3.2 เท่าของบริเวณที่ยากจนที่สุด

== โครงสร้างพื้นฐาน ==
=== โทรคมนาคม ===
{{โครง-ส่วน}}

=== การศึกษา ===
[[ไฟล์:Delhiuni.jpg|thumb|left|มหาวิทยาลัยเดลี]]
{{บทความหลัก|การศึกษาในประเทศอินเดีย}}
การศึกษาในประเทศอินเดียนั้นดำเนินการผ่านทาง[[โรงเรียนรัฐ]] (ซึ่งบริหารจัดการในสามระดับ: [[รัฐบาลอินเดีย|รัฐบาลกลาง]], [[States and Territories of India|รัฐ]] และ [[รัฐบาลท้องถิ่น|ท้องถิ่น]]) และ[[โรงเรียนเอกชน]] ภายใต้หลายบทบัญญัติใน[[รัฐธรรมนูญอินเดีย]] การศึกษาภาคบังคับโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายนั้นเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานของเยาวชนอายุ 6 ถึง 14 ปี อัตราส่วนของโรงเรียนรัฐบาลต่อโรงเรียนเอกชนในประเทศอินเดียอยู่ที่ 7:5 โดยประเทศอินเดียนั้นได้ดำเนินการเพิ่มอัตราการเข้าศึกษาในระดับประถมศึกษามาตลอด ในปี 2011 พบว่าราว 75% ของประชากรอินเดียที่อายุ 7 ถึง 10 ปีสามารถ[[การรู้หนังสือ|อ่านออกเขียนได้]] (literate)<ref name="wbie">{{cite web|url=http://www.worldbank.org.in/WBSITE/EXTERNAL/COUNTRIES/SOUTHASIAEXT/INDIAEXTN/0,,contentMDK:21493265~pagePK:141137~piPK:141127~theSitePK:295584,00.html|title=Education in India|publisher=World Bank|access-date=8 January 2009|archive-url=https://web.archive.org/web/20120406171509/http://www.worldbank.org.in/WBSITE/EXTERNAL/COUNTRIES/SOUTHASIAEXT/INDIAEXTN/0,,contentMDK:21493265~pagePK:141137~piPK:141127~theSitePK:295584,00.html|archive-date=6 April 2012|url-status=dead}}</ref> การพัฒนาระบบการศึกษาในประเทศอินเดียถือว่าเป็นหัวใจสำคัญที่นำไปสู่การพัฒนาเศรษฐกิจในประเทศ<ref name=Sify>[http://sify.com/finance/fullstory.php?id=14757040 India achieves 27% decline in poverty], ''Press Trust of India'' via ''Sify.com'', 12 September 2008</ref> ถึงแม้สัดส่วนการเข้าศึกษาต่อในระดับ[[อุดมศึกษา]]ของประชากรอินเดียนั้นได้เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องในทศวรรษที่ผ่านมา มีสัดส่วนผู้เข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษาทั้งประเทศอยู๋ที่ 24% ในปี 2013<ref name="UNESCO">{{cite web |url=http://data.uis.unesco.org/ |title=Gross enrollment ratio by level of education|publisher=[[UNESCO]] Institute for Statistics|accessdate=10 December 2015}}</ref> แต่อินเดียก็ยังไม่ได้เข้าใกล้อัตราส่วนการศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษาของประเทศพัฒนาแล้วประเทศอื่น ๆ เลย<ref>{{cite web|url=http://www.university-analytics.net/#!global-education/vphur|title=Global Education|publisher=University Analytics|accessdate=10 December 2015|archive-url=https://web.archive.org/web/20151208142313/http://www.university-analytics.net/#!global-education/vphur|archive-date=8 December 2015|url-status=dead}}</ref>

ในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ประเทศอินเดียเป็นประเทศที่มีระบบโรงเรียนเอกชนขนาดใหญ่ พบว่านักเรียน 29% ที่อายุ 6 ถึง 14 ปี ศึกษาระดับประถมศึกษาในโรงเรียนเอกชน<ref name="pvt_enroll">{{cite news|url=http://www.thehindu.com/features/education/school/over-a-quarter-of-enrolments-in-rural-india-are-in-private-schools/article5580441.ece|title=Over a quarter of enrollments in rural India are in private schools|publisher=The Hindu|accessdate=21 August 2014}}</ref> ในขณะที่โรงเรียนเทคนิกจำนวนมากก็เป็นโรงเรียนเอกชนเช่นกัน ตลาดการศึกษาเอกชนในประเทศอินเดียมีรายได้อยู่ที่ 450 ล้านดอลล่าร์สหรัฐในปี 2008<ref name=educationmarket>{{cite web |url=http://www.everonn.com/images/CLSA140308.pdf |title=Indian education: Sector outlook |accessdate=23 January 2014 |archive-url=https://web.archive.org/web/20150924004312/http://www.everonn.com/images/CLSA140308.pdf |archive-date=24 September 2015 |url-status=dead }}</ref>

ข้อมูลจากรายงานสถานะการศึกษาประจำปี (Annual Status of Education Report: ASER) ปี 2012 ระบุว่าเยาวชนอายุ 6-14 ปีในพื้นที่ชนบท 96.5% ได้เข้าสมัครเรียนระบบการศึกษา นับเป็นปีที่ 4 ที่สัดส่วนนี้สูงเกิน 96% ประเทศอินเดียสามารถคงสัดส่วนการเข้าสู่ระบบการศึกษาของนักเรียนอายุ 6-14 ไว้ที่ประมาณ 95% ตั้งแต่ปี 2007 ถึง 2014 ข้อมูลจาก ASER เมื่อปี 2018 พบว่ามีเยาวชนเพียง 2.8% เท่านั้นที่ยังไม่ได้เข้าสู่ระบบการศึกษา<ref>{{Cite book|url=http://img.asercentre.org/docs/ASER%202018/Release%20Material/aserreport2018.pdf|title=ASER-2018 RURAL, Annual Status of Education Report (Rural)|last=|first=|publisher=ASER Centre|year=2019|isbn=9789385203015|location=India|pages=47}}</ref> อีกรายงานหนึ่งจากปี 2013 ระบุว่ามีนักเรียนจำนวน 229 ล้านคนเข้าศึกษาในโรงเรียนที่ได้รับการรับรองทั่วประเทศ ในระดับประถม 1-7 (Class I - XII) นับว่าเพิ่มขึ้น 2.3 ล้านคนจากปี 2002 และพบว่าในเด็กผู้หญิงนั้นเพิ่มขึ้นถึง 19%<ref>[http://timesofindia.indiatimes.com/home/education/news/Enrolment-in-schools-rises-14-to-23-crore/articleshow/18123554.cms Enrollment in schools rises 14% to 23 crore] The Times of India (22 January 2013)</ref> ในขณะที่ในเชิงปริมาณ ประเทศอินเดียกำลังเข้าใกล้การครอบคลุมการศึกษาได้ทั่วถึงทั้งประชากรของประเทศ (universal education) แต่คุณภาพของการศึกษาในประเทศอินเดียนั้นเป็นที่ตั้งคำถามอย่างมาก โดยเฉพาะในโรงเรียนของรัฐบาล ถึงแม้นักเรียนมากกว่า 95% จะเข้าเรียนในระดับประถมศึกษา แต่พบว่าในระดับมัธยมศึกษา มีเยาวชนอินเดียเพียง 40% เท่านั้นที่เข้าศึกษาต่อในเกรด 9-12 (Grades 9-12) หรือเทียบเท่ากับ ม.3-6 ในระบบการศึกษาไทย
นับตั้งแต่ปี 2000 ธนาคารโลกได้อุดหนุนทุน 2 พันล้านดอลล่าร์สหรัฐให้กับการศึกษาในประเทศอินเดีย เหตุผลบางประการที่ส่งผลให้คุณภาพการศึกษาในประเทศอินเดียมีระดับที่ต่ำอาจมาจากการขาดแคลนครู อาจารย์<ref>Sharath Jeevan & James Townsend, [http://www.ssireview.org/blog/entry/teachers_are_a_solution_to_education_reform_in_india Teachers: A Solution to Education Reform in India] Stanford Social Innovation Review (17 July 2013)</ref>

=== สาธารณสุข ===
{{บทความหลัก|สาธารณสุขในประเทศอินเดีย}}
{{โครง-ส่วน}}

== วัฒนธรรม ==
{{บทความหลัก|วัฒนธรรมอินเดีย}}
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอินเดียยาวนานกว่า 4,500 ปี<ref>{{Cite book|last=Educational|first=Educational Britannica|url=https://books.google.co.th/books?id=LiqloV4JnNUC&redir_esc=y|title=The Culture of India|last2=Publishing|first2=Britannica Educational|date=2010|publisher=Britannica Educational Publishing|isbn=978-1-61530-203-1|language=en}}</ref> ในช่วงสมัยเวท (1700 ปีก่อนคริสต์ศักราช - 500 ปีก่อนคริสต์ศักราช) ได้มีการวางรากฐานของปรัชญาฮินดู ตำนาน เทววิทยา และวรรณกรรม ตลอดจนความเชื่อและการปฏิบัติมากมายที่ยังคงมีอยู่ในปัจจุบัน เช่น ธรรมะ กรรม โยกา และโมกษะก่อตั้งขึ้น อินเดียมีชื่อเสียงในด้านความหลากหลายทางศาสนา โดยมีศาสนาฮินดู พุทธ ซิกข์ อิสลาม คริสต์ และศาสนาเชนเป็นศาสนาหลักของประเทศ{{sfn|Heehs|2002|pp = 2–5}} ศาสนาฮินดู ได้รับการหล่อหลอมโดยสำนักคิดทางประวัติศาสตร์หลายแห่ง รวมทั้งพวก[[อุปนิษัท]] โยคะสูตร ขบวนการภักติ และตามปรัชญาของพุทธศาสนา

=== ศิลปะ ===
{{หลัก|ศิลปะอินเดีย}}
ประเทศอินเดียเป็นดินแดนอารยธรรมแห่งหนึ่งของโลกที่มีการรับอารยธรรมจากภายนอกและเผยแพร่ อารยธรรมไปสู่ดินแดนต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเอเชียตะวันออกและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประเทศ อินเดียได้รับอิทธิพลทางศิลปะจากต่างประเทศ 4 ครั้ง คือ ครั้งที่หนึ่ง ประมาณ 2,000 ปีก่อนพุทธศักราช อิทธิ พลจากประเทศเมโสโปเตเมียได้แพร่เข้ามาในลุ่มแม่น้ำสินธุจนถึงประมาณ 1,000 ปีก่อนพุทธศักราช เมื่อชาว อารยันได้บุกรุกอินเดียและทำลายอารยธรรมดั้งเดิม ครั้งที่สอง ราวพุทธศตวรรษที่ 3 ได้รับอิทธิพลศิลปะจาก อิหร่านและกรีก ครั้งที่สามพุทธศตวรรษที่ 6 ได้รับอิทธิพลของกรีกและโรมันเข้ามามีบทบาทต่อศิลปอินเดีย และครั้งที่ 4 ช่วงพุทธศตวรรษที่ 16 กลุ่มมุสลิมซึ่งนับถือศาสนาอิสลามได้รุกรานอินเดียและพุทธศตวรรษที่ 21 ราชวงศ์ โมกุลเข้าครอบครองอินเดีย<ref>{{Cite web|title=ประวัติศาสตร์ศิลปะอินเดีย|url=https://www.baanjomyut.com/library_2/indian_art_history/index.html|website=www.baanjomyut.com}}</ref>

ศิลปะอินเดีย ประกอบด้วยศิลปะหลากหลายรูปแบบ ได้แก่ จิตรกรรม, ประติมากรรม, เครื่องปั้นดินเผาและ ศิลปะสิ่งทอ เช่น ผ้าไหมทอ<ref>{{Cite web|title=Art & Culture {{!}} National Portal of India|url=https://www.india.gov.in/topics/art-culture|website=www.india.gov.in}}</ref>

=== สถาปัตยกรรม ===
{{หลัก|สถาปัตยกรรมอินเดีย}}
สถาปัตยกรรมอินเดียเป็น[[สถาปัตยกรรม]]ที่มีรากฐานมาจาก[[ประวัติศาสตร์อินเดีย|ประวัติศาสตร์ของชาติอินเดีย]], [[วัฒนธรรมอินเดีย]] และ [[ศาสนาอินเดีย|ศาสนาที่เกิดขึ้นในอินเดีย]]<ref name=rjadhav>See Raj Jadhav, pp. 7–13 in ''Modern Traditions: Contemporary Architecture in India''.</ref> ซึ่งมีการวิวัฒนาการและพัฒนา แตกต่างกันไปตามยุคสมัยและพื้นที่ ได้รับอิทธิพลจากภายนอกในแต่ละยุค ทั้ง กรีก, โรมัน, เปอร์เซีย และ อิสลาม ผสมผสานกับสถาปัตยกรรมยุคก่อน ๆ และงานศิลปะที่อุทิศเพื่อกษัตริย์และศาสนาอย่างลงตัว

สถาปัตยกรรมอินเดียส่วนใหญ่รวมทั้งทัชมาฮาล ได้รับอิทธิพลจากสถาปัตยกรรมโมกุล และสถาปัตยกรรมอินเดียใต้ ผสมผสานประเพณีท้องถิ่นโบราณเข้ากับรูปแบบที่นำเข้ามา สถาปัตยกรรมพื้นถิ่นก็มีอิทธิพลในระดับภูมิภาคเช่นกัน ชาวอินเดียใช้รูปทรงเรขาคณิตที่แม่นยำและการจัดแนวทิศทางเพื่อสะท้อนให้เห็นโครงสร้างของจักรวาล เช่นการสร้างวัดฮินดู ทัชมาฮาลซึ่งสร้างขึ้นในเมืองอัคราระหว่างปี 1631 ถึง 1648 ตามคำสั่งของจักรพรรดิ ชาห์ จาฮัน เพื่อระลึกถึงพระชายา<ref>{{Cite web|title=Taj Mahal {{!}} Definition, Story, Site, History, & Facts|url=https://www.britannica.com/topic/Taj-Mahal|website=Encyclopedia Britannica|language=en}}</ref> ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกโดยองค์การยูเนสโกว่าเป็น "อัญมณีแห่งศิลปะมุสลิมในอินเดียและเป็นหนึ่งในผลงานชิ้นเอกของมรดกโลก"<ref>{{Cite web|date=2018-02-21|title=Taj Mahal UNESCO World Heritage Site|url=https://www.nationalgeographic.com/travel/world-heritage/article/taj-mahal|website=Travel|language=en}}</ref><ref>{{Cite web|title=Taj Mahal- The World Heritage Site of India {{!}} Taj Mahal Heritage Tour|url=https://www.tourmyindia.com/heritage/taj-mahal.html|website=www.tourmyindia.com}}</ref> สถาปัตยกรรมฟื้นฟูอินโด-ซาราเซนิก ซึ่งพัฒนาโดยชาวอังกฤษในปลายศตวรรษที่ 19 ได้นำสถาปัตยกรรมอินโด-อิสลามเข้ามาใช้และพบเห็นได้ในสถานที่สำคัญทั่วไป
{{wide image|Taj Mahal-10 (cropped).jpg|600px|align-cap=center|ทัชมาฮาล มรดกโลกที่มีชื่อเสียงมากที่สุดแห่งหนึ่ง สะท้อนให้เห็นรูปแบบสถาปัตยกรรมราชวงศ์โมกุล}}

=== การแต่งกาย ===
{{multiple image|perrow = 2|total_width = 500
| align = right
| image_style = border:none;
| image1 = India School.jpg
| caption1 = สตรีชาวอินเดียในชุดส่าหรี
| image2 = Water pump, Varanasi (15563170660) Cropped.jpg
| caption2 = การแต่งกายด้วย Dhoti ของเพศชายในเมืองพาราณาสี
}}
ชาวอินเดียโบราณ สตรีจะนิยมสวมเสื้อแขนยาว แบบชาวจีน แต่ตัวสั้น เพื่อเห็นหน้าท้อง นุ่งกางเกงขาลีบด้านใน ใช้ผ้าบาง ๆ เช่น ฝ้ายลินิน มัสลิน ห่มอีกชิ้น ถ้าเป็นชาวพื้นเมืองจะนุ่งส่าหรี หรือกระโปรงจีบดอกสีแดง หรือนุ่งกางเกงขาว ขายาว ส่วนชายนุ่งผ้าขาวใส่เสื้อแขนยาว ไว้หนวดเครา โพกผ้า

ชุดสตรีที่สวมใส่กันทั้งประเทศได้แก่ [[ส่าหรี]]<ref name="Tarlo1996-26">{{harvnb|Tarlo|1996|p=26}}</ref> มีลักษณะเป็นผ้าผืนเดียวยาว 6 หลา การสวมใส่ส่าหรีนั้นจะผูกรอบเอวและผูกเป็นปมที่ปลายด้านหนึ่ง พันรอบลำตัวส่วนล่าง และพันรอบไหล่ และในรูปแบบที่ทันสมัยกว่าส่าหรีจะถูกใช้เพื่อคลุมศีรษะ รวมถึงใบหน้า เป็นผ้าคลุม มักถูกนำมารวมกับกระโปรงชั้นและสอดเข้าไปในแถบเอวเพื่อการยึดที่ปลอดภัยยิ่งขึ้น นอกจากนี้ยังมักสวมใส่กับเสื้อเบลาส์อินเดียหรือ ''choli'' ซึ่งทำหน้าที่เป็นเสื้อผ้าส่วนบนของลำตัวซึ่งเป็นส่วนปลายของส่าหรี เพื่อปิดบังรูปร่างส่วนบนของร่างกาย<ref>{{Cite book|last=Pulin (editors)|first=Basu Kaushik Ray Ranjan And Nayak|url=https://books.google.co.th/books?id=NZvpAAAAMAAJ&redir_esc=y|title=India's Interaction with China, Central and West Asia|last2=Culture|first2=Project of History of Indian Science, Philosophy, and|date=2002|publisher=Oxford University Press|isbn=978-0-19-565789-0|language=en}}</ref>

สำหรับผู้ชาย จะสวมผ้าที่สั้นกว่า คือ ''dhoti'' ทำหน้าที่เป็นเสื้อผ้าท่อนล่าง ผูกรอบเอวและพันไว้ ทางตอนใต้ของอินเดียมักจะพันรอบลำตัวส่วนล่าง ส่วนบนซุกไว้ในขอบเอว ในภาคเหนือของอินเดีย ยังพันรอบขาแต่ละข้างอีก 1 ครั้ง ก่อนจะยกขึ้นผ่านขาไปซุกที่ด้านหลัง รูปแบบอื่น ๆ ของเครื่องแต่งกายแบบดั้งเดิมที่ไม่เกี่ยวข้องกับการเย็บหรือการตัดเย็บ ได้แก่ แชดดาร์ (ผ้าคลุมไหล่ที่สวมใส่โดยทั้งสองเพศเพื่อคลุมร่างกายส่วนบนในช่วงที่อากาศหนาวเย็น หรือผ้าคลุมศีรษะขนาดใหญ่ที่ผู้หญิงสวมใส่สำหรับครอบศีรษะหรือคลุมศีรษะ) และผ้าปากรี ( ผ้าโพกหัวหรือผ้าพันคอที่พันรอบศีรษะซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของประเพณีหรือเพื่อกันแสงแดดหรือความหนาวเย็น)

=== วรรณกรรม ===
{{บทความหลัก|วรรณกรรมของอินเดีย}}
[[ไฟล์:Ravi Varma-Ravana Sita Jathayu.jpg|thumb|upright|ภาพของ[[ราวณะ]]ตัวละครหลักฝ่ายอธรรมจากเรื่องรามายาณะ ขณะต่อสู้กับ[[สดายุ|นกสดายุ]]]]
วรรณกรรมอินเดียได้รับการยอมรับว่ามีอิทธิพลในแง่คำสอนและวัฒนธรรมต่อโลกมาอย่างยาวนาน และมักสะท้อนประเพณี วิถีชีวิต และความเชื่อทางศาสนาสอดแทรกลงไปในวรรณกรรมทุกเรื่อง<ref>https://kb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6885/17/Chapter3_62-98_.pdf</ref> โดยมีสองมหากาพย์วรรณกรรมที่มีชื่อเสียงที่สุดได้แก่ [[รามายณะ]] และ [[มหาภารตะ]]<ref>{{Cite web|title=Ramayana and Mahabharata: Stories, Similarities and Differences|url=https://www.asiahighlights.com/india/ramayana-vs-mahabharata|website=www.asiahighlights.com}}</ref><ref>{{Cite web|title=อินเดียก่อนพุทธกาล : ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนาในอินเดีย|url=http://www.dhammathai.org/buddhism/india/chapter01_6.php|website=www.dhammathai.org}}</ref> ที่ได้รับความนิยมไปทั่วโลก นอกจากนี้ยังมีคัมภีร์ปุราณะและเรื่องอื่นๆที่เกี่ยวกับธรรมเนียมกษัตริย์ การสืบราชวงศ์ตามแบบธรรมเนียมโบราณของราชวงศ์ในลุ่มแม่น้ำคงคา วรรณกรรมอินเดียยังมีอิทธิพลต่อชีวิตชาวบ้านในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้อีกด้วย โดยการเล่า การอ่านนิทานแสดงเกี่ยวกับเนื้อเรื่องในวรรณกรรม การแสดงหุ่นกระบอก หนัง ละครที่มีเนื้อหาของวรรณกรรม รามายณะ มหากาพย์ และชาดกในโอกาสต่างๆ

=== อาหาร ===
{{บทความหลัก|อาหารอินเดีย}}
[[ไฟล์:Rotis Around Palak Paneer.jpg|thumb|[[ปาลัก ปานีร์]]ทานคู่กับ[[โรตี]]แบบ[[อินเดียเหนือ]]]]
อาหารอินเดียเป็นชื่อเรียกโดยรวมของอาหารใน[[อนุทวีปอินเดีย]]ซึ่งมีลักษณะร่วมกันคือใช้[[เครื่องเทศ]] สมุนไพรและผักหรือผลไม้มาก มีทั้งพืชผักที่ปลูกในประเทศอินเดียและจากที่อื่นๆ นิยมกิน[[อาหารมังสวิรัติ]]ในสังคมชาวอินเดีย แต่ละครอบครัวจะเลือกสรรและพัฒนาเทคนิคการทำอาหารทำให้มีความแตกต่างกันไปในแต่ละภูมิภาค สะท้อนให้เห็นถึงความหลากหลายทางด้านประชากรในอินเดีย ความเชื่อของ[[ชาวฮินดู]]และวัฒนธรรมมีบทบาทต่อวิวัฒนาการของอาหารอินเดียมาก<ref>{{cite book|url=http://books.google.com/books?id=SRx9I2BqSpMC&pg=PA215&dq=indian+cuisine+diverse+most&lr=&as_brr=3&ei=kWvBSfziMpK8zATZtPHGBA&client=firefox-a#PPA215,M1 |title=Steward, the (pb) by hi |publisher=Books.google.com |date= |accessdate=2009-06-23 | isbn=9788125003250}}</ref> แต่ในภาพรวม อาหารทั่วประเทศอินเดียพัฒนามาจากปฏิสัมพันธ์ทางวัฒนธรรมทั้งจาก[[ชาวมองโกล]]และยุโรปทำให้ได้อาหารที่เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง<ref>{{cite news|url=http://www.thestar.com/article/300969|title=The story of desi cuisine: Timeless desi dishes|work=The Toronto Star|date=February 7, 2008|first=Sanjeev|last=Chandra|author2=Smita Chandra }}</ref><ref>{{cite web |url=http://www.indianfoodsco.com/Classes/CulinayHistory.htm |title=Indian food&nbsp;– Indian Cuisine&nbsp;– its history, origins and influences |publisher=Indianfoodsco.com |date= |accessdate=2009-06-23 |archive-date=2009-07-26 |archive-url=https://web.archive.org/web/20090726192545/http://www.indianfoodsco.com/Classes/CulinayHistory.htm |url-status=dead }}</ref> การค้าเครื่องเทศระหว่างอินเดียและยุโรปเป็นตัวเร่งหลักสำหรับการค้นพบอินเดียของชาวยุโรป<ref name="cornillez1999">{{cite web|url=http://www.english.emory.edu/Bahri/Spice_Trade.html|title=The History of the Spice Trade in India|author=Louise Marie M. Cornillez|date=Spring 1999}}</ref> ยุคอาณานิคมได้ทำให้เกิดการผสมผสานระหว่างอาหารยุโรปกับอาหารอินเดียเพิ่มความยืดหยุ่นทำให้เกิดความหลากหลายมากขึ้น <ref>{{cite web |url=http://www.mit.edu:8001/people/alycem/writing_indiancooking.html |title=Foreign Influences in Modern Indian Cooking |publisher=Mit.edu |date=1998-01-20 |accessdate=2009-06-23 |archive-date=2010-07-21 |archive-url=https://web.archive.org/web/20100721180338/http://www.mit.edu:8001/people/alycem/writing_indiancooking.html |url-status=dead }}</ref><ref>{{cite web|url=http://www.inmamaskitchen.com/Indian_Cooking/history_Indian_food_cooking.html |title=History of Indian Food and Cooking |publisher=Inmamaskitchen.com |date= |accessdate=2009-06-23}}</ref> อาหารอินเดียมีอิทธิพลต่ออาหารทั่วโลกโดยเฉพาะ[[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้]]และ[[หมู่เกาะแคริบเบียน]]<ref name="vegvoyages.com">{{cite web |url=http://www.vegvoyages.com/food.htm |title=Bot generated title -> |publisher=Veg Voyages |date= |accessdate=2009-06-23 |archive-date=2009-06-28 |archive-url=https://web.archive.org/web/20090628154725/http://www.vegvoyages.com/food.htm |url-status=dead }}</ref><ref>{{cite web |url=http://www.asiafood.org/features_dietary_culture4.cfm |title=Asia Food Features |publisher=Asiafood.org |date= |accessdate=2009-06-23 |archive-date=2001-05-25 |archive-url=https://web.archive.org/web/20010525095845/http://www.asiafood.org/features_dietary_culture4.cfm |url-status=dead }}</ref>

ด้วยความที่ประเทศอินเดียมีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 7 ของโลก และความหลากหลายของภูมิศาสตร์จึงส่งผลให้มีวิถีชีวิตและการกินอาหารนั้นแตกต่างที่อาจจะมาจากวัฒนธรรมท้องถิ่นและภูมิศาสตร์ เช่น ทางภาคเหนือของอินเดียมีความหนาวเย็น การเลี้ยงแกะจึงเป็นที่นิยมและนำมาเป็นอาหาร ในส่วนของคาร์โบไฮเดรตนั่นนิยมกินเป็น[[โรตี]] หรือจาปาตี

อาหารอินเดียมีจุดเด่นในการใช้[[เครื่องเทศ]]<ref>{{Cite web|title=Countries With the Spiciest Food|url=https://www.thetoptens.com/countries-with-spiciest-food/|website=TheTopTens|language=en}}</ref><ref>{{Cite web|title=11 Essential Spices for Indian Cooking|url=https://www.thekitchn.com/11-essential-spices-for-indian-cooking-223152|website=Kitchn|language=en}}</ref><ref>{{Cite web|date=2019-08-19|title=Masala Dabba {{!}} Indian Spice Box|url=https://ministryofcurry.com/essential-indian-spices/|website=Ministry of Curry|language=en-US}}</ref> ซึ่งมีประวัติมายาวนานกว่า 7,000 ปี<ref>{{Cite web|title=อาหารการกินในอินเดีย|url=https://www.thaifly.com/index.php?route=news/news&news_id=211|website=www.thaifly.com|language=en}}</ref> เครื่องเทศเหล่านี้รู้จักกันดีในนาม [[มาซาลา|มาซาล่า]] (Masala) เป็นเครื่องแกงชนิดแห้ง ใช้ในการประกอบอาหารหลายชนิดหรือแม้กระทั่งนำมาโรยข้าวรับประทาน ข้าวของชาวอินเดียจะมีลักษณะเรียวยาวกว่าปกติเรียกว่า ข้าวบัสมาตี (Basmati) มีรสชาติดี แต่ราคาค่อนข้างสูง ตามร้านอาหารจึงเห็นข้าวเหมือนที่รับประทานกันในประเทศอื่น ๆ ในเอเชีย ส่วนใหญ่ชาวอินเดียนิยมทานแผ่นแป้งสุกที่มีทั้งแบบปิ้ง แบบนาบกระทะ และแบบทอด จำพวก โรตี (Roti) จาปาตี (Chapati) พารัตทา (Paratha) นาน (Nan) และปาปัด (Papad) อนึ่ง อาหารของชาวอินเดียมีข้อแตกต่างระหว่างพื้นที่ โดยชาวเหนือนิยมใช้ เนยใส (Ghee) ในการทำอาหาร สีสันที่แดงจัดจ้านมาจากมะเขือเทศมากกว่าพริก รสชาติของอาหารเหนือจึงไม่เผ็ดร้อนมากนัก แต่จะหอมเครื่องเทศ ชาวเหนือโดยเฉพาะอย่างยิ่งในแถบแคชเมียร์จะนิยมใช้ แซฟฟรอน (Saffron) ซึ่งเป็นเครื่องเทศที่มีราคาสูงในการประกอบอาหาร ในขณะที่ชาวใต้นิยมใช้กะทิ และพริกในการปรุงอาหาร อาหารชาวใต้จึงค่อนข้างเผ็ด อย่างไรก็ตาม ชาวอินเดียโดยทั่วไปนิยมทานเผ็ด<ref>{{Cite news|date=2017-01-22|title=Spicy food leads to longer life|language=en-IN|work=The Hindu|url=https://www.thehindu.com/sci-tech/health/Spicy-food-leads-to-longer-life/article17077718.ece|access-date=2021-09-25|issn=0971-751X}}</ref><ref>{{Cite web|date=2019-05-08|title=7 countries that have the spiciest food in the world|url=https://timesofindia.indiatimes.com/life-style/food-news/7-countries-that-have-the-spiciest-food-in-the-world/photostory/69219574.cms|website=The Times of India|language=en}}</ref><ref>{{Cite web|last=Sharma|first=Kaustubha|date=2018-07-19|title=5 States That Offer The Spiciest Food In India|url=https://www.nativeplanet.com/travel-guide/five-states-that-offer-the-spiciest-food-in-india-005014.html|website=nativeplanet.com|language=en}}</ref>

=== กีฬา ===
{{บทความหลัก|อินเดียในกีฬาเครือจักรภพ|อินเดียในโอลิมปิก|อินเดียในเอเชียนเกมส์}}
[[ไฟล์:Kumble edited.jpg|thumb|คริกเกต เป็นกีฬาที่ได้รับความนิยมมากที่สุดในอินเดีย]]
[[คริกเกต]]เป็นกีฬาที่ได้รับความนิยมมากที่สุดในอินเดีย<ref>{{Cite book|last=Shores|first=Lori|url=https://books.google.co.th/books?id=CPQmbyiS-iEC&redir_esc=y|title=Teens in India|date=2007|publisher=Capstone|isbn=978-0-7565-2063-2|language=en}}</ref> การแข่งขันในประเทศที่สำคัญ ได้แก่ พรีเมียร์ลีกอินเดียซึ่งเป็นลีกคริกเก็ตที่มีผู้ชมมากที่สุดในโลกและอยู่ในอันดับ 6 ในบรรดาลีกกีฬาที่ได้รับความนิยมทั้งหมดจากแฟนกีฬาโลก<ref>{{Cite web|last=sidbreakball|title=Top 10 most watched sports leagues in the world|url=https://www.sportskeeda.com/slideshow/top-10-most-watched-sports-leagues-world|website=www.sportskeeda.com|language=en-us}}</ref> กีฬาพื้นเมืองดั้งเดิมหลายอย่างยังคงได้รับความนิยม เช่น กาบัดดีเปห์ลวานี และกิลลิดันดา ศิลปะการต่อสู้แบบเอเชียรูปแบบแรก ๆ เช่น กาลาริปปายัตตุ มุสตี ยุดธา สิลัมบัม และมาร์มาอดี มีต้นกำเนิดในอินเดีย และยังมีหมากรุกซึ่งมีถิ่นกำเนิดในอินเดีย<ref>{{Cite web|title=History of Chess in India - Chess Game in India - Origin of Chess in India|url=https://www.iloveindia.com/sports/chess/history.html|website=www.iloveindia.com}}</ref>กำลังกลับมาได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายด้วยจำนวนปรมาจารย์ชาวอินเดียที่เพิ่มสูงขึ้น

จากผลงานของทีมเทนนิสเดวิสคัพในรายการชิงแชมป์โลก Davis Cup และนักเทนนิสชาวอินเดียคนอื่น ๆ ที่พัฒนาฝีมือขึ้นมาในช่วงต้นทศวรรษ 2010 ทำให้เทนนิสเป็นที่นิยมมากขึ้นในประเทศ<ref>{{Cite news|last=sharma|first=By matthew futterman and amol|date=2009-09-12|title=India Aims for Center Court|language=en-US|work=Wall Street Journal|url=https://www.wsj.com/articles/SB10001424052970203440104574406704026883502|access-date=2021-09-25|issn=0099-9660}}</ref> อินเดียยังผลิตนักกีฬายิงปืนหลายคน และได้รับรางวัลหลายเหรียญจากการแข่งขันกีฬาโอลิมปิก การแข่งขันยิงปืนโลก และเกมเครือจักรภพ กีฬาอื่นๆ ที่ชาวอินเดียประสบความสำเร็จในระดับสากล ได้แก่ แบดมินตัน (ไซนา เนห์วาล และพี วี สินธุเป็นผู้เล่นแบดมินตันหญิงอันดับต้น ๆ ของโลก) มวย และมวยปล้ำ<ref>{{Cite web|last=Sep 12|first=Leslie Xavier / TNN /|last2=2010|last3=Ist|first3=21:44|title=Sushil Kumar wins gold in World Wrestling Championship {{!}} More sports News - Times of India|url=https://timesofindia.indiatimes.com/sports/more-sports/wrestling/sushil-kumar-wins-gold-in-world-wrestling-championship/articleshow/6542488.cms|website=The Times of India|language=en}}</ref> ฟุตบอลเป็นที่นิยมในรัฐเบงกอลตะวันตก กัว รัฐทมิฬนาฑู เกรละ และรัฐทางตะวันออกเฉียงเหนือ มีลีกการแข่งขันในประเทศคือ Indian Super League

=== วันหยุด ===
{{บทความหลัก|วันหยุดในประเทศอินเดีย}}
เนื่องจากประเทศอินเดียถือว่าเป็นประเทศหนึ่งที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรมสูง และมีการเฉลิมฉลองเทศกาลและวันหยุดต่าง ๆ อย่างหลากหลาย อย่างไรก็ตามในประเทศอินเดียมีวันหยุดราชการ (national holidays) แค่สามวันเท่านั้น คือ [[วันสาธารณรัฐ (ประเทศอินเดีย)|วันสาธารณรัฐ]] (Republic Day) 26 มกราคม, [[วันเอกราช (ประเทศอินเดีย)|วันเอกราช]] (Independence Day) 15 สิงหาคม และ [[คานธีชยันตี]] (Gandhi Jayanti) 2 ตุลาคม<ref>{{Cite web |url=http://publicholidays.in/ |title=National holidays |access-date=14 September 2015 |archive-url=https://web.archive.org/web/20150915080834/http://publicholidays.in/ |archive-date=15 September 2015 |url-status=live }}</ref><ref>{{Cite web |url=http://www.officeholidays.com/countries/india/ |title=National and Public holidays |access-date=14 September 2015 |archive-url=https://web.archive.org/web/20150912074949/http://www.officeholidays.com/countries/india/ |archive-date=12 September 2015 |url-status=live }}</ref>

รัฐแต่ละรัฐจะมีเทศกาลท้องถิ่นที่แตกต่างกันไปตามศาสนาและภาษาหลักของรัฐนั้น ๆ เทศกาลฮินดูที่เป็นที่นิยมสูง เช่น [[มกรสังกรานติ]], [[โปนคัล]] (Pongal), [[มหาศิวาราตรี]], [[โอนาม]] (Onam), [[ชันมาษตมี]] (Janmashtami), [[สรัสวตีบูชา]], [[ทีปวลี]], [[คเณศจตุรถี]], [[รักษาพันธาน]] (Raksha Bandhan), [[โฮลี|โหลี]], [[ทุรคาบูชา]], [[นวราตรี]] ส่วนเทศกาลของ[[ศาสนาเชน]] เช่น [[มหาวีระชนมะกัลยนกะ]] (Mahavir Janma Kalyanak) และ [[ปรยุษัน]] (Paryushan) เทศกาลของ[[ศาสนาซิกข์]] เช่น [[คุรุนานักชยันตี]] และ [[วิสาขี]] เทศกาลมุสลิม เช่น [[อีดิลฟิดรีย์]], [[อีดุลอัฎหา]], [[เมาลิด]] (Mawlid), [[มุฮัรรอม]] เทศกาลพุทธ เช่น [[อามเพฑกรชยันตี]], [[พุทธชยันตี]], [[วันธรรมจักรปราวตาน]] (Dhammachakra Pravartan Day) และ [[โลซาร์]] (Losar) เทศกาล[[โซโรอัสเตอร์]][[ปาร์ซี]] เช่น [[โนว์รูซ]] (Nowruz) และเทศกาลคริสต์ เช่น [[คริสต์สมภพ]] กับ [[ปัสกา]] เช่นเดียวกับวันหยุดสังเกตการณ์ เช่น[[ศุกร์ศักดิ์สิทธิ์]]

== ดูเพิ่ม ==
* [[อนุทวีปอินเดีย]]
* [[จักรวรรดิโมกุล]]
* [[การปกครองของบริษัทในอินเดีย]]
* [[ภาษาทางการของอินเดีย|ภาษาราชการของอินเดีย]]
* [[ศาสนาในประเทศอินเดีย]]
* [[พระเวท]]
* [[วรรณะ (ศาสนาฮินดู)|วรรณะ]]
* [[อาหารอินเดีย]]
* [[นเรนทระ โมที]]

== หมายเหตุ ==
{{notes|refs={{efn|name=remaining religions|นอกจากนี้ ยังมีสองกลุ่มสุดท้ายในสำมะโน ค.ศ. 2011 ที่บันทึกเป็น "นิกายและศาสนาอื่น ๆ" (0.65%) และ "ไม่กล่าวถึงศาสนา" (0.23%)}}|33em}}

== อ้างอิง ==
{{Reflist|30em}}

== บรรณานุกรม ==
'''ภาพรวม'''
{{refbegin|33em}}
* {{citation|title=India|work=[[The World Factbook]]|publisher=[[Central Intelligence Agency]]|url=https://www.cia.gov/the-world-factbook/countries/india/|access-date=10 July 2021|ref={{sfnRef|Central Intelligence Agency}}}}
* {{citation|date=December 2004|title=Country Profile: India|edition=5th|work=[[Library of Congress Country Studies]]|publisher=[[Library of Congress]] [[Federal Research Division]]|url=http://lcweb2.loc.gov/frd/cs/profiles/India.pdf|access-date=30 September 2011|ref={{sfnRef|Library of Congress|2004}}}}
* {{citation|last1=Heitzman|first1=J.|last2=Worden|first2=R. L.|date=August 1996|title=India: A Country Study|series=Area Handbook Series|publisher=[[Library of Congress]]|place=Washington, D.C.|isbn=978-0-8444-0833-0|url=https://archive.org/details/indiacountrystud0000unse}}
* {{citation|title=India|publisher=[[International Monetary Fund]]|url=http://www.imf.org/external/pubs/ft/weo/2011/02/weodata/weorept.aspx?sy=2009&ey=2016&scsm=1&ssd=1&sort=country&ds=.&br=1&c=534&s=NGDPD%2CNGDPDPC%2CPPPGDP%2CPPPPC%2CLP&grp=0&a=&pr1.x=88&pr1.y=9|access-date=14 October 2011|ref={{sfnRef|International Monetary Fund}}}}
* {{citation|title=Provisional Population Totals Paper 1 of 2011 India|publisher=Office of the Registrar General and Census Commissioner|url=http://censusindia.gov.in/2011-prov-results/prov_results_paper1_india.html|lay-url=http://www.censusindia.gov.in/2011-prov-results/indiaatglance.html|ref={{sfnRef|Provisional Population Totals Paper 1 of 2011 India}}}}
* Robinson, Francis, ed. ''The Cambridge Encyclopedia of India, Pakistan, Bangladesh, Sri Lanka, Nepal, Bhutan and the Maldives'' (1989)
* {{citation|date=24 January 1950|title=Constituent Assembly of India – Volume XII|work=Constituent Assembly of India: Debates|publisher=[[National Informatics Centre]], Government of India|url=http://parliamentofindia.nic.in/ls/debates/vol12p1.htm|access-date=17 July 2011|ref={{sfnRef|Constituent Assembly of India|1950}}|url-status=dead|archive-url=https://web.archive.org/web/20110721173243/http://parliamentofindia.nic.in/ls/debates/vol12p1.htm|archive-date=21 July 2011}}
{{refend}}

'''ศัพทมูลวิทยา'''
{{refbegin|33em}}
* {{citation|title=Hindustan|encyclopedia=[[Encyclopædia Britannica]]|url=http://www.britannica.com/EBchecked/topic/266465/Hindustan|access-date=17 July 2011|ref={{sfnRef|Encyclopædia Britannica}}}}
* {{citation |date=29 July 2008 |title=Constitution of India |publisher=[[Ministry of Law and Justice (India)|Ministry of Law and Justice]] |url=http://lawmin.nic.in/coi/coiason29july08.pdf |access-date=3 March 2012 |quote=Article 1(1): "India, that is Bharat, shall be a Union of States." |ref={{sfnRef|Ministry of Law and Justice 2008}} |url-status=dead |archive-url=https://web.archive.org/web/20140909230437/http://lawmin.nic.in/coi/coiason29july08.pdf |archive-date=9 September 2014 }}
{{refend}}

'''ประวัติศาสตร์'''
{{refbegin|33em}}
* {{citation|last1=Asher|first1=C. B.|last2=Talbot|first2=C|year=2008|title=India Before Europe|edition=1st|publisher=[[Cambridge University Press]]|isbn=978-0-521-51750-8}}
* {{citation|last1=Bose|first1=S.|last2=Jalal|first2=A.|author1-link=Sugata Bose|author2-link=Ayesha Jalal|year=2011|title=Modern South Asia: History, Culture, Political Economy|edition=3rd|publisher=[[Routledge]]|isbn=978-0-415-77942-5}}
* {{citation|last=Brown|first=J. M.|author-link=Judith M. Brown|year=1994|title=Modern India: The Origins of an Asian Democracy|edition=2nd|series=[[The Short Oxford History of the Modern World]]|publisher=[[Oxford University Press]]|isbn=978-0-19-873113-9|url=https://books.google.com/books?id=PaKdsF8WzbcC}}
* {{citation|last1=Coningham|first1=Robin|last2=Young|first2=Ruth|title=The Archaeology of South Asia: From the Indus to Asoka, c. 6500 BCE – 200 CE|url=https://books.google.com/books?id=hB5TCgAAQBAJ|year=2015|publisher=[[Cambridge University Press]]|isbn=978-0-521-84697-4}}
* {{citation|last=Copland|first=I.|year=2001|title=India 1885–1947: The Unmaking of an Empire|edition=1st|publisher=[[Longman]]|isbn=978-0-582-38173-5|url=https://books.google.com/books?id=Dw1uAAAAMAAJ}}
* {{citation|last1=Kulke|first1=H.|last2=Rothermund|first2=D.|author1-link=Hermann Kulke|year=2004|title=A History of India|series=4th|publisher=[[Routledge]]|isbn=978-0-415-32920-0|url=https://books.google.com/books?id=V73N8js5ZgAC}}
* {{citation|last=Ludden|first=D.|year=2002|title=India and South Asia: A Short History|publisher=[[One World Media|One World]]|isbn=978-1-85168-237-9}}
* {{citation|last1=Metcalf|first1=B.|last2=Metcalf|first2=T. R.|author1-link=Barbara Metcalf|author2-link=Thomas R. Metcalf|year=2006|title=A Concise History of Modern India|edition=2nd|publisher=[[Cambridge University Press]]|isbn=978-0-521-68225-1|url=https://books.google.com/books?id=iuESgYNYPl0C}}
* {{citation|last=Peers|first=D. M.|year=2006|title=India under Colonial Rule 1700–1885|edition=1st|publisher=[[Pearson Education|Pearson Longman]]|isbn=978-0-582-31738-3|url=https://books.google.com/books?id=6iNuAAAAMAAJ}}
* {{citation|last1=Petraglia|first1=Michael D. |last2=Allchin|first2=Bridget |author-link2=Bridget Allchin|editor=Michael Petraglia |editor2=Bridget Allchin|title=The Evolution and History of Human Populations in South Asia: Inter-disciplinary Studies in Archaeology, Biological Anthropology, Linguistics and Genetics|chapter-url=https://books.google.com/books?id=Qm9GfjNlnRwC&pg=PA6|year=2007|publisher=[[Springer Publishing]]|isbn=978-1-4020-5562-1| chapter=Human evolution and culture change in the Indian subcontinent}}
* {{citation|last=Possehl|first=G.|author-link=Gregory Possehl|title=The Indus Civilization: A Contemporary Perspective|year=2003|publisher=[[Rowman & Littlefield|Rowman Altamira]]|isbn=978-0-7591-0172-2|url=https://books.google.com/books?id=pmAuAsi4ePIC}}
* {{citation|last=Robb|first=P.|title=A History of India|year=2001|publisher=London: [[Palgrave Macmillan|Palgrave]]|isbn=978-0-333-69129-8|url-access=registration|url=https://archive.org/details/historyofindia00pete}}
* {{citation|last=Sarkar|first=S.|year=1983|title=Modern India: 1885–1947|place=Delhi|publisher=[[Macmillan Publishers|Macmillan India]]|isbn=978-0-333-90425-1|url=https://books.google.com/books?id=rVxuAAAAMAAJ}}
* {{citation|last=Singh|first=U.|author-link=Upinder Singh|title=A History of Ancient and Medieval India: From the Stone Age to the 12th Century|year=2009|publisher=[[Longman]]|location=Delhi|isbn=978-81-317-1677-9|url=https://books.google.com/books?id=H3lUIIYxWkEC}}
* {{citation|last=Sripati|first=V.|year=1998|title=Toward Fifty Years of Constitutionalism and Fundamental Rights in India: Looking Back to See Ahead (1950–2000)|journal=[[American University International Law Review]]|volume=14|issue=2|pages=413–496}}
* {{citation|last=Stein|first=B.|author-link=Burton Stein|year=1998|title=A History of India|edition=1st|publisher=[[Wiley-Blackwell]]|place=Oxford|isbn=978-0-631-20546-3|url=https://books.google.com/books?id=SXdVS0SzQSAC}}
* {{citation|last=Stein|first=B.|author-link=Burton Stein|editor-last=Arnold|editor-first=D.|year=2010|title=A History of India|edition=2nd|publisher=[[Wiley-Blackwell]]|place=Oxford|isbn=978-1-4051-9509-6|url=https://books.google.com/books?id=QY4zdTDwMAQC}}
* {{citation|year=2009 |title=Briefing Rooms: India |work=Economic Research Service |publisher=[[United States Department of Agriculture]] |url=http://www.ers.usda.gov/Briefing/India/ |ref={{sfnRef|United States Department of Agriculture}} |url-status=dead |archive-url=https://web.archive.org/web/20110520002800/http://www.ers.usda.gov/Briefing/India/ |archive-date=20 May 2011 }}
* {{citation|last=Witzel|first=Michael|author-link=Michael Witzel|editor=Gavin D. Flood|title=The Blackwell companion to Hinduism|chapter-url=https://books.google.com/books?id=qSfneQ0YYY8C|access-date=15 March 2012|year=2003|publisher=[[John Wiley & Sons]]|isbn=978-0-631-21535-6|chapter=Vedas and Upanișads}}
* {{citation|last=Wolpert|first=S.|author-link=Stanley Wolpert|year=2003|title=A New History of India|edition=7th|publisher=[[Oxford University Press]]|isbn=978-0-19-516678-1}}
{{refend}}

'''ภูมิศาสตร์'''
{{refbegin|33em}}
* {{citation|last1=Ali|first1=J. R.|last2=Aitchison|first2=J. C.|year=2005|title=Greater India|journal=[[Earth-Science Reviews]]|volume=72|issue=3–4|pages=170–173|doi=10.1016/j.earscirev.2005.07.005|bibcode=2005ESRv...72..169A}}
* {{citation|last=Chang|first=J. H.|year=1967|title=The Indian Summer Monsoon|periodical=[[Geographical Review]]|volume=57|issue=3|pages=373–396|doi=10.2307/212640|jstor=212640|publisher=American Geographical Society, Wiley}}
* {{citation|year=1988 |title=Forest (Conservation) Act, 1980 with Amendments Made in 1988 |publisher=Department of Environment and Forests, Government of the Andaman and Nicobar Islands |url=http://forest.and.nic.in/fca1980.pdf |access-date=25 July 2011 |ref={{sfnRef|Department of Environment and Forests|1988}} |url-status=dead |archive-url=https://web.archive.org/web/20110721163118/http://forest.and.nic.in/fca1980.pdf |archive-date=21 July 2011}}
* {{citation|last1=Dikshit|first1=K. R.|last2=Schwartzberg|first2=Joseph E.|author2-link=Joseph E. Schwartzberg|title=India: Land|url=http://www.britannica.com/EBchecked/topic/285248/India|encyclopedia=[[Encyclopædia Britannica]]|pages=1–29|ref={{sfnRef|Dikshit & Schwartzberg}}}}
* {{citation|last=Duff|first=D.|author-link = Donald Duff (geologist and author)|year=1993|title=Holmes Principles of Physical Geology|edition=4th|publisher=[[Routledge]]|isbn=978-0-7487-4381-0|url=https://books.google.com/books?id=E6vknq9SfIIC&pg=PT353}}
* {{citation|last1=Kumar|first1=V. S.|last2=Pathak|first2=K. C.|last3=Pednekar|first3=P.|last4=Raju|first4=N. S. N.|year=2006|title=Coastal processes along the Indian coastline|periodical=[[Current Science]]|volume=91|issue=4|pages=530–536|url=http://drs.nio.org/drs/bitstream/2264/350/1/Curr_Sci_91_530.pdf|url-status=dead|archive-url=https://web.archive.org/web/20090908141613/http://drs.nio.org/drs/bitstream/2264/350/1/Curr_Sci_91_530.pdf|archive-date=8 September 2009}}
* {{citation|year=2007|title=India Yearbook 2007|publisher=Publications Division, [[Ministry of Information and Broadcasting (India)|Ministry of Information and Broadcasting]], [[Government of India]]|place=New Delhi|isbn=978-81-230-1423-4|ref={{sfnRef|Ministry of Information and Broadcasting|2007}}}}
* {{citation|last=Posey|first=C. A.|date=1 November 1994|title=The Living Earth Book of Wind and Weather|publisher=[[Reader's Digest Association|Reader's Digest]]|isbn=978-0-89577-625-9|url=https://archive.org/details/livingearthbooko00pose}}
* {{citation|last1=Prakash|first1=B.|last2=Kumar|first2=S.|last3=Rao|first3=M. S.|last4=Giri|first4=S. C.|year=2000|title=Holocene Tectonic Movements and Stress Field in the Western Gangetic Plains|journal=[[Current Science]]|volume=79|issue=4|pages=438–449|url=http://www.ias.ac.in/currsci/aug252000/prakash.pdf|ref={{sfnRef|Prakash et al.|2000}}}}
{{refend}}

'''ความหลากหลายทางชีวภาพ'''
{{refbegin|33em}}
* {{citation |year=2012 |title=Animal Discoveries 2011: New Species and New Records |publisher=[[Zoological Survey of India]] |url=http://zsi.gov.in/right_menu/Animal_disc/Animal%20Discovery%202011.pdf |access-date=20 July 2012 |ref={{sfnRef|Zoological Survey of India|2012}} |url-status=dead |archive-url=https://web.archive.org/web/20130116214754/http://zsi.gov.in/right_menu/Animal_disc/Animal%20Discovery%202011.pdf |archive-date=16 January 2013 }}
* {{citation|last=Basak|first=R. K.|year=1983|title=Botanical Survey of India: Account of Its Establishment, Development, and Activities|publisher=India. Department of Environment|url=https://books.google.com/books?id=yXAVcgAACAAJ|access-date=20 July 2011}}
* {{citation|last1=Crame|first1=J. A.|last2=Owen|first2=A. W.|date=1 August 2002|title=Palaeobiogeography and Biodiversity Change: The Ordovician and Mesozoic–Cenozoic Radiations|series=Geological Society Special Publication|issue=194|publisher=[[Geological Society of London]]|isbn=978-1-86239-106-2|url=https://books.google.com/books?id=YswVy5YolYsC&pg=PA142|access-date=8 December 2011}}
* {{citation|last=Karanth|first=K. P.|year=2006|title=Out-of-India Gondwanan Origin of Some Tropical Asian Biota|journal=[[Current Science]]|volume=90|issue=6|pages=789–792|url=http://www.iisc.ernet.in/currsci/mar252006/789.pdf|access-date=18 May 2011|archive-date=2019-04-11|archive-url=https://web.archive.org/web/20190411223533/http://www.iisc.ernet.in/currsci/mar252006/789.pdf|url-status=dead}}
* {{citation|last=Mace|first=G. M.|date=March 1994|title=1994 IUCN Red List of Threatened Animals|work=World Conservation Monitoring Centre|publisher=[[International Union for Conservation of Nature]]|isbn=978-2-8317-0194-3|url=https://books.google.com/books?id=dyy0HilL9ecC&pg=PR4}}
* {{citation|title=Biosphere Reserves of India|work=C. P. R. Environment Education Centre|publisher=[[Ministry of Environment and Forests (India)|Ministry of Environment and Forests]], [[Government of India]]|url=http://www.cpreec.org/pubbook-biosphere.htm|access-date=17 July 2011|ref={{sfnRef|Ministry of Environment and Forests}}|archive-date=21 August 2011|archive-url=https://www.webcitation.org/6174UGghb?url=http://www.cpreec.org/pubbook-biosphere.htm|url-status=dead}}
* {{citation|date=9 September 1972|title=Indian Wildlife (Protection) Act, 1972|publisher=[[Ministry of Environment and Forests (India)|Ministry of Environment and Forests]], [[Government of India]]|url=http://envfor.nic.in/legis/wildlife/wildlife1.html|access-date=25 July 2011|ref={{sfnRef|Ministry of Environments and Forests 1972}}}}
* {{citation|last=Puri|first=S. K.|title=Biodiversity Profile of India|website=ces.iisc.ernet.in|url=http://ces.iisc.ernet.in/hpg/cesmg/indiabio.html|access-date=20 June 2007|archive-url=https://web.archive.org/web/20111121153614/http://ces.iisc.ernet.in/hpg/cesmg/indiabio.html|archive-date=21 November 2011|url-status=dead}}
* {{citation|date=4 June 2007|title=The List of Wetlands of International Importance|publisher=The Secretariat of the Convention on Wetlands|page=18|url=http://www.ramsar.org/sitelist.pdf|access-date=20 June 2007|archive-url=https://web.archive.org/web/20070621011113/http://www.ramsar.org/sitelist.pdf|archive-date=21 June 2007|ref={{sfnRef|Secretariat of the Convention on Wetlands}}}}
* {{citation|last=Tritsch|first=M. F.|year=2001|title=Wildlife of India|publisher=[[HarperCollins]]|place=London|isbn=978-0-00-711062-9|url=https://books.google.com/books?id=aNRQAAAACAAJ}}
{{refend}}

'''การเมือง'''
{{refbegin|33em}}
* {{cite journal|last1=Banerjee|first1=Sumanta|title=Civilising the BJP|journal=[[Economic & Political Weekly]]|date=22 July 2005|volume=40|issue=29|pages=3116–3119|jstor=4416896}}
* {{citation|last=Bhambhri|first=C. P.|year=1992|title=Politics in India, 1991–1992|publisher=Shipra|url=https://books.google.com/books?id=pf5HAAAAMAAJ|access-date=20 July 2011|isbn=978-81-85402-17-8}}
* {{citation|last1=Burnell|first1=P. J.|last2=Calvert|first2=P.|year=1999|title=The Resilience of Democracy: Persistent Practice, Durable Idea|edition=1st|publisher=[[Taylor & Francis]]|isbn=978-0-7146-8026-2|url=https://books.google.com/books?id=hv6TkML5_HAC&pg=PA271|access-date=20 July 2011}}
* {{citation|date=16 May 2009|title=Second UPA Win, A Crowning Glory for Sonia's Ascendancy|url=http://www.business-standard.com/india/news/second-upa-wincrowning-glory-for-sonia%5Cs-ascendancy/61892/on|access-date=13 June 2009|ref={{sfnRef|Business Standard|2009}}|newspaper=[[Business Standard]] India|last1=India|first1=Press Trust of}}
* {{citation|last=Chander|first=N. J.|year=2004|title=Coalition Politics: The Indian Experience|publisher=Concept Publishing Company|isbn=978-81-8069-092-1|url=https://books.google.com/books?id=G_QtMGIczhMC&pg=PA117|access-date=20 July 2011}}
* {{citation|last1=Dunleavy|first1=P.|last2=Diwakar|first2=R.|last3=Dunleavy|first3=C.|year=2007|title=The Effective Space of Party Competition|issue=5|publisher=[[London School of Economics]] and Political Science|url=http://www2.lse.ac.uk/government/research/resgroups/PSPE/pdf/PSPE_WP5_07.pdf|access-date=27 September 2011|archive-date=2007-10-28|archive-url=https://web.archive.org/web/20071028005708/http://www.lse.ac.uk/collections/government/PSPE/pdf/PSPE_WP5_07.pdf|url-status=dead}}
* {{citation|last=Dutt|first=S.|year=1998|title=Identities and the Indian State: An Overview|journal=[[Third World Quarterly]]|volume=19|issue=3|pages=411–434|doi=10.1080/01436599814325}}
* {{citation|last=Echeverri-Gent|first=J.|editor-last=Ayres|editor-first=A.|editor2-last=Oldenburg|editor2-first=P.|date=January 2002|title=Quickening the Pace of Change|chapter=Politics in India's Decentred Polity|series=India Briefing|publisher=[[M. E. Sharpe]]|place=London|pages=[https://archive.org/details/indiabriefingqui0000unse/page/19 19–53]|isbn=978-0-7656-0812-3|chapter-url=https://archive.org/details/indiabriefingqui0000unse/page/19}}
* {{citation|date=14 March 2009|title=Current Recognised Parties|work=[[Election Commission of India]]|url=http://eci.nic.in/eci_main/ElectoralLaws/OrdersNotifications/Symbols_Sep_2009.pdf|access-date=5 July 2010|ref={{sfnRef|Election Commission of India}}}}
* {{citation|last=Gledhill|first=A.|year=1970|title=The Republic of India: The Development of its Laws and Constitution|publisher=[[Greenwood Publishing Group|Greenwood]]|isbn=978-0-8371-2813-9|url=https://books.google.com/books?id=cHAjPQAACAAJ|access-date=21 July 2011}}
* {{cite news |first=Samar |last=Halarnkar |title=Narendra Modi makes his move |work=[[BBC News]] |date=13 June 2012 |url=https://www.bbc.co.uk/news/world-asia-india-18352532 |quote=The right-wing Hindu nationalist Bharatiya Janata Party (BJP), India's primary opposition party |ref={{harvid|BBC|2012}} }}
* {{cite journal|last1=Malik|first1=Yogendra K.|last2=Singh|first2=V. B.|title=Bharatiya Janata Party: An Alternative to the Congress (I)?|journal=[[Asian Survey]]|date=April 1992|volume=32|issue=4|pages=318–336|jstor=2645149|doi=10.2307/2645149}}
* {{citation|last=Mathew|first=K. M.|year=2003|title=Manorama Yearbook|publisher=[[Malayala Manorama]]|isbn=978-81-900461-8-3|url=https://books.google.com/books?id=jDaLQwAACAAJ|access-date=21 July 2011}}
* {{citation|title=National Symbols|work=Know India|publisher=[[National Informatics Centre]], [[Government of India]]|url=https://www.india.gov.in/india-glance/national-symbols|access-date=18 April 2021|ref={{sfnRef|National Informatics Centre|2005}}|archive-date=18 April 2021|archive-url=https://web.archive.org/web/20210418054958/https://www.india.gov.in/india-glance/national-symbols|url-status=live}}
* {{citation|last=Neuborne|first=B.|year=2003|title=The Supreme Court of India|journal=International Journal of Constitutional Law|volume=1|issue=3|pages=476–510|doi=10.1093/icon/1.3.476|doi-access=free}}
* {{citation|last=Pylee|first=M. V.|year=2003|title=Constitutional Government in India|chapter=The Longest Constitutional Document|edition=2nd|publisher=[[S. Chand]]|isbn=978-81-219-2203-6|chapter-url=https://books.google.com/books?id=veDUJCjr5U4C|ref={{sfnRef|Pylee|2003|a}}}}
* {{citation|last=Pylee|first=M. V.|year=2003|title=Constitutional Government in India|chapter=The Union Judiciary: The Supreme Court|edition=2nd|publisher=[[S. Chand]]|isbn=978-81-219-2203-6|chapter-url=https://books.google.com/books?id=veDUJCjr5U4C&pg=PA314|access-date=2 November 2007|ref={{sfnRef|Pylee|2003|b}}}}
* {{citation|last=Sarkar|first=N. I.|title=Sonia Gandhi: Tryst with India|year=2007|publisher=[[Atlantic Books|Atlantic]]|isbn=978-81-269-0744-1<!--8126907444-->|url=https://books.google.com/books?id=26flsWUf8fkC|access-date=20 July 2011}}
* {{citation|last=Sharma|first=R.|year=1950|title=Cabinet Government in India|journal=[[Parliamentary Affairs]]|volume=4|issue=1|pages=116–126|doi=10.1093/oxfordjournals.pa.a052755}}
* {{citation|last=Sharma|first=B. K.|date=August 2007|title=Introduction to the Constitution of India|edition=4th|publisher=[[Prentice Hall]]|isbn=978-81-203-3246-1<!--8120332466-->|url=https://books.google.com/books?id=srDytmFE3KMC&pg=PA161}}
* {{citation|last=Sinha|first=A.|year=2004|title=The Changing Political Economy of Federalism in India|journal=[[India Review]]|volume=3|issue=1|pages=25–63|doi=10.1080/14736480490443085|s2cid=154543286}}
* {{citation|title=World's Largest Democracy to Reach One Billion Persons on Independence Day|publisher=[[United Nations Department of Economic and Social Affairs|United Nations]] [[Commission on Population and Development|Population Division]]|url=https://www.un.org/esa/population/pubsarchive/india/ind1bil.htm|access-date=5 October 2011|ref={{sfnRef|United Nations Population Division}}}}
* {{citation|last=Wheare|first=K. C.|date=June 1980|title=Federal Government|edition=4th|publisher=[[Oxford University Press]]|isbn=978-0-313-22702-8|url=https://archive.org/details/federalgovernmen00whearich}}
{{refend}}

'''ความสัมพันธ์ต่างประเทศและทหาร'''
{{refbegin|33em}}
* {{citation|last=Alford|first=P.|date=7 July 2008|title=G8 Plus 5 Equals Power Shift|publisher=[[The Australian]]|url=http://www.theaustralian.com.au/news/g8-plus-5-equals-power-shift/story-e6frg6t6-1111116838759|access-date=21 November 2009}}
* {{citation|last=Behera|first=L. K.|date=7 March 2011|title=Budgeting for India's Defence: An Analysis of Defence Budget 2011–2012|publisher=[[Institute for Defence Studies and Analyses]]|url=http://www.idsa.in/idsacomments/BudgetingforIndiasDefence2010-11_lkbehera_030310.html|access-date=4 April 2011}}
* {{citation|last=Behera|first=L. K.|date=20 March 2012|title=India's Defence Budget 2012–13|publisher=[[Institute for Defence Studies and Analyses]]|url=http://www.defencereviewasia.com/articles/169/India-s-Defence-Budget-2012-13|access-date=26 March 2012|archive-url=https://web.archive.org/web/20121215014403/http://www.defencereviewasia.com/articles/169/India-s-Defence-Budget-2012-13|archive-date=15 December 2012|url-status=dead}}
* {{citation|date=11 February 2009|title=Russia Agrees India Nuclear Deal|work=[[BBC News]]|publisher=[[BBC|British Broadcasting Corporation]]|url=http://news.bbc.co.uk/2/hi/south_asia/7883223.stm|access-date=22 August 2010|ref={{sfnRef|British Broadcasting Corporation 2009}}}}
* {{citation|last=Curry|first=B.|date=27 June 2010|title=Canada Signs Nuclear Deal with India|work=[[The Globe and Mail]]|url=https://www.theglobeandmail.com/news/world/g8-g20/news/canada-signs-nuclear-deal-with-india/article1620801/|access-date=13 May 2011}}
* {{citation|date=8 April 2008|title=India, Europe Strategic Relations|work=Europa: Summaries of EU Legislation|publisher=[[European Union]]|url=http://europa.eu/legislation_summaries/external_relations/relations_with_third_countries/asia/r14100_en.htm|access-date=14 January 2011|ref={{sfnRef|Europa 2008}}}}
* {{citation|last=Ghosh|first=A.|title=India's Foreign Policy|date=1 September 2009|publisher=[[Pearson PLC|Pearson]]|isbn=978-81-317-1025-8|url=https://books.google.com/books?id=Y32u4JMroQgC}}
* {{citation|last=Gilbert|first=M.|date=17 December 2002|title=A History of the Twentieth Century|publisher=[[William Morrow and Company|William Morrow]]|isbn=978-0-06-050594-3|url=https://books.google.com/books?id=jhwY1j8Ao3kC&pg=PA486|access-date=22 July 2011}}
* {{citation|last=Kumar|first=A. V.|date=1 May 2010|title=Reforming the NPT to Include India|work=[[Bulletin of the Atomic Scientists]]|url=http://thebulletin.org/reforming-npt-include-india|access-date=1 November 2010}}
* {{citation|last=Miglani|first=S.|date=28 February 2011|title=With An Eye on China, India Steps Up Defence Spending|newspaper=[[Reuters]]|url=https://www.reuters.com/article/india-budget-military-idUSSGE71R02Y20110228|access-date=6 July 2011|archive-date=2 May 2011|archive-url=https://web.archive.org/web/20110502153348/http://www.reuters.com/article/2011/02/28/india-budget-military-idUSSGE71R02Y20110228|url-status=live}}
* {{citation|last=Nair|first=V. K.|year=2007|title=No More Ambiguity: India's Nuclear Policy|website=afsa.org|url=http://www.afsa.org/fsj/oct02/nair.pdf|access-date=7 June 2007|archive-url=https://web.archive.org/web/20070927041401/http://www.afsa.org/fsj/oct02/nair.pdf|archive-date=27 September 2007}}
* {{citation|last=Pandit|first=R.|date=27 July 2009|title=N-Submarine to Give India Crucial Third Leg of Nuke Triad|newspaper=[[The Times of India]]|url=http://articles.timesofindia.indiatimes.com/2009-07-27/india/28212143_1_nuclear-powered-submarine-ins-arihant-nuclear-submarine|archive-url=https://web.archive.org/web/20110811144548/http://articles.timesofindia.indiatimes.com/2009-07-27/india/28212143_1_nuclear-powered-submarine-ins-arihant-nuclear-submarine|url-status=dead|archive-date=11 August 2011|access-date=10 March 2010}}
* {{citation|last=Perkovich|first=G.|date=5 November 2001|title=India's Nuclear Bomb: The Impact on Global Proliferation|publisher=[[University of California Press]]|isbn=978-0-520-23210-5|url=https://books.google.com/books?id=UDA9dUryS8EC|access-date=22 July 2011}}
* {{citation|date=25 January 2008|title=India, France Agree on Civil Nuclear Cooperation|publisher=[[Rediff.com|Rediff]]|url=http://www.rediff.com/news/2008/jan/25france.htm|access-date=22 August 2010|ref={{sfnRef|Rediff 2008 a}}}}
* {{citation|date=13 February 2010|title=UK, India Sign Civil Nuclear Accord|newspaper=[[Reuters]]|url=https://www.reuters.com/article/us-india-britain-nuclear-idUSTRE61C21E20100213?type=politicsNews|access-date=22 August 2010|ref={{sfnRef|Reuters|2010}}|archive-date=12 May 2012|archive-url=https://web.archive.org/web/20120512181522/http://www.reuters.com/article/2010/02/13/us-india-britain-nuclear-idUSTRE61C21E20100213?type=politicsNews|url-status=live}}
* {{citation|last=Rothermund|first=D.|date=17 October 2000|title=The Routledge Companion to Decolonization|edition=1st|series=Routledge Companions to History|publisher=[[Routledge]]|url=https://books.google.com/books?id=ez37H0UPt_YC|isbn=978-0-415-35632-9}}
* {{citation|last=Sharma|first=S. R.|date=1 January 1999|title=India–USSR Relations 1947–1971: From Ambivalence to Steadfastness|volume=1|publisher=Discovery|isbn=978-81-7141-486-4<!--8171414869-->|url=https://books.google.com/books?id=vTEge1JWK8oC}}
* {{citation|last=Shukla|first=A.|date=5 March 2011|title=China Matches India's Expansion in Military Spending|url=http://www.business-standard.com/india/news/china-matches-india%5Cs-expansion-in-military-spending/427365/|access-date=6 July 2011|newspaper=[[Business Standard]] India}}
* {{citation|last1=Sisodia|first1=N. S.|last2=Naidu|first2=G. V. C.|year=2005|title=Changing Security Dynamic in Eastern Asia: Focus on Japan|publisher=Promilla|isbn=978-81-86019-52-8<!--8186019529-->|url=https://books.google.com/books?id=jSgfLG3Ib9wC}}
* {{citation|date=8 August 2008|title=SIPRI Yearbook 2008: Armaments, Disarmament, and International Security|work=Stockholm International Peace Research Institute|publisher=[[Oxford University Press]]|isbn=978-0-19-954895-8|url=https://books.google.com/books?id=EAyQ9KCJE2gC&pg=PA178|access-date=22 July 2011|ref={{sfnRef|Stockholm International Peace Research Institute 2008}}}}
* {{citation|date=19 March 2012|title=Rise in international arms transfers is driven by Asian demand, says SIPRI|work=Stockholm International Peace Research Initiative|url=http://www.sipri.org/media/pressreleases/2012/rise-in-international-arms-transfers-is-driven-by-asian-demand-says-sipri|access-date=5 April 2016|ref={{sfnRef|Stockholm International Peace Research Initiative 2012}}}}
* {{citation|date=11 October 2008|title=India, US Sign 123 Agreement|newspaper=[[The Times of India]]|url=http://articles.timesofindia.indiatimes.com/2008-10-11/india/27905286_1_indian-nuclear-market-sign-landmark-civil-nuclear-field|archive-url=https://web.archive.org/web/20111107021602/http://articles.timesofindia.indiatimes.com/2008-10-11/india/27905286_1_indian-nuclear-market-sign-landmark-civil-nuclear-field|url-status=dead|archive-date=7 November 2011|access-date=21 July 2011|ref={{sfnRef|The Times of India 2008}}}}
{{refend}}

'''เศรษฐกิจ'''
{{refbegin|33em}}
* {{citation|last=Alamgir|first=J.|date=24 December 2008|title=India's Open-Economy Policy: Globalism, Rivalry, Continuity|publisher=[[Taylor & Francis]]|isbn=978-0-415-77684-4|url=https://books.google.com/books?id=JL7QfWJ5Yk0C|access-date=23 July 2011}}
* {{citation|last=Bonner|first=B|date=20 March 2010|title=Make Way, World. India Is on the Move|journal=[[Christian Science Monitor]]|url=http://www.csmonitor.com/Business/The-Daily-Reckoning/2010/0320/Make-way-world.-India-is-on-the-move|access-date=23 July 2011}}
* {{citation|last1=Farrell|first1=D.|last2=Beinhocker|first2=E.|date=19 May 2007|title=Next Big Spenders: India's Middle Class|publisher=[[McKinsey & Company]]|url=http://www.mckinsey.com/Insights/MGI/In_the_news/Next_big_spenders_Indian_middle_class|access-date=17 September 2011|archive-date=5 December 2011|archive-url=https://web.archive.org/web/20111205035707/http://www.mckinsey.com/Insights/MGI/In_the_news/Next_big_spenders_Indian_middle_class|url-status=dead}}
* {{citation|last=Gargan|first=E. A.|date=15 August 1992|title=India Stumbles in Rush to a Free Market Economy|newspaper=[[The New York Times]]|url=https://www.nytimes.com/1992/08/15/world/india-stumbles-in-rush-to-a-free-market-economy.html|access-date=22 July 2011}}
* {{citation|date=January 2011|title=The World in 2050: The Accelerating Shift of Global Economic Power: Challenges and Opportunities|first1=John|last1=Hawksworth|first2=Anmol|last2=Tiwari|publisher=[[PricewaterhouseCoopers]]|url=http://www.pwc.com/en_GX/gx/psrc/pdf/world_in_2050_jan2011.pdf|access-date=23 July 2011}}
* {{citation|last1=Nayak|first1=P. B.|last2=Goldar|first2=B.|last3=Agrawal|first3=P.|date=10 November 2010|title=India's Economy and Growth: Essays in Honour of V. K. R. V. Rao|publisher=[[SAGE Publications]]|url=https://books.google.com/books?id=N1Ho2SGXUHwC|isbn=978-81-321-0452-0}}
* {{citation|last1=Pal|first1=P.|last2=Ghosh|first2=J|title=Inequality in India: A Survey of Recent Trends|work=[[United Nations Department of Economic and Social Affairs|Economic and Social Affairs]]: DESA Working Paper No. 45|date=July 2007|publisher=[[United Nations]]|url=https://www.un.org/esa/desa/papers/2007/wp45_2007.pdf|access-date=23 July 2011}}
* {{citation|last=Schwab|first=K.|year=2010|title=The Global Competitiveness Report 2010–2011|publisher=[[World Economic Forum]]|url=http://www3.weforum.org/docs/WEF_GlobalCompetitivenessReport_2010-11.pdf|access-date=10 May 2011}}
* {{citation|last=Sheth|first=N.|date=28 May 2009|title=Outlook for Outsourcing Spending Brightens|work=[[The Wall Street Journal]]|url=https://www.wsj.com/articles/SB124344190542659025#articleTabs_comments%3D%26articleTabs%3Darticle|access-date=3 October 2010}}
* {{citation|last=Yep|first=E.|date=27 September 2011|title=ReNew Wind Power Gets $201 Million Goldman Investment|url=https://www.wsj.com/articles/SB10001424052970204422404576595972728958728|access-date=27 September 2011|newspaper=[[The Wall Street Journal]]}}
* {{citation|date=9 April 2010|title=India Second Fastest Growing Auto Market After China|work=[[Business Line]]|url=http://www.thehindubusinessline.com/todays-paper/article988689.ece|access-date=23 July 2011|ref={{sfnRef|Business Line 2010}}}}
* {{citation|date=8 October 2011|title=India's Economy: Not Just Rubies and Polyester Shirts|newspaper=[[The Economist]]|url=http://www.economist.com/node/21531527|access-date=9 October 2011|ref={{sfnRef|Economist 2011}}}}
* {{citation|date=13 October 2009|title=Indian Car Exports Surge 36%|work=[[Express India]]|url=http://expressindia.indianexpress.com/karnatakapoll08/story_page.php?id=528633|access-date=5 April 2016|ref={{sfnRef|Express India 2009}}}}
* {{citation |date=October 2007 |title=Economic Survey of India 2007: Policy Brief |publisher=[[Organisation for Economic Co-operation and Development]] |url=http://www.oecd.org/dataoecd/17/52/39452196.pdf |access-date=22 July 2011 |ref={{sfnRef|Organisation for Economic Co-operation and Development 2007}} |url-status=dead |archive-url=https://web.archive.org/web/20110606112149/http://www.oecd.org/dataoecd/17/52/39452196.pdf |archive-date=6 June 2011 }}
* {{citation|date=April 2011|title=Report for Selected Countries and Subjects: Afghanistan, Bangladesh, India, Indonesia, Malaysia, Nepal, Pakistan, Philippines, Sri Lanka, Thailand|publisher=[[International Monetary Fund]]|url=http://www.imf.org/external/pubs/ft/weo/2011/01/weodata/weorept.aspx?pr.x=25&pr.y=15&sy=1991&ey=2012&scsm=1&ssd=1&sort=country&ds=.&br=1&c=512%2C558%2C513%2C564%2C566%2C524%2C534%2C578%2C536%2C548&s=NGDPDPC&grp=0&a=|access-date=23 July 2011|ref={{sfnRef|International Monetary Fund 2011b}}}}
* {{citation |date=6 April 2011 |title=Information Note to the Press (Press Release No.29 /2011) |publisher=[[Telecom Regulatory Authority of India]] |url=http://www.trai.gov.in/WriteReadData/trai/upload/PressReleases/816/Press_release_feb%20-11.pdf |archive-url=https://web.archive.org/web/20110516025431/http://www.trai.gov.in/WriteReadData/trai/upload/PressReleases/816/Press_release_feb%20-11.pdf |archive-date=16 May 2011 |access-date=23 July 2011 |ref={{sfnRef|Telecom Regulatory Authority 2011}} |url-status=dead }}
* {{citation|title=India: Undernourished Children – A Call for Reform and Action|publisher=[[World Bank]]|url=http://web.worldbank.org/WBSITE/EXTERNAL/COUNTRIES/SOUTHASIAEXT/0,,contentMDK:20916955~pagePK:146736~piPK:146830~theSitePK:223547,00.html|access-date=23 July 2011|url-status=dead|archive-url=https://web.archive.org/web/20120507071806/http://web.worldbank.org/WBSITE/EXTERNAL/COUNTRIES/SOUTHASIAEXT/0,,contentMDK:20916955~pagePK:146736~piPK:146830~theSitePK:223547,00.html|archive-date=7 May 2012}}
* {{citation|date=26 March 2010|title=Trade to Expand by 9.5% in 2010 After a Dismal 2009, WTO Reports|publisher=[[World Trade Organization]]|url=http://www.wto.org/english/news_e/pres10_e/pr598_e.htm|access-date=23 July 2011|ref={{sfnRef|World Trade Organization 2010}}}}
* {{citation|year=2011–2012|title=Indian IT-BPO Industry|publisher=[[NASSCOM]]|url=http://www.nasscom.org/indian-itbpo-industry|access-date=22 June 2012|ref={{sfnRef|Nasscom 2011–2012}}|url-status=dead|archive-url=https://web.archive.org/web/20120509061653/http://nasscom.org/indian-itbpo-industry|archive-date=9 May 2012}}
* {{citation |year=1995 |title=Understanding th WTO: The Organization Members and Observers |publisher=[[WTO]] |url=http://www.wto.org/english/thewto_e/whatis_e/tif_e/org6_e.htm |access-date=23 June 2012 |ref={{sfnRef|WTO 1995}} |archive-url=https://web.archive.org/web/20091229021759/http://www.wto.org/english/thewto_e/whatis_e/tif_e/org6_e.htm |archive-date=29 December 2009 }}
* {{citation|date=June 2011|title=World Economic Outlook Update|publisher=[[International Monetary Fund]]|url=http://www.imf.org/external/pubs/ft/weo/2011/01/weodata/weorept.aspx?sy=2009&ey=2016&scsm=1&ssd=1&sort=country&ds=.&br=1&c=512%2C548%2C558%2C564%2C566%2C524%2C578%2C534%2C536&s=NGDPDPC&grp=0&a=&pr.x=60&pr.y=17|access-date=22 July 2011|ref={{sfnRef|International Monetary Fund 2011a}}}}
{{refend}}

'''ประชากรศาสตร์'''
{{refbegin|33em}}
* {{citation|last=Chandramouli|first=C.|date=15 July 2011|title=Rural Urban Distribution of Population|publisher=[[Ministry of Home Affairs (India)]]|url=http://censusindia.gov.in/2011-prov-results/paper2/data_files/india/Rural_Urban_2011.pdf|access-date=24 January 2015}}
* {{citation|last1=Dev|first1=S. M.|last2=Rao|first2=N. C.|year=2009|title=India: Perspectives on Equitable Development|publisher=Academic Foundation|isbn=978-81-7188-685-2|url=https://books.google.com/books?id=adhKjRoTjcIC}}
* {{citation|last=Dharwadker|first=A.|editor1-last=Canning|editor1-first=C. M.|editor2-last=Postlewait|editor2-first=T.|date=28 October 2010|title=Representing the Past: Essays in Performance Historiography|chapter=Representing India's Pasts: Time, Culture, and Problems of Performance Historiography|publisher=[[University of Iowa Press]]|isbn=978-1-58729-905-6|chapter-url=https://books.google.com/books?id=Rgf0gbml2ocC|access-date=24 July 2011}}
* {{citation|last1=Drèze|first1=J.|last2=Goyal|first2=A.|editor-last=Baru|editor-first=R. V.|date=9 February 2009|title=School Health Services in India: The Social and Economic Contexts|chapter=The Future of Mid-Day Meals|publisher=[[SAGE Publications]]|isbn=978-81-7829-873-3|chapter-url=https://books.google.com/books?id=aQ39RO9OET4C&pg=PA46|ref={{sfnRef|Drèze|Goyal|2008}}}}
* {{citation|last1=Dyson|first1=T.|last2=Visaria|first2=P.|editor-last=Dyson|editor-first=T.|editor2-last=Casses|editor2-first=R.|editor3-last=Visaria|editor3-first=L.|date=7 July 2005|title=Twenty-First Century India: Population, Economy, Human Development, and the Environment|chapter=Migration and Urbanisation: Retrospect and Prospects|publisher=[[Oxford University Press]]|isbn=978-0-19-928382-8|chapter-url=https://books.google.com/books?id=bqU9T5c0wlYC|url-access=registration|url=https://archive.org/details/twentyfirstcentu0000unse_v0c4}}
* {{citation|last=Garg|first=S. C.|date=19 April 2005|title=Mobilizing Urban Infrastructure Finance in India|publisher=[[World Bank]]|url=http://siteresources.worldbank.org/INTMF/Resources/339747-1105651852282/Garg.pdf|access-date=27 January 2010|archive-url=https://web.archive.org/web/20090824063911/http://siteresources.worldbank.org/INTMF/Resources/339747-1105651852282/Garg.pdf|archive-date=24 August 2009|url-status=dead}}
* {{citation|last=Mallikarjun|first=B|date=November 2004|title=Fifty Years of Language Planning for Modern Hindi – The Official Language of India|journal=Language in India|volume=4|issue=11|issn=1930-2940|url=http://www.languageinindia.com/nov2004/mallikarjunmalaysiapaper1.html|access-date=24 July 2011}}
* {{citation|last=Ottenheimer|first=H. J.|year=2008|title=The Anthropology of Language: An Introduction to Linguistic Anthropology|publisher=[[Cengage]]|isbn=978-0-495-50884-7|url=https://books.google.com/books?id=d4QHsORbZs4C}}
* {{citation|last=Ratna|first=U.|editor-last=Dutt|editor-first=A. K.|editor2-last=Thakur|editor2-first=B|year=2007|title=City, Society, and Planning|chapter=Interface Between Urban and Rural Development in India|volume=1|publisher=Concept|isbn=978-81-8069-459-2|chapter-url=https://books.google.com/books?id=QDmZeW1H37IC}}
* {{citation|last=Rorabacher|first=J. A.|year=2010|title=Hunger and Poverty in South Asia|publisher=Gyan|isbn=978-81-212-1027-0|url=https://books.google.com/books?id=u6hriMcSsE4C}}
* {{citation|date=27 April 1960 |title=Notification No. 2/8/60-O.L |publisher=[[Ministry of Home Affairs (India)|Ministry of Home Affairs]], [[Government of India]] |url=http://rajbhasha.nic.in/UI/pagecontent.aspx?pc=Mzc%3d |access-date=13 May 2011 |ref={{sfnRef|Ministry of Home Affairs 1960}} |url-status=dead |archive-url=https://web.archive.org/web/20141001005409/http://www.rajbhasha.nic.in/UI/pagecontent.aspx?pc=Mzc%3D |archive-date=1 October 2014}}
* {{citation|title=Census Data 2001|work=Office of the Registrar General and Census Commissioner|publisher=[[Ministry of Home Affairs (India)|Ministry of Home Affairs]], [[Government of India]]|date=2010–2011|url=http://www.censusindia.gov.in/Census_Data_2001/National_Summary/National_Summary_DataPage.aspx|access-date=22 July 2011}}
{{refend}}

'''ศิลปะ'''
{{refbegin|33em}}
* {{Citation|last=Blurton|first=T. Richard|title=Hindu Art|date=1993|url=https://books.google.com/books?id=xJ-lzU_nj_MC&q=Hindu+Art,+1994,+British+Museum+Press|publisher=[[Harvard University Press]]|language=en|isbn=978-0-674-39189-5}}
* {{Citation|last=Craven|first=Roy C|title=Indian art: a concise history|date=1997|url=https://www.worldcat.org/title/indian-art-a-concise-history/oclc/37895110&referer=brief_results|location=[[New York City|NYC]]|publisher=Thames and Hudson|language=en|isbn=978-0-500-20302-6|oclc=37895110|author-link=Roy C. Craven}}
* {{Citation|last=Harle|first=James C.|title=The Art and Architecture of the Indian Subcontinent|url=https://books.google.com/books?id=LwcBVvdqyBkC|year=1994|publisher=[[Yale University Press]]|language=en|isbn=978-0-300-06217-5}}
* {{Citation|last=Michell|first=George|title=Hindu Art and Architecture|date=2000|url=https://books.google.com/books?id=YVl2QgAACAAJ|publisher=Thames & Hudson|language=en|isbn=978-0-500-20337-8}}
* {{Citation|last=Rowland|first=Benjamin|title=The Art and Architecture of India: Buddhist, Hindu, Jain|date=1970|url=https://books.google.com/books?id=6L2fAAAAMAAJ&q=The+Art+and+Architecture+of+India:+Buddhist,+Hindu,+Jain|publisher=[[Penguin Books]]|language=en}}
{{refend}}

'''วัฒนธรรม'''
{{refbegin|33em}}
* {{citation|last=Binmore|first=K. G.|date=27 March 2007|title=Playing for Real: A Text on Game Theory|publisher=[[Oxford University Press]]|isbn=978-0-19-530057-4|url=https://books.google.com/books?id=eY0YhSk9ujsC&pg=PA98}}
* {{citation|date=1 August 2010|title=Saina Nehwal: India's Badminton Star and "New Woman"|work=[[BBC News]]|url=https://www.bbc.co.uk/news/world-south-asia-10725584|access-date=5 October 2010|ref={{sfnRef|British Broadcasting Corporation 2010 a}}}}
* {{citation|date=7 October 2010|title=Commonwealth Games 2010: India Dominate Shooting Medals|work=[[BBC News]]|url=http://news.bbc.co.uk/sport2/hi/commonwealth_games/delhi_2010/9068886.stm|access-date=3 June 2011|ref={{sfnRef|British Broadcasting Corporation 2010 b}}}}
* {{citation|last=Chopra|first=P.|date=18 March 2011|title=A Joint Enterprise: Indian Elites and the Making of British Bombay|publisher=[[University of Minnesota Press]]|isbn=978-0-8166-7037-6|url=https://books.google.com/books?id=jhTiCnh6RqAC&pg=PA46}}
* {{citation|last=Cullen-Dupont|first=K.|date=July 2009|title=Human Trafficking|edition=1st|publisher=[[Infobase Publishing]]|isbn=978-0-8160-7545-4|url=https://books.google.com/books?id=B2GeSNXy5CoC}}
* {{citation|last=Das|first=S. K.|date=1 January 2005|title=A History of Indian Literature, 500–1399: From Courtly to the Popular|publisher=[[Sahitya Akademi]]|isbn=978-81-260-2171-0}}
* {{citation|last=Datta|first=A.|year=2006|title=The Encyclopaedia of Indian Literature|volume=2|publisher=[[Sahitya Akademi]]|isbn=978-81-260-1194-0}}
* {{citation|last=Dehejia|first=R. S.|date=7 November 2011|title=Indian Grand Prix Vs. Encephalitis?|work=[[The Wall Street Journal]]|url=https://blogs.wsj.com/indiarealtime/2011/11/07/economics-journal-indian-grand-prix-vs-encephalitis/|access-date=20 December 2011}}
* {{citation|last=Deutsch|first=E.|date=30 April 1969|title=Advaita Vedānta: A Philosophical Reconstruction|publisher=[[University of Hawaii Press]]|isbn=978-0-8248-0271-4|url=https://books.google.com/books?id=63gdKwhHeV0C}}
* {{citation|last1=Dissanayake|first1=W. K.|last2=Gokulsing|first2=M.|date=May 2004|title=Indian Popular Cinema: A Narrative of Cultural Change|edition=2nd|publisher=[[Trentham Books]]|url=https://books.google.com/books?id=_plssuFIar8C|isbn=978-1-85856-329-9}}
* {{citation|title=South Asian Arts: Indian Dance|url=http://www.britannica.com/EBchecked/topic/556016/South-Asian-arts/65246/Indian-dance|encyclopedia=[[Encyclopædia Britannica]]|access-date=17 July 2011|ref={{sfnRef|Encyclopædia Britannica b}}}}
* {{citation|title=Tamil Literature|year=2008|encyclopedia=[[Encyclopædia Britannica]]|url=http://original.britannica.com/eb/article-9071111/Tamil-literature|access-date=24 July 2011|quote=Apart from literature written in classical (Indo-Aryan) Sanskrit, Tamil is the oldest literature in India. Some inscriptions on stone have been dated to the 3rd century BC, but [[Tamil literature]] proper begins around the 1st century AD. Much early poetry was religious or epic; an exception was the secular court poetry written by members of the ''sangam'', or literary academy (see Sangam literature).-->|ref={{sfnRef|Encyclopædia Britannica|2008}}}}
* {{citation|last=Hart|first=G. L.|date=August 1975|title=Poems of Ancient Tamil: Their Milieu and Their Sanskrit Counterparts|edition=1st|publisher=[[University of California Press]]|isbn=978-0-520-02672-8|url=https://books.google.com/books?id=a5KwQwAACAAJ}}
* {{citation|editor-last=Heehs|editor-first=P.|date=1 September 2002|title=Indian Religions: A Historical Reader of Spiritual Expression and Experience|publisher=[[New York University Press]]|isbn=978-0-8147-3650-0|url=https://books.google.com/books?id=Jgsu-aIm3ncC|access-date=24 July 2011}}
* {{citation|last1=Hoiberg|first1=D.|last2=Ramchandani|first2=I.|year=2000|title=Students' Britannica India: Select Essays|publisher=[[Popular Prakashan]]|isbn=978-0-85229-762-9}}
* {{citation|editor-last=Johnson|editor-first=W. J.|title=The Sauptikaparvan of the Mahabharata: The Massacre at Night|date=1 September 2008|edition=2nd|series=[[Oxford World's Classics]]|publisher=[[Oxford University Press]]|isbn=978-0-19-282361-8}}
* {{citation|last1=Jones|first1=G.|last2=Ramdas|first2=K.|year=2005|title=(Un)tying the Knot: Ideal and Reality in Asian Marriage|publisher=[[National University of Singapore Press]]|isbn=978-981-05-1428-0|url=https://books.google.com/books?id=IttiQ3QdJ6YC}}
* {{citation|last1=Kālidāsa|last2=Johnson|first2=W. J.|author-link=Kālidāsa|date=15 November 2001|title=The Recognition of Śakuntalā: A Play in Seven Acts|publisher=[[Oxford University Press]]|isbn=978-0-19-283911-4|url-access=registration|url=https://archive.org/details/recognitionofsak0000kali}}
* {{citation|last1=Kaminsky|first1=Arnold P.|last2=Long|first2=Roger D. |title=India Today: An Encyclopedia of Life in the Republic: An Encyclopedia of Life in the Republic|url=https://books.google.com/books?id=wWDnTWrz4O8C|access-date=12 September 2012|date=30 September 2011|publisher=[[ABC-CLIO]]|isbn=978-0-313-37462-3}}
* {{citation|last=Karanth|first=S. K.|author-link=Shivarama Karanth|date=October 2002|title=Yakṣagāna|publisher=Abhinav Publications|isbn=978-81-7017-357-1}}
* {{citation|editor1-last=Kiple|editor1-first=K. F.|editor2-last=Ornelas|editor2-first=K. C.|title=The Cambridge World History of Food|year=2000|place=Cambridge|publisher=[[Cambridge University Press]]|isbn=978-0-521-40216-3|ref=none}}
* {{citation|editor-last=Kuiper|editor-first=K.|year=2010|title=The Culture of India|url=https://books.google.com/books?id=LiqloV4JnNUC|access-date=24 July 2011|publisher=[[Britannica Educational Publishing]]|isbn=978-1-61530-203-1}}
* {{citation|last=Kumar|first=V.|title=Vastushastra|edition=2nd|series=All You Wanted to Know About Series|date=January 2000|publisher=[[Sterling Publishing]]|isbn=978-81-207-2199-9}}
* {{citation|last=Lal|first=A.|title=The Oxford Companion to Indian Theatre|url=https://books.google.com/books?id=DftkAAAAMAAJ|access-date=24 July 2011|year=2004|publisher=[[Oxford University Press]]|isbn=978-0-19-564446-3}}
* {{citation|last1=Lang|first1=J.|last2=Moleski|first2=W.|date=1 December 2010|title=Functionalism Revisited|publisher=[[Ashgate Publishing]]|isbn=978-1-4094-0701-0|url=https://books.google.com/books?id=rOCaSn8-ZboC&pg=PA151}}
* {{citation|last=MacDonell|first=A. A.|author-link=Arthur Anthony Macdonell|title=A History of Sanskrit Literature|year=2004|publisher=[[Kessinger Publishing]]|isbn=978-1-4179-0619-2|title-link=s:A History of Sanskrit Literature}}
* {{citation|last1=Majumdar|first1=B.|last2=Bandyopadhyay|first2=K.|title=A Social History of Indian Football: Striving To Score|year=2006|publisher=[[Routledge]]|isbn=978-0-415-34835-5}}
* {{citation|last=Makar|first=E. M.|year=2007|title=An American's Guide to Doing Business in India|publisher=Adams|isbn=978-1-59869-211-2|url=https://books.google.com/books?id=ujYmdNVIr7QC}}
* {{citation|last1=Massey|first1=R.|last2=Massey|first2=J|year=1998|title=The Music of India|publisher=Abhinav Publications|isbn=978-81-7017-332-8|url=https://books.google.com/books?id=yySNDP9XVggC}}
* {{citation|last=Medora|first=N.|editor1-last=Hamon|editor1-first=R. R.|editor2-last=Ingoldsby|editor2-first=B. B.|year=2003|title=Mate Selection Across Cultures|chapter=Mate Selection in Contemporary India: Love Marriages Versus Arranged Marriages|publisher=[[SAGE Publications]]|pages=209–230|isbn=978-0-7619-2592-7}}
* {{cite web|url=http://mruc.net/irs2012q1-topline-findings.pdf |title=Indian Readership Survey 2012 Q1 : Topline Findings |at=Growth: Literacy & Media Consumption |publisher=Media Research Users Council |access-date=12 September 2012 |ref={{sfnRef|Media Research Users Council 2012}} |url-status=dead |archive-url=https://web.archive.org/web/20140407092737/http://mruc.net/irs2012q1-topline-findings.pdf |archive-date=7 April 2014 }}
* {{citation|last=Mehta|first=Nalin|title=Television in India: Satellites, Politics and Cultural Change|url=https://books.google.com/books?id=R-BsSzSjnTYC|access-date=12 September 2012|date=30 July 2008|publisher=[[Taylor & Francis]] US|isbn=978-0-415-44759-1}}
* {{citation|date=24 September 2010|title=Is Boxing the New Cricket?|publisher=[[Mint (newspaper)|Mint]]|url=http://www.livemint.com/Leisure/1jxksEgRhUYXq0ezp1iixM/Is-boxing-the-new-cricket.html|access-date=5 October 2010|ref={{sfnRef|Mint 2010}}}}
* {{citation|last=Nakamura|first=H.|date=1 April 1999|title=Indian Buddhism: A Survey with Bibliographical Notes|edition=12th|series=Buddhist Tradition Series|publisher=[[Motilal Banarsidass]]|isbn=978-81-208-0272-8|url=https://books.google.com/books?id=w0A7y4TCeVQC}}
* {{citation|editor1-last=Rajadhyaksha|editor1-first=A.|editor2-last=Willemen|editor2-first=P.|date=22 January 1999|title=Encyclopaedia of Indian Cinema|edition=2nd|publisher=[[British Film Institute]]|isbn=978-0-85170-669-6|url=https://archive.org/details/encyclopaediaofi0000raja}}
* {{citation|last=Ramanujan|first=A. K. (translator)|author-link=A. K. Ramanujan|date=15 October 1985|title=Poems of Love and War: From the Eight Anthologies and the Ten Long Poems of Classical Tamil|publisher=[[Columbia University Press]]|place=New York|pages=ix–x|isbn=978-0-231-05107-1|url=https://books.google.com/?id=nIybE0HRvdQC<!--|quote=These poems are 'classical,' i.e. early, ancient; they are also 'classics,' i.e. works that have stood the test of time, the founding works of a whole tradition. Not to know them is not to know a unique and major poetic achievement of Indian civilisation. Early classical Tamil literature (c. 100 BC – AD 250) consists of the Eight Anthologies (''Eţţuttokai''), the Ten Long Poems (''Pattuppāţţu''), and a grammar called the ''Tolkāppiyam'' or the 'Old Composition.'&nbsp;... The literature of classical Tamil later came to be known as ''Cankam'' (pronounced ''Sangam'') literature.-->}}
* {{citation|title=Anand Crowned World Champion|date=29 October 2008|publisher=[[Rediff.com|Rediff]]|url=http://www.rediff.com/sports/2008/oct/29anand.htm|access-date=29 October 2008|ref={{sfnRef|Rediff 2008 b}}}}
* {{citation|last=Roberts|first=N. W.|date=12 July 2004|title=Building Type Basics for Places of Worship|edition=1st|publisher=[[John Wiley & Sons]]|isbn=978-0-471-22568-3|url=https://books.google.com/books?id=hOxOAAAAMAAJ}}
* {{citation|last=Schwartzberg|first=J.|year=2011|title=India: Caste|encyclopedia=[[Encyclopædia Britannica]]|url=http://www.britannica.com/EBchecked/topic/285248/India/46404/Caste|access-date=17 July 2011}}
* {{citation|last=Silverman|first=S.|date=10 October 2007|title=Vastu: Transcendental Home Design in Harmony with Nature|publisher=[[Gibbs Smith]]|isbn=978-1-4236-0132-6|url=https://books.google.com/books?id=iwaryJd3fD8C&pg=PA20}}
* {{citation|last=Tarlo|first=E.|date=1 September 1996|title=Clothing Matters: Dress and Identity in India|edition=1st|publisher=[[University of Chicago Press]]|isbn=978-0-226-78976-7|url=https://books.google.com/books?id=ByoTXhXCuyAC|access-date=24 July 2011}}
* {{citation|date=9 August 2010|title=Sawant Shoots Historic Gold at World Championships|newspaper=[[The Times of India]]|url=http://timesofindia.indiatimes.com/sports/more-sports/shooting/Sawant-shoots-historic-gold-at-World-Championships/articleshow/6274795.cms?referral=PM|access-date=25 May 2011|ref={{sfnRef|The Times of India 2010}}}}
* {{citation|title=Taj Mahal|publisher=[[UNESCO|United Nations Educational, Scientific, and Cultural Organisation]]|url=https://whc.unesco.org/en/list/252|access-date=3 March 2012|ref={{sfnRef|United Nations Educational, Scientific, and Cultural Organisation}}}}
* {{citation|date=11 September 2009|title=India Aims for Center Court|work=[[The Wall Street Journal]]|url=https://www.wsj.com/news/articles/SB10001424052970203440104574406704026883502|access-date=29 September 2010|ref={{sfnRef|The Wall Street Journal 2009}}}}
* {{citation|last1=Xavier|first1=L.|date=12 September 2010|title=Sushil Kumar Wins Gold in World Wrestling Championship|newspaper=[[The Times of India]]|url=http://timesofindia.indiatimes.com/sports/more-sports/wrestling/Sushil-Kumar-wins-gold-in-World-Wrestling-Championship/articleshow/6542488.cms?referral=PM|access-date=5 October 2010}}
* {{citation|last=Zvelebil|first=K. V.|date=1 August 1997|title=Companion Studies to the History of Tamil Literature|publisher=[[Brill Publishers]]|isbn=978-90-04-09365-2|url=https://books.google.com/books?id=qAPtq49DZfoC}}
{{refend}}

== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{Sister project links|collapsible=collapsed|voy=India}}<!-- {{No more links}}

Please be cautious adding more external links.

Wikipedia is not a collection of links and should not be used for advertising.

Excessive or inappropriate links will be removed.

See [[Wikipedia:External links]] and [[Wikipedia:Spam]] for details.

If there are already suitable links, propose additions or replacements on
the article's talk page, or submit your link to the relevant category at
the Open Directory Project (dmoz.org) and link there using {{Dmoz}}.

-->
'''รัฐบาล'''
* [https://www.india.gov.in/ Official website of Government of India]
* [http://goidirectory.nic.in/index.php Government of India Web Directory]

'''ข้อมูลทั่วไป'''
* [https://www.cia.gov/the-world-factbook/countries/india/ India]. ''[[The World Factbook]]''. [[Central Intelligence Agency]].
* {{Curlie|Regional/Asia/India}}
* {{GovPubs|India}}
* [https://www.bbc.com/news/world-south-asia-12557384 India] from the [[BBC News]]
* [http://www.wikivillage.in/ Indian State district block village website]
* {{wikiatlas|India}}
* {{osmrelation-inline|304716}}
* [http://www.ifs.du.edu/ifs/frm_CountryProfile.aspx?Country=IN Key Development Forecasts for India] from [[International Futures]]

{{หัวข้อประเทศอินเดีย}}
{{Navboxes
|title=บทความที่เกี่ยวข้อง
|list1=
{{เอเชีย}}
{{เขตการปกครองในอินเดีย}}
{{เครือจักรภพ}}
{{สันนิบาตอาหรับ}}
{{G20}}
{{การประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก}}
{{Authority control}}
}}
{{Coord|21|N|78|E|region:IN_type:country_source:dewiki|display=title}}

[[หมวดหมู่:ประเทศอินเดีย| ]]
[[หมวดหมู่:สหพันธ์สาธารณรัฐ|อ]]
[[หมวดหมู่:สาธารณรัฐเครือจักรภพ|อ]]
[[หมวดหมู่:รัฐฮินดู|อ]]
[[หมวดหมู่:อดีตอาณานิคมของอังกฤษ]]
[[หมวดหมู่:รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2490]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:55, 3 มีนาคม 2565

สาธารณรัฐอินเดีย

Bhārat Gaṇarājya
(ดูชื่อท้องถิ่น)
คำขวัญ"สตฺยเมว ชยเต" (สันสกฤต)
"ความจริงเท่านั้นจักมีชัย"[1]
เพลงชาติ"ชนะ คณะ มนะ"[2][3]
"เจ้านั้นคือดวงใจแห่งผองชน"[4][2]
เพลงพื้นเมือง
"วันเดมาตรัม" (สันสกฤต)
"ข้าขอคารวะแก่ท่านมารดา"[a][1][2]
Image of a globe centred on India, with India highlighted.
พื้นที่ที่ควบคุมแสดงในสีเขียวเข้ม ส่วนบริเวณที่อ้างสิทธิ์แต่มิได้ควบคุมแสดงในสีเขียวอ่อน
เมืองหลวงนิวเดลี
28°36′50″N 77°12′30″E / 28.61389°N 77.20833°E / 28.61389; 77.20833
เมืองใหญ่สุด
ภาษาราชการ
ไม่มี[8][9][10]
ภาษาแม่447 ภาษา[c]
ศาสนา
(2011)
เดมะนิมชาวอินเดีย
การปกครองสาธารณรัฐรัฐธรรมนูญ ระบอบรัฐสภาแบบสหพันธรัฐ
ราม นาถ โกวินท์
Venkaiah Naidu
นเรนทระ โมที
N. V. Ramana
Om Birla
สภานิติบัญญัติรัฐสภา
ราชยสภา
โลกสภา
เป็นเอกราช 
15 สิงหาคม ค.ศ. 1947
26 มกราคม ค.ศ. 1950
พื้นที่
• รวม
3,287,263[2] ตารางกิโลเมตร (1,269,219 ตารางไมล์)[d] (อันดับที่ 7)
9.6
ประชากร
• พ.ศ. 2560 ประมาณ
เพิ่มขึ้นเป็นกลาง 1,324,171,354[15] (อันดับที่ 2)
• สำมะโนประชากร ค.ศ. 2011
1,210,854,977[16][17] (อันดับที่ 2)
424.7 ต่อตารางกิโลเมตร (1,100.0 ต่อตารางไมล์) (อันดับที่ 19)
จีดีพี (อำนาจซื้อ) ค.ศ. 2021 (ประมาณ)
• รวม
เพิ่มขึ้น 10.207 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ[18] (อันดับที่ 3)
เพิ่มขึ้น 7,333 ดอลลาร์สหรัฐ[18] (อันดับที่ 122)
จีดีพี (ราคาตลาด) ค.ศ. 2021 (ประมาณ)
• รวม
เพิ่มขึ้น 3.050 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ[18] (อันดับที่ 6)
เพิ่มขึ้น 2,191 ดอลลาร์สหรัฐ[18] (อันดับที่ 145)
จีนี (ค.ศ. 2011)35.7[19]
ปานกลาง · อันดับที่ 98
เอชดีไอ (ค.ศ. 2019)เพิ่มขึ้น 0.645[20]
ปานกลาง · อันดับที่ 131
สกุลเงินรูปีอินเดีย (₹) (INR)
เขตเวลาUTC+05:30 (เวลามาตรฐานอินเดีย)
ไม่สังเกตเวลาออมแสง
รูปแบบวันที่
  • วว-ดด-ปปปป[e]
ไฟบ้าน230 โวลต์–50 เฮิร์ซ
ขับรถด้านซ้าย[21]
รหัสโทรศัพท์+91
รหัส ISO 3166IN
โดเมนบนสุด.in (อื่น ๆ)

อินเดีย (อังกฤษ: India) หรือ ภารตะ (ฮินดี: भारत, ถอดอักษรเทวนาครีเป็นไทย ภารต, ออกเสียง [ˈbʱaːɾət̪] บฮฺรัต) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐอินเดีย (อังกฤษ: Republic of India, ฮินดี: भारत गणराज्य) เป็นประเทศที่ตั้งอยู่ในทวีปเอเชียใต้ กินพื้นที่ส่วนใหญ่ในอนุทวีปอินเดีย เป็นประเทศที่มีประชากรมากเป็นอันดับสองของโลก และยังเป็นประเทศประชาธิปไตยที่มีประชากรมากที่สุดในโลก (ประมาณ 1,300 ล้านคน)[22][23][24] มีอาณาเขตทางทิศเหนือติดกับจีน เนปาล และภูฏาน ทางตะวันตกเฉียงเหนือติดกับปากีสถาน ทางตะวันออกติดพม่า ทางตะวันตกเฉียงใต้จรดมหาสมุทรอินเดีย ทางตะวันออกเฉียงใต้ติดศรีลังกา ล้อมรอบบังกลาเทศทางทิศเหนือ ทิศตะวันออก และทิศตะวันตก และยังมีเขตแดนทางทะเลต่อเนื่องกับน่านน้ำไทย พม่า และอินโดนีเซีย และด้วยพื้นที่ 3,287,590 ตารางกิโลเมตร อินเดียจึงเป็นประเทศที่ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับ 7 ของโลก[25]

มนุษย์ยุคใหม่เริ่มเข้ามาตั้งรกรากในอนุทวีปอินเดียเมื่อประมาณ 55,000 ปีที่แล้ว[26] โดยเลี้ยงชีพด้วยการทำเกษตรกรรมและล่าสัตว์ และอนุทวีปอินเดียถือเป็นบริเวณที่มีความหลากหลายทางชาติพันธุ์มากที่สุดรองจากทวีปแอฟริกา[27] ผู้คนเริ่มรวมตัวกันเป็นสังคมเมื่อ 9,000 ปีที่แล้วบริเวณลุ่มแม่น้ำสินธุ ประมาณ 1,200 ปีก่อนคริสต์ศักราช ภาษาสันสกฤตโบราณซึ่งเป็นตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียนดั้งเดิม ได้แพร่กระจายไปยังอินเดียจากแถบตะวันตกเฉียงเหนือ[28] และประมาณ 400 ปี ก่อนคริสต์ศักราช อิทธิพลของศาสนาฮินดูได้ก่อให้เกิดระบบชนชั้นวรรณะในอินเดีย ตามมาด้วยการแพร่หลายของศาสนาพุทธและศาสนาเชน การรวมกลุ่มทางการเมืองก่อให้เกิดราชวงศ์โมริยะและจักรวรรดิคุปตะซึ่งตั้งอยู่ในลุ่มน้ำคงคา ในยุคนั้นเพศชายมีบทบาทหลักในการพัฒนาประเทศ แต่สตรีเพศยังคงถูกจำกัดเสรีภาพในสังคม[29] วิถีชีวิตในสังคมของประชากรในอินเดียตอนใต้ยังได้ขยายอิทธิพลไปยังเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ทั้งวัฒนธรรมทางศาสนาและภาษาตระกูลดราวิเดียน[30]

ในยุคกลางตอนต้น ศาสนาคริสต์, อิสลาม, ยูดายห์ และซาราธุสตรา ได้รับอิทธิพลมาจากชายฝั่งทางใต้และตะวันตกของอินเดีย กองทัพมุสลิมจากเอเชียกลางเข้ายึดที่ราบทางเหนือของอินเดียและได้ก่อตั้งรัฐสุลต่านเดลี และผนวกอินเดียตอนเหนือเข้าสู่เครือข่ายสากลของอิสลามยุคกลาง ในศตวรรษที่ 15 จักรวรรดิวิชัยนครได้สร้างวัฒนธรรมฮินดูผสมผสานขึ้นในอินเดียตอนใต้ ศาสนาซิกข์ได้ถือกำเนิดขึ้นในรัฐปัญจาบ ต่อมาใน ค.ศ. 1526 จักรวรรดิโมกุลได้ปกครองประเทศเป็นเวลากว่าสองศตวรรษ และทิ้งมรดกทางสถาปัตยกรรมอันล้ำค่าเอาไว้ถึงปัจจุบัน[31][32] ต่อมา การปกครองของบริษัทในอินเดียโดยสหราชอาณาจักรได้เข้ามามีบทบาทหลัก ส่งผลให้อินเดียกลายเป็นประเทศอาณานิคมที่มีขนาดเศรษฐกิจใหญ่ระดับโลกแต่ยังคงรักษาอำนาจอธิปไตยของตนไว้ การปกครองของบริติชราชเริ่มต้นใน ค.ศ. 1858 และเป็นจุดเริ่มต้นของการพัฒนาประเทศเข้าสู่ยุคใหม่[33] โดยมีการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีและการศึกษาให้ทันสมัยยิ่งขึ้น ต่อมา ขบวนการชาตินิยมได้ถือกำเนิดขึ้นโดยมีอุดมการณ์ในการต่อต้านการปกครองของต่างชาติ[34] ซึ่งนำไปสู่การยุติการปกครองของอังกฤษใน ค.ศ. 1947 จักรวรรดิบริติชอินเดียนถูกแบ่งออกเป็นสองอาณาจักรอิสระได้แก่ อาณาจักรฮินดูที่ส่วนใหญ่เป็นชาวอินเดีย และปากีสถานซึ่งส่วนใหญ่เป็นชาวมุสลิมท่ามกลางการอพยพของประชากรจำนวนมากซึ่งไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อนในทวีปเอเชีย[35][36]

อินเดียเป็นสหพันธ์สาธารณรัฐมาตั้งแต่ ค.ศ. 1950 ปกครองด้วยระบบรัฐสภาแบบประชาธิปไตย เป็นสังคมพหุนิยมซึ่งประกอบไปด้วยความหลากหลายทางภาษาและเชื้อชาติ ประชากรของอินเดียเพิ่มขึ้นจาก 361 ล้านคนใน ค.ศ. 1951 เป็น 1.2 พันล้านใน ค.ศ. 2011[37] ในช่วงเวลาเดียวกัน รายได้ต่อหัวของประชากรได้เพิ่มขึ้นจาก 64 ดอลลาร์ เป็น 1,498 ดอลลาร์ต่อปี และอัตราการรู้หนังสือเพิ่มขึ้นจาก 16.6% เป็น 74% จากการเป็นประเทศที่ยากจนใน ค.ศ. 1951 อินเดียได้กลายเป็นประเทศที่มีเศรษฐกิจเติบโตอย่างรวดเร็วและเป็นศูนย์กลางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จากการมีกลุ่มชนชั้นกลางที่ขยายตัวเพิ่มขึ้นในประเทศ[38] อินเดียยังมีโครงการอวกาศซึ่งรวมถึงภารกิจนอกโลกทั้งที่วางแผนไว้และสำเร็จแล้วหลายภารกิจ[39][40][41] และยังมีชื่อเสียงในด้านวงการบันเทิง รวมทั้งคำสอนทางจิตวิญญาณและศาสนาของอินเดียได้มีบทบาทต่อวัฒนธรรมโลก[42] อินเดียได้ลดอัตราความยากจนลงอย่างมาก แม้ว่าจะต้องแลกมาด้วยความไม่เท่าเทียมกันทางสังคมที่เพิ่มขึ้นจนถึงปัจจุบัน[43] อินเดียมีค่าใช้จ่ายด้านการทหารสูง และมีปัญหาข้อพิพาทบริเวณแคชเมียร์กับปากีสถานและจีนมาตั้งแต่กลางศตวรรษที่ 20 ปัญหาหลักในปัจจุบันของอินเดีย ได้แก่ ความไม่เท่าเทียมกันทางเพศ, ภาวะทุพโภชนาการในเด็ก และระดับมลพิษทางอากาศที่เพิ่มสูงขึ้น[44] อินเดียยังมีธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์โดยพื้นที่ป่าไม้คิดเป็นเนื้อที่กว่า 21.7% ของประเทศ[45] และมีกฎหมายสิ่งแวดล้อมที่เข้มงวด[46]

นิรุกติศาสตร์

อ้างอิงจากพจนานุกรมภาษาอังกฤษของอ็อกซ์ฟอร์ด (ฉบับที่สาม ปี 2009) ชื่อประเทศ "อินเดีย" มาจากภาษาละติน India ซึ่งหมายถึงภูมิภาคเอเชียใต้และภูมิภาคอื่น ๆ ทางตะวันออก และบางหลักฐานยังชี้ให้เห็นว่าคำนี้มีที่มาจากภาษากรีกคอยนี Ἰνδία; และภาษากรีกโบราณ Ἰνδός ซึ่งใช้เรียกบริเวณตะวันออกของอาณาจักร และยังหมายถึง "ชาวสินธุ" ซึ่งเป็นการกล่าวถึงผู้คนบริเวณอนุทวีปอินเดียที่เข้ามาตั้งรกรากบริเวณแม่น้ำสินธุ[47][48]

นอกจากนี้ยังมีการใช้คำว่า Hindustan ซึ่งเป็นภาษาเปอร์เซียกลาง เพื่อใช้เรียกประเทศอินเดียซึ่งเริ่มมีการใช้ในสมัยจักรวรรดิโมกุล โดยคำว่า Hindustan มีความหมายหลากหลาย แต่นักภาษาศาสตร์สากลได้นิยามว่าหมายถึงภูมิภาคทั้งหมดที่ครอบคลุมบริเวณอินเดียตอนเหนือและประเทศปากีสถานในปัจจุบัน แต่ในบางครั้งคำนี้สามารถสื่อถึงแผ่นดินอินเดียทั้งประเทศได้เช่นกัน[49][50]

ภูมิศาสตร์

Map of India. พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นบริเวณสีเหลือง (ความสูงตั้งแต่ 100–1000 เมตร) บางบริเวณแถบตอนใต้และตะวันออกเป็นสีน้ำตาล (ความสูงตั้งแต่ 1000 เมตร) บริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำเป็นบริเวณสีเขียว (ความสูงต่ำกว่า 1 เมตร)
แผนที่ภูมิประเทศของอินเดีย

ประเทศอินเดียเกิดขึ้นบนอนุทวีปอินเดีย (Indian subcontinent) ซึ่งตั้งอยู่บนบริเวณแผ่นเปลือกโลกอินเดีย (Indian tectonic plate) ซึ่งในอดีตนั้นเคยเชื่อมอยู่กับแผ่นออสเตรเลีย[51] การรวมตัวทางภูมิศาสตร์ครั้งสำคัญของประเทศอินเดียนั้นเกิดขึ้นราว 75 ล้านปีก่อน เมื่ออนุทวีปอินเดียซึ่งเคยเป็นส่วนหนึ่งของมหาทวีปแห่งตอนใต้[52] คือ มหาทวีปกอนด์วานา (Gondwana) ได้เริ่มเคลื่อนตัวขึ้นไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ผ่านที่บริเวณมหาสมุทรอินเดียซึ่งในขณะนั้นยังไม่เกิดขึ้น โดยกินเวลารวมทั้งหมดประมาณ 55 ล้านปี หลังจากนั้นอนุทวีปอินเดียนได้ชนเข้ากับแผ่นทวีปยูเรเชีย อันเป็นที่มาของการเกิดเทือกเขาที่มีความสูงที่สุดในโลก คือ เทือกเขาหิมาลัย ซึ่งอยู่บริเวณภาคเหนือ และตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดีย ตอนใต้ของเทือกเขาซึ่งเคยเป็นท้องทะเลอันกว้างขวางได้ค่อย ๆ กลายมาเป็นผืนดินราบลุ่มแม่น้ำอันกว้างใหญ่ ทำให้เกิดเป็นที่ราบลุ่มแม่น้ำสินธุ-คงคา (Indo-Gangetic Plain) ทางภาคตะวันตกนั้นติดกับทะเลทรายธาร์ ซึ่งถูกกั้นกลางด้วยทิวเขาอะราวัลลี[53]

อนุทวีปอินเดียนั้นได้คงอยู่จนกลายมาเป็นคาบสมุทรอินเดียในปัจจุบัน[54] ซึ่งจัดเป็นส่วนที่เก่าแก่ที่สุดทางธรณีวิทยา และยังเป็นบริเวณที่มีความคงที่ทางภูมิศาสตร์ที่สุดแห่งหนึ่งในอินเดีย โดยกินพื้นที่กว้างขวางจรดเทือกเขาสัทปุระ (Satpura) ทางตอนใต้ และเทือกเขาผิงอ ในภาคกลางของอินเดีย โดยมีลักษณะคู่ขนานกันไปจรดชายฝั่งทะเลอาหรับในรัฐคุชราตทางทิศตะวันตก และที่ราบสูงโชตนาคปุระ (Chota Nagpur Plateau) ที่เต็มไปด้วยแร่รัตนชาติในรัฐฌาร์ขัณฑ์ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ส่วนทิศใต้นั้นประกอบด้วยแผ่นดินคาบสมุทรบนที่ราบสูงเดกกัน (Deccan Plateau) ซึ่งถูกขนาบโดยเทือกเขาริมทะเลทั้งสองฝั่งที่เรียกว่า เทือกเขากัทส์ทิศตะวันตก และตะวันออก(Western and Eastern Ghats) ในบริเวณนี้จะพบหินที่มีอายุเก่าแก่ที่สุดในอินเดีย ซึ่งมีอายุถึง 1 พันล้านปี

เทือกเขาเกดาร์ (Kedar Range) ส่วนหนึ่งของหิมาลัย

ชายฝั่งของอินเดียนั้นมีระยะทางประมาณ 7,517 กิโลเมตร (4,700 ไมล์) แบ่งเป็นระยะทางบนคาบสมุทรอินเดีย 5,423 กิโลเมตร (3,400 ไมล์) และ 2,094 กิโลเมตร (1,300 ไมล์) ในหมู่เกาะอันดามันและนิโคบาร์และลักษทวีป จากแผนที่ทะเลของอินเดียนั้น ชายฝั่งบนแผ่นดินใหญ่ของอินเดียประกอบด้วยหาดทรายถึง 43% กรวดและหิน 11% รวมถึงหน้าผา และ 46% เป็นดินเลนและโคลน

แม่น้ำในอินเดียแบ่งออกได้เป็นสี่ประเภทคือ แม่น้ำจากเทือกเขาเอเวอเรส แม่น้ำคาบสมุทรเดคคาน แม่น้ำชายฝั่ง และแม่น้ำในดินแดนภายในแม่น้ำหิมาลัย ปกติจะเกิดจากน้ำที่ละลายมาจากหิมะ ในภาคเหนือของอินเดีย ดังนั้น แม่น้ำเหล่านี้จะมีน้ำไหลเต็มที่อยู่ตลอดเวลา และมีความลาดชันค่อนข้างต่ำ ในฤดูมรสุมเมื่อฝนตกมาก แม่น้ำเหล่านี้จะรับน้ำไว้ได้ไม่หมด จึงทำให้เกิดน้ำท่วมใหญ่อยู่เสมอ ส่วนแม่น้ำในคาบสมุทรเดคคาน โดยปกติได้น้ำจากน้ำฝน ดังนั้นปริมาณน้ำในแม่น้ำดังกล่าว จึงมักจะมากน้อยไม่แน่นอน อีกทั้งมีความลาดชันลดหลั่นลง จึงรับน้ำได้มาก และช่วยระบายน้ำในฤดูมรสุมอีกด้วย นอกจากนี้ยังมีแม่น้ำย่อย ๆ ซึ่งไม่มีต้นกำเนิดจากแม่น้ำทั้งสองประเภทดังกล่าว และอยู่ตามชายฝั่งโดยเฉพาะในฝั่งตะวันตก จะมีเส้นทางสั้น ๆ และมีขนาดแคบ จึงรับน้ำได้ในปริมาณจำกัด สำหรับแม่น้ำในดินแดนภายใน เป็นลำน้ำเล็ก ๆ ไม่มีทางออกทะเล ปลายทางของแม่น้ำหากไม่ไหลลงแอ่งน้ำ ทะเลสาบ ก็จะเหือดแห้งไปในทะเลทรายธาร์

ระบบแม่น้ำที่ใหญ่ที่สุดในอินเดียคือ แม่น้ำคงคา (Ganges) ซึ่งมีต้นกำเนิดจากเทือกเขาหิมาลัย แม่น้ำสาขาในระบบแม่น้ำคงคาคือ แม่น้ำยมนา แม่น้ำกากรา แม่น้ำกันดัค และแม่น้ำโคสิ บริเวณผืนดินที่ราบลุ่มแม่น้ำคงคาจัดได้ว่ามีความอุดมสมบูรณ์ และกว้างใหญ่ที่สุด โดยเป็นบริเวณกว้างถึงหนึ่งในสี่ของประเทศ นอกจากนั้นยังมีแม่น้ำพรหมบุตร ซึ่งมีความสำคัญรองลงมา มีสาขามากมาย ซึ่งไหลผ่านพื้นที่ส่วนใหญ่ของอินเดีย โดยไปสุดที่อ่าวเบงกอลเช่นเดียวกับแม่น้ำคงคา[55]

ส่วนลุ่มน้ำของระบบแม่น้ำอื่น ๆ ที่มีความสำคัญ รองลงมาได้แก่ ลุ่มแม่น้ำโคธาวารีนาเลีย (Godavari) ในเขตที่ราบสูงเดคคาน ระบบน้ำตาปี (Tapi) ในภาคเหนือ และระบบน้ำเพนเนอร์ (Penner) ในภาคใต้ การที่อินเดียถูกแวดล้อมด้วยพรมแดนธรรมชาติรอบด้าน คือมีทั้งภูเขาและฝั่งทะเลเป็นพรมแดน ได้แยกอินเดียออกจากส่วนอื่น ๆ ของทวีปเอเชีย ทำให้อินเดียตั้งอยู่โดดเดี่ยวตามลำพัง ซึ่งนับว่ามีอิทธิพลเป็นอย่างมากต่อวิถีชีวิตของชาวอินเดีย ทำให้ชาวอินเดียมีอารยธรรมและวัฒนธรรมที่มีลักษณะของตนเองโดยเฉพาะ และในโอกาสเดียวกัน พรมแดนธรรมชาติดังกล่าว ช่วยให้สามารถรักษาวัฒนธรรมของตนให้สืบเนื่องตลอดมาตั้งแต่สมัยโบราณจนถึงสมัยปัจจุบัน

สภาพอากาศของอินเดียนั้นได้รับอิทธิพลจากสองแหล่งใหญ่ ๆ คือเทือกเขาหิมาลัย และทะเลทรายธาร์ ทำให้มีทั้งฤดูร้อนอันอบอุ่น และฤดูหนาวที่มีมรสุม เทือกเขาหิมาลัยนั้นมีบทบาทมากในการป้องกันลมพัดลงลาดเขา (Katabatic wind) ทำให้บริเวณส่วนใหญ่ของประเทศนั้นอบอุ่นกว่าประเทศอื่น ๆ ที่ตั้งอยู่ในละติจูดเดียวกัน ส่วนทะเลทรายธาร์นั้นก็มีบทบาทในการขับเคลื่อนความชื้นของลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ซึ่งลมมรสุมนี้เองที่ทำให้ทุกปี ๆ ระหว่างเดือนมิถุนายนถึงตุลาคมนั้นมีฝนกรดตกในพื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศ

จากการแบ่งเขตภูมิอากาศนั้น อินเดียประกอบด้วยภูมิอากาศหลัก ๆ 4 แบบได้แก่ แบบเขตร้อนชื้น (tropical wet), แบบเขตร้อนแห้งแล้ง (tropical dry), แบบอบอุ่นชื้น (subtropical humid), และแบบเทือกเขาสูง (montanr)[56]

ประวัติศาสตร์

ประวัติศาสตร์ของประเทศอินเดียมีต้นกำเนิดมาจากลุ่มแม่น้ำสินธุ[57] ซึ่งเป็นแหล่งอารยธรรมแรกของอินเดียที่รุ่งเรืองเมื่อประมาณ 2,600 ปีถึง 1,900 ปีก่อนคริสตกาล ต่อมาเมื่อประมาณ 2,000 ถึง 15,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวอินโด-อารยันจากเอเชียกลางอพยพ เข้ามาในอินเดีย และพบกับอารยธรรมสินธุ ทั้งสองอารยธรรมได้ผสมผสานรวมกันเป็นอารยธรรมพระเวทโดยหลักฐานที่สำคัญที่สุดของอารยธรรมนี้คือ คัมภีร์พระเวท ซึ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนาในภาษาสันสกฤต และเป็นรากฐานของศาสนาฮินดู ระบบกฎหมายและการปกครอง ตลอดจนขนบธรรมมเนียมประเพณีของ ชาวอินเดีย อันเป็นที่มาของชื่อยุคพระเวทคัมภีร์ฤคเวทเป็นพระเวทที่เก่าแก่ที่สุด ต่อมาจึงมีคัมภีร์ยชุรเวท สามเวทอาถรรพเวท และมหากาพย์ทั้งหลายซึ่งได้แก่ รามายณะและมหาภารตะ ซึ่งถือกำเนิดในช่วงประมาณพุทธกาลตอนปลายสมัยพระเวท ชาวอารยันในอินเดียอยู่กันเป็นเผ่า เลี้ยงสัตว์เร่ร่อน แต่ต่อมาเริ่มรู้จักเพาะปลูกตั้งรกราก มีการค้าขายทำให้บางเผ่ารวบรวมตั้งตนเป็นอาณาจักรใหญ่ได้และเริ่มมีระบบวรรณะชัดเจน[58]

ต่อมา อารยธรรมอิสลามได้เริ่มขยายอิทธิพลเข้ามาในอินเดียตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 8 โดยพ่อค้ามุสลิมจากตะวันออกกลางและจักรวรรดิอาหรับได้ส่งกองทัพมาโจมตีแคว้นซินด์ (ปัจจุบันอยู่ในปากีสถาน) จักรวรรดิที่มีความยิ่งใหญ่ในสมัยนั้น คือ จักรวรรดิโมกุล (คริสต์ศตวรรษที่ 16-18) เป็นสมัยที่มีการแพร่ขยายอิทธิพลวัฒนธรรมโมกุลอย่างกว้างขวางทั้งในด้านการปกครอง ภาษา ศิลปะ สถาปัตยกรรม และศาสนาอิสลาม[59]

ในสมัยของจักรพรรดิออรังเซพ (Aurangzeb) ซึ่งเป็นผู้เคร่งศาสนาอิสลามได้ออกกฎหมายที่ก่อให้เกิดความขัดแย้งระหว่างชาวฮินดูและมุสลิมและเป็นเหตุให้ชาวอินเดียต่อต้านอำนาจของจักรวรรดิเมื่อสิ้นอำนาจของพระองค์ จักรวรรดิโมกุลก็ค่อยๆแตกแยกและเสื่อมลง เป็นโอกาสให้อังกฤษเข้ามามีอำนาจแทนที่อังกฤษเริ่มเข้าไปมีอิทธิพลในอนุทวีปตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 โดยเข้าไปการค้าขายพร้อมๆ กับการเข้าไปครอบครองดินแดนและแทรกแซงการเมืองท้องถิ่น

จนกระทั่งอินเดียตกอยู่ภายใต้การปกครองของอังกฤษในปี 1877 โดยมีสมเด็จพระราชินีวิคตอเรียแห่งอังกฤษทรงดำรงตำแหน่งสมเด็จพระเจ้าจักรพรรดินีแห่งอินเดีย หลังจากการรณรงค์ต่อสู้กับการปกครองของอังกฤษมาเป็นเวลานาน ภายใต้การนำของมหาตมา คานธี และ ชวาหะร์ลาล เนห์รู อินเดียจึงได้รับเอกราชและร่วมเป็นสมาชิกอยู่ภายใต้เครือจักรภพเมื่อวันที่ 15 สิงหาคม 2490 โดยยังมีพระมหากษัตริย์ของอังกฤษเป็นประมุข และทรงแต่งตั้งข้าหลวงใหญ่เป็นผู้สำเร็จราชการแผ่นดินแทนพระองค์ ต่อมาในวันที่ 26 มกราคม 1947 ได้มีการสถาปนาสาธารณรัฐอินเดียโดยมีประธานาธิบดีเป็นประมุขของรัฐ และนายชวาหะร์ลาล เนห์รู ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีคนแรก[60]

การเมืองการปกครอง

บริหาร

นเรนทระ โมที นายกรัฐมนตรีคนปัจจุบัน

การปกครองของอินเดียเป็นระบอบประชาธิปไตยระบบรัฐสภา แยกศาสนาออกจากการเมือง แบ่งอำนาจการปกครองเป็นสาธารณรัฐ (Secular Democratic Republic with a parliamentary system) แบ่งเป็น 29 รัฐ และดินแดนสหภาพ (Union Territories) อีก 7 เขต[61]

การปกครองของอินเดียมีรัฐธรรมนูญเป็นแม่บท มีประธานาธิบดีเป็นประมุขของรัฐ และประมุขของฝ่ายบริหารตามบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญ แต่อำนาจในการบริหารที่แท้จริงอยู่ที่นายกรัฐมนตรี ประธานาธิบดีคนปัจจุบัน คือ นาย ราม นาถ โกวินท์ เข้ารับตำแหน่งเมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม 2017 ในฐานะประธานาธิบดีคนที่ 13 ส่วนนายกรัฐมนตรีคนปัจจุบันคือนายนเรนทระ โมที (Narendra Modi) เข้ารับตำแหน่งเมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม 2014 ในฐานะนายกรัฐมนตรีคนที่ 15[62] โดยนายกรัฐมนตรี เป็นผู้ที่มีอำนาจในการบริหารอย่างแท้จริง ดำรงตำแหน่งคราวละ 5 ปี ได้รับการแต่งตั้งโดยตรงจากประธานาธิบดี เป็นหัวหน้าคณะรัฐมนตรี (Council of Ministers) ซึ่งได้รับการแต่งตั้งโดยประธานาธิบดี โดยการเสนอแนะของนายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรีประกอบด้วย รัฐมนตรีว่าการ (Cabinet Ministers) รัฐมนตรีที่ขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี (Ministers of State – Independent Charge) และรัฐมนตรีช่วยว่าการ (Ministers of State)[63]

รัฐบาลอินเดียชุดปัจจุบันมี 66 คน ประกอบด้วย นายกรัฐมนตรี 1 คน รัฐมนตรีว่าการ (Cabinet Ministers) 26 คน และรัฐมนตรีที่ขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี (Ministers of State with Independent Charge) และรัฐมนตรีช่วยว่าการ (Ministers of State) 39 คน รวม 66 คน[64]

นิติบัญญัติ

ระบบรัฐสภา ประกอบด้วยราชยสภา (Rajya Sabha) เป็นสภาสูง มีสมาชิกจำนวน 245 คน สมาชิกส่วนใหญ่ มาจากการเลือกตั้งทางอ้อม อีกส่วนมาจากการแต่งตั้งโดยประธานาธิบดี และโลกสภา (Lok Sabha) เป็นสภาล่าง มีสมาชิกจำนวน 545 คน สมาชิกจำนวน 543 คน มาจากการเลือกตั้งโดยตรงและอีก 2 คน มาจากการคัดเลือกของประธานาธิบดี จากกลุ่มอินโด-อารยันในประเทศอยู่ในวาระคราวละ 5 ปี เว้นเสียแต่จะมีการยุบสภา[65]

ตุลาการ

อำนาจตุลาการเป็นอำนาจอิสระ ไม่ขึ้นกับฝ่ายบริหาร มีหน้าที่ปกป้องและตีความรัฐธรรมนูญ ศาลฎีกา (Supreme Court) เป็นศาลสูงสุดของประเทศ ผู้พิพากษาประจำศาลฎีกา มีจำนวนไม่เกิน 25 คน แต่งตั้งโดยประธานาธิบดี ในระดับรัฐ มีศาลสูง (High Court) ของตนเองเป็นศาลสูงสุดของแต่ละรัฐ รองลงมาเป็นศาลย่อย (Subordinate Courts) ซึ่งแตกต่างกันไปในแต่ละรัฐ อย่างไรก็ตาม อำนาจตุลาการของรัฐอยู่ภายใต้ศาลฎีกาซึ่งมีอำนาจสูงสุด[66]

ศาลอินเดียแบ่งเป็นสามชั้น ประกอบด้วย ศาลสูงสุด (Supreme Court) นำโดย ประธานศาลสูงสุดแห่งอินเดีย (Chief Justice of India), ศาลสูง (High Courts) ยี่สิบเอ็ดศาล เป็นศาลชั้นอุทธรณ์ และศาลชั้นต้นอีกจำนวนมาก ศาลสูงสุดมีเขตอำนาจชำระคดีเกี่ยวกับสิทธิขั้นพื้นฐาน, ข้อพิพาทระหว่างรัฐบาลท้องถิ่นกับส่วนกลาง และคดีที่อุทธรณ์มาจากศาลสูง กับทั้งการตีความรัฐธรรมนูญ

การแบ่งเขตการปกครอง

อินเดียแบ่งเขตการปกครองออกเป็น 28 รัฐ (States) (ซึ่งแบ่งย่อยลงเป็นเขต) และ 9 ดินแดนสหภาพ (Union Territories) ได้แก่

แผนที่แสดงรัฐและดินแดนสหภาพของประเทศอินเดีย

รัฐ

ดินแดนสหภาพ

นโยบายต่างประเทศ

ในปี 1950 อินเดียสนับสนุนการปลดปล่อยอาณานิคมในแอฟริกาและเอเชียอย่างแข็งขัน[67] และมีบทบาทสำคัญในขบวนการไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใด อินเดียมีความสัมพันธ์ที่ตึงเครียดกับเพื่อนบ้านอย่างปากีสถาน[68] ทั้งสองประเทศได้ทำสงครามกันถึง 4 ครั้ง: ในปี 1947, 1965, 1971 และ 1999 สงครามเกิดขึ้นในพื้นที่พิพาทของแคชเมียร์ ในช่วงปลายทศวรรษ 1980 กองทัพอินเดียเข้าแทรกแซงในต่างประเทศสองครั้งตามคำเชิญของประเทศเจ้าภาพ ได้แก่ การปฏิบัติการรักษาสันติภาพในศรีลังการะหว่างปี 1987 และ 1990; และการแทรกแซงทางอาวุธเพื่อป้องกันความพยายามก่อรัฐประหารในมัลดีฟส์ในปี 1988 หลังสงครามกับปากีสถานในปี 1965 อินเดียเริ่มสานสัมพันธ์ทางการทหารและเศรษฐกิจอย่างใกล้ชิดกับสหภาพโซเวียต ในช่วงปลายทศวรรษ 1960 สหภาพโซเวียตเป็นผู้จัดหาอาวุธรายใหญ่ที่สุด นอกเหนือจากความสัมพันธ์พิเศษกับรัสเซียอย่างต่อเนื่องแล้ว อินเดียยังมีความสัมพันธ์ด้านการป้องกันประเทศกับอิสราเอลและฝรั่งเศสในวงกว้าง ในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา สมาคมดังกล่าวมีบทบาทสำคัญในสมาคมเอเชียใต้เพื่อความร่วมมือระดับภูมิภาค และองค์การการค้าโลก ประเทศได้จัดหาบุคลากรทางทหารและตำรวจ 100,000 นายเพื่อปฏิบัติหน้าที่ในการรักษาสันติภาพของสหประชาชาติ 35 แห่งทั่ว 4 ทวีป อินเดียเข้าร่วมในการประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก G8+5 และฟอรัมพหุภาคีอื่น ๆ อินเดียมีความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจที่ใกล้ชิดกับประเทศต่างๆ ในอเมริกาใต้[69] เอเชีย และแอฟริกา

อินเดียทำการทดสอบอาวุธนิวเคลียร์ครั้งแรกในปี 1974 และทำการทดสอบใต้ดินเพิ่มเติมในปี 1998 แม้จะมีการวิพากษ์วิจารณ์และการคว่ำบาตรทางทหาร อินเดียไม่ได้ลงนามทั้งสนธิสัญญาห้ามทดสอบนิวเคลียร์อย่างครอบคลุมหรือสนธิสัญญาไม่แพร่ขยายอาวุธนิวเคลียร์ โดยพิจารณาว่าทั้งสองสนธิสัญญามีข้อบกพร่อง นับตั้งแต่สิ้นสุดสงครามเย็น อินเดียได้เพิ่มความร่วมมือทางเศรษฐกิจ ยุทธศาสตร์ และการทหารกับสหรัฐอเมริกาและสหภาพยุโรป ในปี 2008 มีการลงนามข้อตกลงนิวเคลียร์พลเรือนระหว่างอินเดียและสหรัฐอเมริกา แม้ว่าอินเดียจะมีอาวุธนิวเคลียร์อยู่ในขณะนั้นและไม่ได้เข้าร่วมสนธิสัญญาไม่แพร่ขยายอาวุธนิวเคลียร์ แต่ก็ได้รับการยกเว้นจากทบวงการพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศและกลุ่มซัพพลายเออร์นิวเคลียร์ ซึ่งยุติข้อจำกัดก่อนหน้านี้เกี่ยวกับเทคโนโลยีนิวเคลียร์และการพาณิชย์ของอินเดีย เป็นผลให้อินเดียกลายเป็นรัฐอาวุธนิวเคลียร์โดยพฤตินัยชาติที่ 6[70] ต่อมาอินเดียได้ลงนามในข้อตกลงความร่วมมือที่เกี่ยวข้องกับพลังงานนิวเคลียร์พลเรือนกับรัสเซีย ฝรั่งเศส สหราชอาณาจักร และแคนาดา

กองทัพ

ทหารเรือของอินเดีย

ประธานาธิบดีเป็นผู้บัญชาการสูงสุดของกองกำลังติดอาวุธของประเทศ[71][72] ด้วยกองกำลังประจำการ 1.45 ล้านนาย พวกเขาเป็นกองทัพที่ใหญ่เป็นอันดับสองของโลก[73][74] ประกอบด้วยกองทัพอินเดีย กองทัพเรืออินเดีย กองทัพอากาศอินเดีย และหน่วยยามฝั่งอินเดีย งบประมาณการป้องกันประเทศอย่างเป็นทางการของอินเดียในปี 2011 อยู่ที่ 36.03 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือ 1.83% ของจีดีพี สำหรับปีงบประมาณระหว่างปี 2012-2013 มีงบประมาณ 40.44 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ตามรายงานของสถาบันวิจัยสันติภาพนานาชาติแห่งสตอกโฮล์ม (SIPRI) ในปี 2008 ค่าใช้จ่ายทางการทหารประจำปีของอินเดียในแง่ของกำลังซื้ออยู่ที่ 72.7 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ในปี 2011 งบประมาณการป้องกันประเทศเพิ่มขึ้น 11.6% แม้ว่าจะไม่รวมเงินทุนที่เข้าถึงกองทัพผ่านหน่วยงานอื่นของรัฐบาล

ในปี 2012 อินเดียเป็นผู้นำเข้าอาวุธรายใหญ่ที่สุดของโลก ระหว่างปี 2007 ถึง 2011 คิดเป็น 10% ของเงินทุนที่ใช้ในการซื้ออาวุธระหว่างประเทศ ค่าใช้จ่ายทางทหารส่วนใหญ่มุ่งเน้นไปที่การป้องกันประเทศปากีสถานและต่อต้านอิทธิพลของจีนที่เพิ่มขึ้นในมหาสมุทรอินเดีย ในเดือนพฤษภาคม 2017 องค์การวิจัยอวกาศของอินเดียได้เปิดตัวดาวเทียมเอเชียใต้ ซึ่งเป็นของขวัญจากอินเดียไปยังประเทศในกลุ่ม SAARC ที่อยู่ใกล้เคียง ในเดือนตุลาคม 2018 อินเดียได้ลงนามในข้อตกลงมูลค่า 5.43 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (มากกว่า 400 พันล้านดอลลาร์) กับรัสเซียเพื่อจัดหาระบบป้องกันขีปนาวุธจากพื้นสู่อากาศ S-400 Triumf 4 ระบบ ซึ่งเป็นระบบป้องกันขีปนาวุธพิสัยไกลที่ทันสมัยที่สุดของรัสเซีย[75]

เศรษฐกิจ

โครงสร้างเศรษฐกิจ

เศรษฐกิจของอินเดียมีขนาดเป็นอันดับที่ 11 ของโลกเมื่อวัดด้วยค่าจีดีพี[76] และเป็นอันดับ 4 ของโลกเมื่อเทียบด้วยความเท่าเทียมกันของอำนาจซื้อ[77] หลังจากที่ได้มีการปฏิรูปเศรษฐกิจที่แข็งแกร่งโดยนักสังคมนิยมเป็นแรงบันดาลใจให้แก่เศรษฐกิจของประเทศหลังจากได้รับเอกราช อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศได้เติบโตขึ้นอย่างก้าวกระโดด โดยกิจกรรมตลาดเสรีซึ่งริเริ่มในปี 1990 เพื่อการแข่งขันกับนานาชาติและการลงทุนจากต่างประเทศ อินเดียเป็นประเทศอุตสาหกรรมก้าวหน้าเกิดใหม่โดยมีจำนวนประชากรมหาศาล เช่นเดียวกับทรัพยากรทางธรรมชาติและบุคลากรมืออาชีพมีทักษะที่เพิ่มมากขึ้น นักเศรษฐศาสตร์หลายท่านได้ทำนายว่าในปี 2020[78] อินเดียจะกลายเป็นผู้นำทางเศรษฐกิจของโลก

จำนวนชนชั้นกลางกว่า 300 ล้านคนของอินเดียเพิ่มจำนวนโดยเฉลี่ย 5% ต่อปี[79] จากภาพ แสดงถึงการจัดสร้างเขตที่อยู่อาศัยในมุมไบ

อินเดียอยู่ภายใต้นโยบายซึ่งตั้งบนพื้นฐานของสังคมประชาธิปไตย นับจากปี 1947 ถึง 1991 เศรษฐกิจอินเดียมีลักษณะของข้อบังคับขยาย ลัทธิคุ้มครอง การถือกรรมสิทธิ์โดยเอกชน การคอรัปชั่นและการเจริญเติบโตอย่างช้า ๆ[80][81][82][83] จนกระทั่งเริ่มมีการเปลี่ยนแปลงตั้งแต่ปี 1991 ซึ่งมีการเปิดโอกาสเสรีทางเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่อง และได้ส่งผลให้ประเทศเปลี่ยนไปเป็นลักษณะของตลาดเศรษฐกิจแทน[81][82] การฟื้นฟูการปฏิรูปเศรษฐกิจและนโยบายทางเศรษฐกิจที่ดีขึ้นในช่วงทศวรรษ 2000 ได้เร่งให้การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเร็วยิ่งขึ้น ไม่กี่ปีที่ผ่านมานี้ เมืองต่าง ๆ ในอินเดียได้เริ่มเปิดเสรีในข้อบังคับเกี่ยวกับธุรกิจอย่างต่อเนื่อง[84] โดยในปี 2008 อินเดียเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจขนาดใหญ่ที่มีอัตราการเติบโตเร็วที่สุดอันดับสองของโลก[85][86][87] อย่างไรก็ตาม ในปี 2009 อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจของอินเดียกลับลดลงอย่างมากเหลือ 6.8 เปอร์เซนต์[88] ตลอดจนโครงการฟื้นฟูการขาดดุลปีงบประมาณครั้งใหญ่ที่ 6.8 เปอร์เซ็นต์ของจีดีพี ซึ่งจะเป็นระดับสูงที่สุดของโลก[89][90]

แรงงานชาวอินเดียจำนวน 522 ล้านคนเป็นแรงงานที่ใหญ่เป็นอันดับสองของโลก[91] ณ ปี 2017 ภาคบริการคิดเป็น 55.6% ของจีดีพีภาคอุตสาหกรรม 26.3% และภาคเกษตร 18.1% การส่งเงินตราต่างประเทศของอินเดียจำนวน 70 พันล้านดอลลาร์สหรัฐในปี 2014 ซึ่งใหญ่ที่สุดในโลกนั้นมีส่วนสนับสนุนเศรษฐกิจ โดยมีชาวอินเดีย 25 ล้านคนที่ทำงานในต่างประเทศ[92] สินค้าเกษตรที่สำคัญ ได้แก่ ข้าว ข้าวสาลี เมล็ดพืชน้ำมัน ฝ้าย ปอกระเจา ชา อ้อย และมันฝรั่ง อุตสาหกรรมหลัก ได้แก่[93] สิ่งทอ โทรคมนาคม เคมีภัณฑ์ ยา เทคโนโลยีชีวภาพ การแปรรูปอาหาร เหล็ก อุปกรณ์การขนส่ง ซีเมนต์ เหมืองแร่ ปิโตรเลียม เครื่องจักร และซอฟต์แวร์ ในปี 2006 ส่วนแบ่งการค้าภายนอกในจีดีพีของอินเดียอยู่ที่ 24% เพิ่มขึ้นจาก 6% ในปี 1985 และในปี 2008 ส่วนแบ่งการค้าโลกของอินเดียอยู่ที่ 1.68% ในปี 2011 อินเดียเป็นผู้นำเข้ารายใหญ่อันดับ 10 ของโลกและส่งออกรายใหญ่ที่สุดอันดับ 19 สินค้าส่งออกที่สำคัญ ได้แก่ ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม สินค้าสิ่งทอ เครื่องเพชรพลอย ซอฟต์แวร์ สินค้าวิศวกรรม เคมีภัณฑ์ และเครื่องหนัง สินค้านำเข้าที่สำคัญ ได้แก่ น้ำมันดิบ เครื่องจักร อัญมณี ปุ๋ย และเคมีภัณฑ์ ระหว่างปี 2001 ถึง 2011 สัดส่วนของสินค้าปิโตรเคมีและวิศวกรรมในการส่งออกทั้งหมดเพิ่มขึ้นจาก 14% เป็น 42% อินเดียเป็นผู้ส่งออกสิ่งทอรายใหญ่เป็นอันดับสองของโลกรองจากจีน

พลังงาน

กำลังการผลิตของอินเดียในการผลิตพลังงานไฟฟ้าคือ 300 กิกะวัตต์ ซึ่งจำนวนกว่า 42 กิกะวัตต์สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้[94] การใช้ถ่านหินของประเทศเป็นสาเหตุสำคัญของการปล่อยก๊าซเรือนกระจกโดยอินเดีย แต่อินเดียก็เป้นหนึ่งในประเทศที่รณรงค์การใช้พลังงานหมุนเวียนอย่างกว้างขวาง อินเดียปล่อยก๊าซเรือนกระจกเป็นประมาณ 7% ของปริมาณก๊าซทั่วโลก[95] ซึ่งเท่ากับประมาณ 2.5 ตันคาร์บอนไดออกไซด์ต่อคนต่อปี ซึ่งเท่ากับครึ่งหนึ่งของค่าเฉลี่ยโลก[96] การเพิ่มการเข้าถึงไฟฟ้าและการปรุงอาหารที่สะอาดด้วยก๊าซปิโตรเลียมเหลวมีความสำคัญต่อพลังงานในอินเดียปัจจุบัน

การท่องเที่ยว

การท่องเที่ยวในประเทศอินเดียเป็นส่วนสำคัญในเศรษฐกิจของประเทศอินเดียที่กำลังเติบโตอย่างรวดเร็ว สภาการเดินทางและการท่องเที่ยวโลกคำนวณว่าธุรกิจการท่องเที่ยวสร้างรายได้ให้กับอินเดีย ₹16.91 หรือ 9.2% ของจีดีพีประเทศในปี 2018 และทำให้เกิดอาชีพกับผู้คน 42.673 ล้านคน, 8.1% ของการจ้างงานทั้งหมด[97] มีการคาดการณ์ว่าจะเติบโตขึ้นสูงถึง 6.9% หรือ 32.05 แลกห์โคร (14 ล้านล้านบาท) ภายในปี 2028 (9.9% ของจีดีพี)[98] ในเดือนตุลาคม 2015 การท่องเที่ยวเชิงการแพทย์ในประเทศอินเดียมีมูค่าประมาณการอยู่ที่สามพันล้านดอลล่าร์สหรัฐ และคาดการณ์ว่าจะโตขึ้นถึง 7–8 พันล้านดอลล่าร์ในปี 2020[99] ในปี 2014 มีผู้ป่วยต่างชาติ 184,298 รายเข้ามาในประเทศอินเดียเพื่อเข้ารับการรักษา[100]

ในปี 2017 มีนักท่องเที่ยวต่างชาติกว่า 10 ล้านคนเดินทางเข้ามาในอินเดีย เทียบกับจำนวน 8.89 ล้านคนในปี 2016 หรือคิดเป็นการเติบโต 15.6%[101][102][103] ในขณะที่นักท่องเที่ยวภายในประเทศเดินทางไปตามรัฐและยูทีต่าง ๆ อยู่ที่ 1,036.35 ล้านคนในปี 2012 เติบโตขึ้น 16.5% จากปี 2011[104] ในปี 2014 รัฐที่ได้รับความนิยมสูงสุดในการท่องเที่ยวคือรัฐทมิฬนาฑู, รัฐมหาราษฏระ และรัฐอุตตรประเทศ[105] และมีเมืองเดลี, มุมไบ, เจนไน, อัคระ และไชปุระ เป็นเมืองที่มีนักท่องเที่ยวเดินทางเข้ามามากที่สุดห้าอันดับของประเทศ ในปี 2015 นอกจากนี้ในระดับโลก เมืองเดลี อยู่อันดับที่ 28 ขำองจำนวนนักท่องเที่ยวต่างชาติขาเข้า ตามด้วย มุมไบ ที่อันดับ 30, เจนไน ที่อันดับ 43, อัคระ ที่อันดับ 45, ไชปุระ ที่อันดับ 52 และ โกลกาตา ที่อันดับ 90 ของโลก[106] โดยมีกระทรวงการท่องเที่ยวเป็นหน่วยงานรัฐบาลที่กำหนดและดำเนินนโยบายพัฒนาการท่องเที่ยว ภายใต้แคมเปญ อินเคร็ดดิเบิล อินเดีย (Incredible India)

ประชากรศาสตร์

เชื้อชาติ

ประชากรอินเดียมี 1.252 พันล้านคน โดยมีเชื้อชาติ อินโด-อารยัน ร้อยละ 72 ดราวิเดียน ร้อยละ 25 มองโกลอยด์ ร้อยละ 2 และอื่น ๆ ร้อยละ 1 อัตราการเพิ่มของประชากร ร้อยละ 1.8 (ค.ศ. 1999) และอัตราการรู้หนังสือ ร้อยละ 52.1

ระบบชั้นชั้นวรรณะ

ตั้งแต่สมัยโบราณวรรณะที่สำคัญของอินเดียมี 4 วรรณะ ได้แก่[108]

  • วรรณะพราหมณ์ ได้แก่ นักบวช ปัจจุบันอาจตีความไปถึงนักวิชาการ นักวิทยาศาสตร์ และนักการเมือง
  • วรรณะกษัตริย์ ได้แก่ นักรบ ซึ่งอาจรวมไปถึงข้าราชการ
  • วรรณะแพศย์ ได้แก่ พ่อค้า และ นักธุรกิจ
  • วรรณะศูทร ได้แก่ ผู้ใช้แรงงาน ชาวนา กรรมกร และคนยากจน

โดยทั่วไปแล้วสามวรรณะแรกนั้นเปรียบเสมือนชนชั้นปกครอง และวรรณะศูทรเปรียบได้กับผู้ถูกปกครอง นอกจากนี้ในสังคมของชาวฮินดูยังมีการแบ่งวรรณะที่ต่ำที่สุด คือ ชนชั้นจัณฑาล หรือที่รู้จักกันในชื่อยุคใหม่ว่า "ดาลิต" มีความหมายว่า "ผู้เป็นที่รักของพระเจ้า" ซึ่งเป็นชนนั้นที่ถูกเลือกปฏิบัติและมีสิทธิเสรีภาพทางสังคมน้อยที่สุด อย่างไรก็ตาม กฎหมายในสังคมยุคใหม่ของอินเดียได้มีการลดช่องว่างทางสังคมดังกล่าวลง โดยมีการเพิ่มโอกาสทางการศึกษา เช่นการกำหนดโควตาให้นักศึกษาชนชั้นดาลิตเข้าศึกษาโดยไม่ต้องผ่านการสอบคัดเลือก, การเลือกประกอบอาชีพ ตลอดจนสิทธิในการเป็นเจ้าของทรัพย์สิน แต่ยังไม่เป็นที่ยอมรับมากนักในทางปฏิบัติ[109]

ภาษา

ในปัจจุบัน อินเดียมีประชากรกว่า 1,300 ล้านคน[110] ประชากรเหล่านี้มีความแตกต่างทางด้านชาติพันธุ์ และวัฒนธรรม มีภาษาหลักใช้พูดถึง 16 ภาษา เช่น ภาษาฮินดี ภาษาอังกฤษ ภาษาเบงกอล ภาษาอูรดู ฯลฯ และมีภาษาถิ่นมากกว่า 100 ภาษา ภาษาฮินดี ถือว่าเป็นภาษาประจำชาติ เพราะคนอินเดียกว่าร้อยละ 30 ใช้ภาษานี้ คนอินเดียที่อาศัยอยู่รัฐทางตอนเหนือและรัฐทางตอนใต้นอกจากจะใช้ภาษาที่แตกต่างกันแล้ว การแต่งกาย การรับประทานอาหารก็แตกต่างกันออกไปด้วย

ศาสนา

ศาสนาในประเทศอินเดีย (สำมะโนประชากร ปี 2011)[111]

  ไม่ระบุศาสนา (0.2%)

ประเทศอินเดียมีความหลากหลายในศาสนา ลัทธิ ความเชื่อ และการปฏิบัติ โดยทางการแล้วประเทศอินเดียเป็นรัฐฆราวาส (secular state) และไม่มีศาสนาประจำชาติ อนุทวีปอินเดียเป็นแหล่งกำเนิดของศาสนาที่สำคัญของโลกสี่ศาสนา ได้แก่ ศาสนาฮินดู, ศาสนาไชนะ, ศาสนาพุทธ และศาสนาซิกข์ ข้อมูลจากสำมะโนประชากรปี 2011 ระบุว่าประชากรอินเดีย 79.8% นับถือศาสนาฮินดู, 14.2% นับถือศาสนาอิสลาม, 2.3% นับถือศาสนาคริสต์, 1.7% นับถือศาสนาซิกข์, 0.7% ศาสนาพุทธ และ 0.37% นับถือศาสนาไชนะ ทั้งศาสนาโซโรอัสเตอร์, Sanamahism และ ศาสนายูดาย ล้วนมีประวัติศาสตร์เก่าแก่ในประเทศอินเดีย และมีผู้นับถืออยู่ศาสนาละหลายพันคน ประเทศอินเดียมีประชากรที่นับถือศาสนาโซโรอัสเตอร์มากที่สุดในโลก (ทั้ง ปาร์ซี (parsi) และ อิรานี (irani)) และยังมีประชากรที่นับถือศาสนาบาไฮมากที่สุดในโลกเช่นกัน[112] ถึงแม้ทั้งสองศาสนานี้จะเติบโตขึ้นในแถบเปอร์เซียก็ตาม ตลอดทั้งประวัติศาสตร์ของประเทศอินเดีย ศาสนาเป็นส่วนสำคัญของวัฒนธรรมมาตลอด ความหลากหลายทางศาสนาและการยอมรับความต่างทางศาสนา (Religious toleration) ล้วนปรากฏในประเทศทั้งในทางกฎหมายและทางธรรมเนียมปฏิบัติ ในรัฐธรรมนูญอินเดียได้รับรองเสรีภาพทางศาสนาให้เป็นสิทธิขั้นพื้นฐานของประชาชนอินเดีย[113]

เทพเจ้าในความเชื่อของชาวอินเดีย

ในบรรดาเรื่องราวของเทพเจ้าของชนชาติทั้งหลายนั้น เทพเจ้าของอินเดียนับว่ามีเรื่องราวและประวัติความเป็นมาที่ซับซ้อนมากกว่าชาติอื่นๆ[114] และกล่าวกันว่าตั้งแต่สมัยดึกดำบรรพ์ ชนชาติอริยกะ หรืออินเดียอิหร่านที่อพยพไปตั้งถิ่นฐานอยู่ในลุ่มแม่น้ำสินธุ มีการนับถือเทพเจ้าและมีคัมภีร์พระเวทเกิดขึ้น พวกอริยกะ หรืออารยันนั้นแต่เดิมนั้นนับถือธรรมชาติ เช่น ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ ท้องฟ้า ลม และไฟ ต่อมามีการกำหนดให้ปวงเทพเกิดมีหน้าที่กันขึ้น โดยตั้งชื่อตามสิ่งที่เป็นธรรมชาตินั้นๆแล้วก็เกิดมีหัวหน้าเทพเจ้าขึ้น ดังที่ปรากฏอยู่ในคัมภีร์พระเวท ซึ่งก็คือพระอินทร์ จากหลักฐานโบราณที่เป็นจารึกบนแผ่นดินเหนียวอายุราว 1,400 ปี ก่อนคริสตกาล เรียกว่าแผ่นจารึก โบกาซ คุย หรือจารึก เทเรีย ซึ่งขุดพบที่ตำบลดังกล่าว ของดินแดนแคปปาโดเซีย ในตุรกี จารึกนี้ ได้ออกนามเทพเจ้าเป็นพยานถึง 4 องค์ ได้แก่ พระอินทร์ (lndra) เทพเจ้าแห่งพลัง มิทระ (Mitra) พระวรุณ (Varuna)และ นาสัตย์ (Nasatya) คือ พระนาสัตย์อัศวิน (Asvins)[115]

บางตำราได้กล่าวว่า เทพเจ้าดั้งเดิมของพวกอริยกะนั้นได้แก่ พระอินทร์ พระสาวิตรี พระวรุณ และพระยม บ้างก็กล่าวว่า เทพเจ้าที่เก่าที่สุด คือ พระอินทร์ พระพฤหัสบดี พระวรุณ และพระยม

ปัญหาสังคม

แม้จะมีการเติบโตทางเศรษฐกิจในช่วงหลายทศวรรษที่ผ่านมา อินเดียยังคงเผชิญกับความท้าทายทางเศรษฐกิจและสังคม ในปี 2006 อินเดียมีจำนวนประชากรที่อาศัยอยู่ต่ำกว่าเส้นความยากจนของธนาคารโลกมากที่สุดที่ 1.25 ดอลลาร์สหรัฐฯ ต่อวัน[116] สัดส่วนลดลงจาก 60% ในปี 1981 เป็น 42% ในปี 2005 30.7% ของเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปีของอินเดียมีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์[117][118] ตามรายงานขององค์การอาหารและการเกษตรในปี 2015 ประชากร 15% ขาดสารอาหาร[119] โครงการอาหารกลางวันของชาติพยายามที่จะลดอัตราเหล่านี้ลง ตามรายงานของมูลนิธิ Walk Free Foundation ประจำปี 2016 มีคนประมาณ 18.3 ล้านคนในอินเดีย หรือ 1.4% ของประชากรตกเป็นทาสแรงงาน[120] เช่น แรงงานเด็ก[121] การค้ามนุษย์ และการบังคับขอทาน เป็นต้น จากการสำรวจสำมะโนประชากรปี 2011 มีแรงงานเด็ก 10.1 ล้านคนในประเทศ ลดลง 2.6 ล้านคนจาก 12.6 ล้านคนในปี 2001[122] ตั้งแต่ปี 1991 ความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจระหว่างรัฐต่าง ๆ ของอินเดียเติบโตขึ้นอย่างต่อเนื่อง ผลิตภัณฑ์ภายในประเทศสุทธิต่อหัวของรัฐที่ร่ำรวยที่สุดในปี 2007 นั้น มีมูลค่ามากกว่า 3.2 เท่าของบริเวณที่ยากจนที่สุด

โครงสร้างพื้นฐาน

โทรคมนาคม

การศึกษา

มหาวิทยาลัยเดลี

การศึกษาในประเทศอินเดียนั้นดำเนินการผ่านทางโรงเรียนรัฐ (ซึ่งบริหารจัดการในสามระดับ: รัฐบาลกลาง, รัฐ และ ท้องถิ่น) และโรงเรียนเอกชน ภายใต้หลายบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญอินเดีย การศึกษาภาคบังคับโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายนั้นเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานของเยาวชนอายุ 6 ถึง 14 ปี อัตราส่วนของโรงเรียนรัฐบาลต่อโรงเรียนเอกชนในประเทศอินเดียอยู่ที่ 7:5 โดยประเทศอินเดียนั้นได้ดำเนินการเพิ่มอัตราการเข้าศึกษาในระดับประถมศึกษามาตลอด ในปี 2011 พบว่าราว 75% ของประชากรอินเดียที่อายุ 7 ถึง 10 ปีสามารถอ่านออกเขียนได้ (literate)[123] การพัฒนาระบบการศึกษาในประเทศอินเดียถือว่าเป็นหัวใจสำคัญที่นำไปสู่การพัฒนาเศรษฐกิจในประเทศ[124] ถึงแม้สัดส่วนการเข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษาของประชากรอินเดียนั้นได้เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องในทศวรรษที่ผ่านมา มีสัดส่วนผู้เข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษาทั้งประเทศอยู๋ที่ 24% ในปี 2013[125] แต่อินเดียก็ยังไม่ได้เข้าใกล้อัตราส่วนการศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษาของประเทศพัฒนาแล้วประเทศอื่น ๆ เลย[126]

ในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ประเทศอินเดียเป็นประเทศที่มีระบบโรงเรียนเอกชนขนาดใหญ่ พบว่านักเรียน 29% ที่อายุ 6 ถึง 14 ปี ศึกษาระดับประถมศึกษาในโรงเรียนเอกชน[127] ในขณะที่โรงเรียนเทคนิกจำนวนมากก็เป็นโรงเรียนเอกชนเช่นกัน ตลาดการศึกษาเอกชนในประเทศอินเดียมีรายได้อยู่ที่ 450 ล้านดอลล่าร์สหรัฐในปี 2008[128]

ข้อมูลจากรายงานสถานะการศึกษาประจำปี (Annual Status of Education Report: ASER) ปี 2012 ระบุว่าเยาวชนอายุ 6-14 ปีในพื้นที่ชนบท 96.5% ได้เข้าสมัครเรียนระบบการศึกษา นับเป็นปีที่ 4 ที่สัดส่วนนี้สูงเกิน 96% ประเทศอินเดียสามารถคงสัดส่วนการเข้าสู่ระบบการศึกษาของนักเรียนอายุ 6-14 ไว้ที่ประมาณ 95% ตั้งแต่ปี 2007 ถึง 2014 ข้อมูลจาก ASER เมื่อปี 2018 พบว่ามีเยาวชนเพียง 2.8% เท่านั้นที่ยังไม่ได้เข้าสู่ระบบการศึกษา[129] อีกรายงานหนึ่งจากปี 2013 ระบุว่ามีนักเรียนจำนวน 229 ล้านคนเข้าศึกษาในโรงเรียนที่ได้รับการรับรองทั่วประเทศ ในระดับประถม 1-7 (Class I - XII) นับว่าเพิ่มขึ้น 2.3 ล้านคนจากปี 2002 และพบว่าในเด็กผู้หญิงนั้นเพิ่มขึ้นถึง 19%[130] ในขณะที่ในเชิงปริมาณ ประเทศอินเดียกำลังเข้าใกล้การครอบคลุมการศึกษาได้ทั่วถึงทั้งประชากรของประเทศ (universal education) แต่คุณภาพของการศึกษาในประเทศอินเดียนั้นเป็นที่ตั้งคำถามอย่างมาก โดยเฉพาะในโรงเรียนของรัฐบาล ถึงแม้นักเรียนมากกว่า 95% จะเข้าเรียนในระดับประถมศึกษา แต่พบว่าในระดับมัธยมศึกษา มีเยาวชนอินเดียเพียง 40% เท่านั้นที่เข้าศึกษาต่อในเกรด 9-12 (Grades 9-12) หรือเทียบเท่ากับ ม.3-6 ในระบบการศึกษาไทย นับตั้งแต่ปี 2000 ธนาคารโลกได้อุดหนุนทุน 2 พันล้านดอลล่าร์สหรัฐให้กับการศึกษาในประเทศอินเดีย เหตุผลบางประการที่ส่งผลให้คุณภาพการศึกษาในประเทศอินเดียมีระดับที่ต่ำอาจมาจากการขาดแคลนครู อาจารย์[131]

สาธารณสุข

วัฒนธรรม

ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอินเดียยาวนานกว่า 4,500 ปี[132] ในช่วงสมัยเวท (1700 ปีก่อนคริสต์ศักราช - 500 ปีก่อนคริสต์ศักราช) ได้มีการวางรากฐานของปรัชญาฮินดู ตำนาน เทววิทยา และวรรณกรรม ตลอดจนความเชื่อและการปฏิบัติมากมายที่ยังคงมีอยู่ในปัจจุบัน เช่น ธรรมะ กรรม โยกา และโมกษะก่อตั้งขึ้น อินเดียมีชื่อเสียงในด้านความหลากหลายทางศาสนา โดยมีศาสนาฮินดู พุทธ ซิกข์ อิสลาม คริสต์ และศาสนาเชนเป็นศาสนาหลักของประเทศ[133] ศาสนาฮินดู ได้รับการหล่อหลอมโดยสำนักคิดทางประวัติศาสตร์หลายแห่ง รวมทั้งพวกอุปนิษัท โยคะสูตร ขบวนการภักติ และตามปรัชญาของพุทธศาสนา

ศิลปะ

ประเทศอินเดียเป็นดินแดนอารยธรรมแห่งหนึ่งของโลกที่มีการรับอารยธรรมจากภายนอกและเผยแพร่ อารยธรรมไปสู่ดินแดนต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเอเชียตะวันออกและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประเทศ อินเดียได้รับอิทธิพลทางศิลปะจากต่างประเทศ 4 ครั้ง คือ ครั้งที่หนึ่ง ประมาณ 2,000 ปีก่อนพุทธศักราช อิทธิ พลจากประเทศเมโสโปเตเมียได้แพร่เข้ามาในลุ่มแม่น้ำสินธุจนถึงประมาณ 1,000 ปีก่อนพุทธศักราช เมื่อชาว อารยันได้บุกรุกอินเดียและทำลายอารยธรรมดั้งเดิม ครั้งที่สอง ราวพุทธศตวรรษที่ 3 ได้รับอิทธิพลศิลปะจาก อิหร่านและกรีก ครั้งที่สามพุทธศตวรรษที่ 6 ได้รับอิทธิพลของกรีกและโรมันเข้ามามีบทบาทต่อศิลปอินเดีย และครั้งที่ 4 ช่วงพุทธศตวรรษที่ 16 กลุ่มมุสลิมซึ่งนับถือศาสนาอิสลามได้รุกรานอินเดียและพุทธศตวรรษที่ 21 ราชวงศ์ โมกุลเข้าครอบครองอินเดีย[134]

ศิลปะอินเดีย ประกอบด้วยศิลปะหลากหลายรูปแบบ ได้แก่ จิตรกรรม, ประติมากรรม, เครื่องปั้นดินเผาและ ศิลปะสิ่งทอ เช่น ผ้าไหมทอ[135]

สถาปัตยกรรม

สถาปัตยกรรมอินเดียเป็นสถาปัตยกรรมที่มีรากฐานมาจากประวัติศาสตร์ของชาติอินเดีย, วัฒนธรรมอินเดีย และ ศาสนาที่เกิดขึ้นในอินเดีย[136] ซึ่งมีการวิวัฒนาการและพัฒนา แตกต่างกันไปตามยุคสมัยและพื้นที่ ได้รับอิทธิพลจากภายนอกในแต่ละยุค ทั้ง กรีก, โรมัน, เปอร์เซีย และ อิสลาม ผสมผสานกับสถาปัตยกรรมยุคก่อน ๆ และงานศิลปะที่อุทิศเพื่อกษัตริย์และศาสนาอย่างลงตัว

สถาปัตยกรรมอินเดียส่วนใหญ่รวมทั้งทัชมาฮาล ได้รับอิทธิพลจากสถาปัตยกรรมโมกุล และสถาปัตยกรรมอินเดียใต้ ผสมผสานประเพณีท้องถิ่นโบราณเข้ากับรูปแบบที่นำเข้ามา สถาปัตยกรรมพื้นถิ่นก็มีอิทธิพลในระดับภูมิภาคเช่นกัน ชาวอินเดียใช้รูปทรงเรขาคณิตที่แม่นยำและการจัดแนวทิศทางเพื่อสะท้อนให้เห็นโครงสร้างของจักรวาล เช่นการสร้างวัดฮินดู ทัชมาฮาลซึ่งสร้างขึ้นในเมืองอัคราระหว่างปี 1631 ถึง 1648 ตามคำสั่งของจักรพรรดิ ชาห์ จาฮัน เพื่อระลึกถึงพระชายา[137] ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกโดยองค์การยูเนสโกว่าเป็น "อัญมณีแห่งศิลปะมุสลิมในอินเดียและเป็นหนึ่งในผลงานชิ้นเอกของมรดกโลก"[138][139] สถาปัตยกรรมฟื้นฟูอินโด-ซาราเซนิก ซึ่งพัฒนาโดยชาวอังกฤษในปลายศตวรรษที่ 19 ได้นำสถาปัตยกรรมอินโด-อิสลามเข้ามาใช้และพบเห็นได้ในสถานที่สำคัญทั่วไป

ทัชมาฮาล มรดกโลกที่มีชื่อเสียงมากที่สุดแห่งหนึ่ง สะท้อนให้เห็นรูปแบบสถาปัตยกรรมราชวงศ์โมกุล

การแต่งกาย

สตรีชาวอินเดียในชุดส่าหรี
การแต่งกายด้วย Dhoti ของเพศชายในเมืองพาราณาสี

ชาวอินเดียโบราณ สตรีจะนิยมสวมเสื้อแขนยาว แบบชาวจีน แต่ตัวสั้น เพื่อเห็นหน้าท้อง นุ่งกางเกงขาลีบด้านใน ใช้ผ้าบาง ๆ เช่น ฝ้ายลินิน มัสลิน ห่มอีกชิ้น ถ้าเป็นชาวพื้นเมืองจะนุ่งส่าหรี หรือกระโปรงจีบดอกสีแดง หรือนุ่งกางเกงขาว ขายาว ส่วนชายนุ่งผ้าขาวใส่เสื้อแขนยาว ไว้หนวดเครา โพกผ้า

ชุดสตรีที่สวมใส่กันทั้งประเทศได้แก่ ส่าหรี[140] มีลักษณะเป็นผ้าผืนเดียวยาว 6 หลา การสวมใส่ส่าหรีนั้นจะผูกรอบเอวและผูกเป็นปมที่ปลายด้านหนึ่ง พันรอบลำตัวส่วนล่าง และพันรอบไหล่ และในรูปแบบที่ทันสมัยกว่าส่าหรีจะถูกใช้เพื่อคลุมศีรษะ รวมถึงใบหน้า เป็นผ้าคลุม มักถูกนำมารวมกับกระโปรงชั้นและสอดเข้าไปในแถบเอวเพื่อการยึดที่ปลอดภัยยิ่งขึ้น นอกจากนี้ยังมักสวมใส่กับเสื้อเบลาส์อินเดียหรือ choli ซึ่งทำหน้าที่เป็นเสื้อผ้าส่วนบนของลำตัวซึ่งเป็นส่วนปลายของส่าหรี เพื่อปิดบังรูปร่างส่วนบนของร่างกาย[141]

สำหรับผู้ชาย จะสวมผ้าที่สั้นกว่า คือ dhoti ทำหน้าที่เป็นเสื้อผ้าท่อนล่าง ผูกรอบเอวและพันไว้ ทางตอนใต้ของอินเดียมักจะพันรอบลำตัวส่วนล่าง ส่วนบนซุกไว้ในขอบเอว ในภาคเหนือของอินเดีย ยังพันรอบขาแต่ละข้างอีก 1 ครั้ง ก่อนจะยกขึ้นผ่านขาไปซุกที่ด้านหลัง รูปแบบอื่น ๆ ของเครื่องแต่งกายแบบดั้งเดิมที่ไม่เกี่ยวข้องกับการเย็บหรือการตัดเย็บ ได้แก่ แชดดาร์ (ผ้าคลุมไหล่ที่สวมใส่โดยทั้งสองเพศเพื่อคลุมร่างกายส่วนบนในช่วงที่อากาศหนาวเย็น หรือผ้าคลุมศีรษะขนาดใหญ่ที่ผู้หญิงสวมใส่สำหรับครอบศีรษะหรือคลุมศีรษะ) และผ้าปากรี ( ผ้าโพกหัวหรือผ้าพันคอที่พันรอบศีรษะซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของประเพณีหรือเพื่อกันแสงแดดหรือความหนาวเย็น)

วรรณกรรม

ภาพของราวณะตัวละครหลักฝ่ายอธรรมจากเรื่องรามายาณะ ขณะต่อสู้กับนกสดายุ

วรรณกรรมอินเดียได้รับการยอมรับว่ามีอิทธิพลในแง่คำสอนและวัฒนธรรมต่อโลกมาอย่างยาวนาน และมักสะท้อนประเพณี วิถีชีวิต และความเชื่อทางศาสนาสอดแทรกลงไปในวรรณกรรมทุกเรื่อง[142] โดยมีสองมหากาพย์วรรณกรรมที่มีชื่อเสียงที่สุดได้แก่ รามายณะ และ มหาภารตะ[143][144] ที่ได้รับความนิยมไปทั่วโลก นอกจากนี้ยังมีคัมภีร์ปุราณะและเรื่องอื่นๆที่เกี่ยวกับธรรมเนียมกษัตริย์ การสืบราชวงศ์ตามแบบธรรมเนียมโบราณของราชวงศ์ในลุ่มแม่น้ำคงคา วรรณกรรมอินเดียยังมีอิทธิพลต่อชีวิตชาวบ้านในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้อีกด้วย โดยการเล่า การอ่านนิทานแสดงเกี่ยวกับเนื้อเรื่องในวรรณกรรม การแสดงหุ่นกระบอก หนัง ละครที่มีเนื้อหาของวรรณกรรม รามายณะ มหากาพย์ และชาดกในโอกาสต่างๆ

อาหาร

ปาลัก ปานีร์ทานคู่กับโรตีแบบอินเดียเหนือ

อาหารอินเดียเป็นชื่อเรียกโดยรวมของอาหารในอนุทวีปอินเดียซึ่งมีลักษณะร่วมกันคือใช้เครื่องเทศ สมุนไพรและผักหรือผลไม้มาก มีทั้งพืชผักที่ปลูกในประเทศอินเดียและจากที่อื่นๆ นิยมกินอาหารมังสวิรัติในสังคมชาวอินเดีย แต่ละครอบครัวจะเลือกสรรและพัฒนาเทคนิคการทำอาหารทำให้มีความแตกต่างกันไปในแต่ละภูมิภาค สะท้อนให้เห็นถึงความหลากหลายทางด้านประชากรในอินเดีย ความเชื่อของชาวฮินดูและวัฒนธรรมมีบทบาทต่อวิวัฒนาการของอาหารอินเดียมาก[145] แต่ในภาพรวม อาหารทั่วประเทศอินเดียพัฒนามาจากปฏิสัมพันธ์ทางวัฒนธรรมทั้งจากชาวมองโกลและยุโรปทำให้ได้อาหารที่เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง[146][147] การค้าเครื่องเทศระหว่างอินเดียและยุโรปเป็นตัวเร่งหลักสำหรับการค้นพบอินเดียของชาวยุโรป[148] ยุคอาณานิคมได้ทำให้เกิดการผสมผสานระหว่างอาหารยุโรปกับอาหารอินเดียเพิ่มความยืดหยุ่นทำให้เกิดความหลากหลายมากขึ้น [149][150] อาหารอินเดียมีอิทธิพลต่ออาหารทั่วโลกโดยเฉพาะเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และหมู่เกาะแคริบเบียน[151][152]

ด้วยความที่ประเทศอินเดียมีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 7 ของโลก และความหลากหลายของภูมิศาสตร์จึงส่งผลให้มีวิถีชีวิตและการกินอาหารนั้นแตกต่างที่อาจจะมาจากวัฒนธรรมท้องถิ่นและภูมิศาสตร์ เช่น ทางภาคเหนือของอินเดียมีความหนาวเย็น การเลี้ยงแกะจึงเป็นที่นิยมและนำมาเป็นอาหาร ในส่วนของคาร์โบไฮเดรตนั่นนิยมกินเป็นโรตี หรือจาปาตี

อาหารอินเดียมีจุดเด่นในการใช้เครื่องเทศ[153][154][155] ซึ่งมีประวัติมายาวนานกว่า 7,000 ปี[156] เครื่องเทศเหล่านี้รู้จักกันดีในนาม มาซาล่า (Masala) เป็นเครื่องแกงชนิดแห้ง ใช้ในการประกอบอาหารหลายชนิดหรือแม้กระทั่งนำมาโรยข้าวรับประทาน ข้าวของชาวอินเดียจะมีลักษณะเรียวยาวกว่าปกติเรียกว่า ข้าวบัสมาตี (Basmati) มีรสชาติดี แต่ราคาค่อนข้างสูง ตามร้านอาหารจึงเห็นข้าวเหมือนที่รับประทานกันในประเทศอื่น ๆ ในเอเชีย ส่วนใหญ่ชาวอินเดียนิยมทานแผ่นแป้งสุกที่มีทั้งแบบปิ้ง แบบนาบกระทะ และแบบทอด จำพวก โรตี (Roti) จาปาตี (Chapati) พารัตทา (Paratha) นาน (Nan) และปาปัด (Papad) อนึ่ง อาหารของชาวอินเดียมีข้อแตกต่างระหว่างพื้นที่ โดยชาวเหนือนิยมใช้ เนยใส (Ghee) ในการทำอาหาร สีสันที่แดงจัดจ้านมาจากมะเขือเทศมากกว่าพริก รสชาติของอาหารเหนือจึงไม่เผ็ดร้อนมากนัก แต่จะหอมเครื่องเทศ ชาวเหนือโดยเฉพาะอย่างยิ่งในแถบแคชเมียร์จะนิยมใช้ แซฟฟรอน (Saffron) ซึ่งเป็นเครื่องเทศที่มีราคาสูงในการประกอบอาหาร ในขณะที่ชาวใต้นิยมใช้กะทิ และพริกในการปรุงอาหาร อาหารชาวใต้จึงค่อนข้างเผ็ด อย่างไรก็ตาม ชาวอินเดียโดยทั่วไปนิยมทานเผ็ด[157][158][159]

กีฬา

คริกเกต เป็นกีฬาที่ได้รับความนิยมมากที่สุดในอินเดีย

คริกเกตเป็นกีฬาที่ได้รับความนิยมมากที่สุดในอินเดีย[160] การแข่งขันในประเทศที่สำคัญ ได้แก่ พรีเมียร์ลีกอินเดียซึ่งเป็นลีกคริกเก็ตที่มีผู้ชมมากที่สุดในโลกและอยู่ในอันดับ 6 ในบรรดาลีกกีฬาที่ได้รับความนิยมทั้งหมดจากแฟนกีฬาโลก[161] กีฬาพื้นเมืองดั้งเดิมหลายอย่างยังคงได้รับความนิยม เช่น กาบัดดีเปห์ลวานี และกิลลิดันดา ศิลปะการต่อสู้แบบเอเชียรูปแบบแรก ๆ เช่น กาลาริปปายัตตุ มุสตี ยุดธา สิลัมบัม และมาร์มาอดี มีต้นกำเนิดในอินเดีย และยังมีหมากรุกซึ่งมีถิ่นกำเนิดในอินเดีย[162]กำลังกลับมาได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายด้วยจำนวนปรมาจารย์ชาวอินเดียที่เพิ่มสูงขึ้น

จากผลงานของทีมเทนนิสเดวิสคัพในรายการชิงแชมป์โลก Davis Cup และนักเทนนิสชาวอินเดียคนอื่น ๆ ที่พัฒนาฝีมือขึ้นมาในช่วงต้นทศวรรษ 2010 ทำให้เทนนิสเป็นที่นิยมมากขึ้นในประเทศ[163] อินเดียยังผลิตนักกีฬายิงปืนหลายคน และได้รับรางวัลหลายเหรียญจากการแข่งขันกีฬาโอลิมปิก การแข่งขันยิงปืนโลก และเกมเครือจักรภพ กีฬาอื่นๆ ที่ชาวอินเดียประสบความสำเร็จในระดับสากล ได้แก่ แบดมินตัน (ไซนา เนห์วาล และพี วี สินธุเป็นผู้เล่นแบดมินตันหญิงอันดับต้น ๆ ของโลก) มวย และมวยปล้ำ[164] ฟุตบอลเป็นที่นิยมในรัฐเบงกอลตะวันตก กัว รัฐทมิฬนาฑู เกรละ และรัฐทางตะวันออกเฉียงเหนือ มีลีกการแข่งขันในประเทศคือ Indian Super League

วันหยุด

เนื่องจากประเทศอินเดียถือว่าเป็นประเทศหนึ่งที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรมสูง และมีการเฉลิมฉลองเทศกาลและวันหยุดต่าง ๆ อย่างหลากหลาย อย่างไรก็ตามในประเทศอินเดียมีวันหยุดราชการ (national holidays) แค่สามวันเท่านั้น คือ วันสาธารณรัฐ (Republic Day) 26 มกราคม, วันเอกราช (Independence Day) 15 สิงหาคม และ คานธีชยันตี (Gandhi Jayanti) 2 ตุลาคม[165][166]

รัฐแต่ละรัฐจะมีเทศกาลท้องถิ่นที่แตกต่างกันไปตามศาสนาและภาษาหลักของรัฐนั้น ๆ เทศกาลฮินดูที่เป็นที่นิยมสูง เช่น มกรสังกรานติ, โปนคัล (Pongal), มหาศิวาราตรี, โอนาม (Onam), ชันมาษตมี (Janmashtami), สรัสวตีบูชา, ทีปวลี, คเณศจตุรถี, รักษาพันธาน (Raksha Bandhan), โหลี, ทุรคาบูชา, นวราตรี ส่วนเทศกาลของศาสนาเชน เช่น มหาวีระชนมะกัลยนกะ (Mahavir Janma Kalyanak) และ ปรยุษัน (Paryushan) เทศกาลของศาสนาซิกข์ เช่น คุรุนานักชยันตี และ วิสาขี เทศกาลมุสลิม เช่น อีดิลฟิดรีย์, อีดุลอัฎหา, เมาลิด (Mawlid), มุฮัรรอม เทศกาลพุทธ เช่น อามเพฑกรชยันตี, พุทธชยันตี, วันธรรมจักรปราวตาน (Dhammachakra Pravartan Day) และ โลซาร์ (Losar) เทศกาลโซโรอัสเตอร์ปาร์ซี เช่น โนว์รูซ (Nowruz) และเทศกาลคริสต์ เช่น คริสต์สมภพ กับ ปัสกา เช่นเดียวกับวันหยุดสังเกตการณ์ เช่นศุกร์ศักดิ์สิทธิ์

ดูเพิ่ม

หมายเหตุ

  1. "[...] ชนะ คณะ มนะ เป็นเพลงชาติอินเดีย และเพลง วันเดมาตรัม ซึ่งมีส่วนในทางประวัติศาสตร์ช่วงที่อินเดียต้องการเป็นเอกราช สมควรถูกยกย่องเท่ากับ ชนะ คณะ มนะ และควรมีสถานะเดียวกัน"(Constituent Assembly of India 1950).
  2. รายงานจากรัฐธรรมนูญอินเดีย ส่วนที่ 17 ภาษาฮินดีในอักษรเทวนาครีเป็นอักษรทางการของสหภาพ คู่กับภาษาอังกฤษ[5][1][6] รัฐและดินแดนสหภาพสามารถมีภาษาทางการเป็นของตนเอง ซึ่งอยู่นอกเหนือจากภาษาฮินดีและอังกฤษ
  3. มีข้อมูลต่างกันไป ขึ้นอยู่กับว่าจำกัดความ "ภาษา" และ "สำเนียง" อย่างไร โดย Ethnologue จัดให้มี 461 ภาษา (จาก 6,912 ภาษาทั่วโลก) โดย 447 ยังมีผู้ใช้งาน ในขณะที่ 14 สูญพันธุ์แล้ว[12][13]
  4. "ขนาดประเทศยังคงมีความขัดแย้งเนื่องจากมีดินแดนพิพาท รัฐบาลอินเดียระบุว่ามีพื้นที่ 3,287,260 ตารางกิโลเมตร (1,269,220 ตารางไมล์) และมีพื้นที่ดินทั้งหมด 3,060,500 ตารางกิโลเมตร (1,181,700 ตารางไมล์); สหประชาชาติระบุว่ามีพื้นที่ 3,287,263 ตารางกิโลเมตร (1,269,219 ตารางไมล์) และมีพื้นที่ดินทั้งหมด 2,973,190 ตารางกิโลเมตร (1,147,960 ตารางไมล์)"(Library of Congress 2004).
  5. ดู Date and time notation in India.
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "remaining religions" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 1.2 National Informatics Centre 2005.
  2. 2.0 2.1 2.2 2.3 "National Symbols | National Portal of India". India.gov.in. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 February 2017. สืบค้นเมื่อ 1 March 2017. The National Anthem of India Jana Gana Mana, composed originally in Bengali by Rabindranath Tagore, was adopted in its Hindi version by the Constituent Assembly as the National Anthem of India on 24 January 1950.
  3. "National anthem of India: a brief on 'Jana Gana Mana'". News18. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 17 April 2019. สืบค้นเมื่อ 7 June 2019.
  4. Wolpert 2003, p. 1.
  5. Ministry of Home Affairs 1960.
  6. "Profile | National Portal of India". India.gov.in. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 30 August 2013. สืบค้นเมื่อ 23 August 2013.
  7. "Constitutional Provisions – Official Language Related Part-17 of the Constitution of India". Government of India (ภาษาฮินดี). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 18 April 2021. สืบค้นเมื่อ 18 April 2021.
  8. Khan, Saeed (25 January 2010). "There's no national language in India: Gujarat High Court". The Times of India. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 18 March 2014. สืบค้นเมื่อ 5 May 2014.
  9. "Learning with the Times: India doesn't have any 'national language'". The Times of India. 16 November 2009. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 October 2017.
  10. "Hindi, not a national language: Court". Press Trust of India via The Hindu. Ahmedabad. 25 January 2010. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 July 2014. สืบค้นเมื่อ 23 December 2014.
  11. "Report of the Commissioner for linguistic minorities: 50th report (July 2012 to June 2013)" (PDF). Commissioner for Linguistic Minorities, Ministry of Minority Affairs, Government of India. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 8 July 2016. สืบค้นเมื่อ 26 December 2014.
  12. Lewis, M. Paul; Simons, Gary F.; Fennig, Charles D., บ.ก. (2014). "Ethnologue: Languages of the World (Seventeenth edition) : India". Dallas, Texas: SIL International. สืบค้นเมื่อ 15 December 2014.
  13. Ethnologue : Languages of the World (Seventeenth edition) : Statistical Summaries เก็บถาวร 17 ธันวาคม 2014 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. Retrieved 17 December 2014.
  14. "C −1 Population by religious community – 2011". Office of the Registrar General & Census Commissioner. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 25 August 2015. สืบค้นเมื่อ 25 August 2015.
  15. "การประเมินประชากรโลก พ.ศ. 2560". ESA.UN.org (custom data acquired via website). United Nations Department of Economic and Social Affairs, Population Division. สืบค้นเมื่อ 10 September 2017.
  16. "Population Enumeration Data (Final Population)". 2011 Census Data. Office of the Registrar General & Census Commissioner, India. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 22 May 2016. สืบค้นเมื่อ 17 June 2016.
  17. "A – 2 Decadal Variation in Population Since 1901" (PDF). 2011 Census Data. Office of the Registrar General & Census Commissioner, India. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 30 April 2016. สืบค้นเมื่อ 17 June 2016.
  18. 18.0 18.1 18.2 18.3 "World Economic Outlook Database, April 2021". IMF.org. International Monetary Fund. April 2021. สืบค้นเมื่อ 6 April 2021.
  19. "Gini Index coefficient". CIA : The World Factbook. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 7 July 2021. สืบค้นเมื่อ 10 July 2021.
  20. "Human Development Report 2020" (PDF) (ภาษาอังกฤษ). United Nations Development Programme. 15 December 2020. สืบค้นเมื่อ 15 December 2020.
  21. "List of all left- & right-driving countries around the world". worldstandards.eu. 13 May 2020. สืบค้นเมื่อ 10 June 2020.
  22. "HTLS 2019: The evolution of the world's largest democracy". Hindustan Times (ภาษาอังกฤษ). 2019-11-25.
  23. https://www.europarl.europa.eu/RegData/etudes/ATAG/2014/538956/EPRS_ATA(2014)538956_REV1_EN.pdf
  24. "India country profile". BBC News (ภาษาอังกฤษแบบบริติช). 2019-02-18. สืบค้นเมื่อ 2021-07-08.
  25. "Largest countries in the world". Statista (ภาษาอังกฤษ).
  26. Dyson, Tim (2018-09-27). A Population History of India: From the First Modern People to the Present Day (ภาษาอังกฤษ). Oxford University Press. ISBN 978-0-19-882905-8.
  27. Dyson, Tim (2018-09-27). A Population History of India: From the First Modern People to the Present Day (ภาษาอังกฤษ). Oxford University Press. ISBN 978-0-19-882905-8.
  28. Lowe, John J. (2015-04-23). Participles in Rigvedic Sanskrit: The Syntax and Semantics of Adjectival Verb Forms (ภาษาอังกฤษ). OUP Oxford. ISBN 978-0-19-100505-3.
  29. "Role of women in India's freedom struggle". madhavuniversity.edu.in.
  30. Asher, Catherine B.; Asher; Talbot, Cynthia; Talbot, Assistant Professor of History and Asian Studies Cynthia (2006-03-16). India Before Europe (ภาษาอังกฤษ). Cambridge University Press. ISBN 978-0-521-80904-7.
  31. Chakraborty, Debasree. "Greatest Examples of Mughal Architectures in India". www.heritagehotelsofindia.com (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน).
  32. Limited, Bangkok Post Public Company. "The magnificence of the Mughals". Bangkok Post. สืบค้นเมื่อ 2021-07-08.
  33. Bary, Wm. Theodore De; Embree, Ainslie T., บ.ก. (1964-12-31). "Approaches to Asian Civilizations". doi:10.7312/deba90382. {{cite journal}}: Cite journal ต้องการ |journal= (help)
  34. Marshall, P. J. (2001-08-02). The Cambridge Illustrated History of the British Empire (ภาษาอังกฤษ). Cambridge University Press. ISBN 978-0-521-00254-7.
  35. Metcalf, Barbara (2006). A concise history of modern India. Thomas R. Metcalf, Barbara Metcalf (2nd ed ed.). New York: Cambridge University Press. ISBN 978-0-511-24698-2. OCLC 161834406. {{cite book}}: |edition= has extra text (help)
  36. Copland, Ian (2001). India, 1885-1947 : the unmaking of an empire. Harlow, England: Longman. ISBN 0-582-38173-8. OCLC 47023696.
  37. Dyson, Tim (2018-09-27). A Population History of India: From the First Modern People to the Present Day (ภาษาอังกฤษ). Oxford University Press. ISBN 978-0-19-882905-8.
  38. Fisher, Michael H. (2018-10-18). An Environmental History of India: From Earliest Times to the Twenty-First Century (ภาษาอังกฤษ). Cambridge University Press. ISBN 978-1-107-11162-2.
  39. "India's Space Program". The New York Times (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). ISSN 0362-4331. สืบค้นเมื่อ 2021-07-08.
  40. "India Announces Plans For Its First Human Space Mission". NPR.org (ภาษาอังกฤษ).
  41. "INDIA SPACE MISSION: Latest News & Videos, Photos about INDIA SPACE MISSION | The Economic Times - Page 1". The Economic Times.
  42. Metcalf, Barbara D.; Metcalf, Thomas R. (2012-09-24). A Concise History of Modern India (ภาษาอังกฤษ). Cambridge University Press. ISBN 978-1-107-02649-0.
  43. Dyson, Tim (2018-09-27). A Population History of India: From the First Modern People to the Present Day (ภาษาอังกฤษ). Oxford University Press. ISBN 978-0-19-882905-8.
  44. "The impact of air pollution on deaths, disease burden, and life expectancy across the states of India: the Global Burden of Disease Study 2017". The Lancet. Planetary Health. 3 (1): e26–e39. 2019-1. doi:10.1016/S2542-5196(18)30261-4. ISSN 2542-5196. PMC 6358127. PMID 30528905. {{cite journal}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  45. http://www.frienvis.nic.in/Database/Forest-Cover-in-States-UTs-2019_2478.aspx
  46. Fisher, Michael H. (2018-10-18). An Environmental History of India: From Earliest Times to the Twenty-First Century (ภาษาอังกฤษ). Cambridge University Press. ISBN 978-1-107-11162-2.
  47. "Etymology of the Name India". World History Encyclopedia (ภาษาอังกฤษ).
  48. "From Meluha to Hindustan, the many names of India and Bharat". The Indian Express (ภาษาอังกฤษ). 2020-06-07.
  49. "'India, that is Bharat…': One Country, Two Names". web.archive.org. 2015-09-28.
  50. Barrow, Ian J. (2003). "From Hindustan to India: Naming change in changing names". South Asia: Journal of South Asian Studies. 26 (1): 37–49.
  51. "India - Geography". countrystudies.us.
  52. "Geography of India". www.cs.mcgill.ca.
  53. "India | History, Map, Population, Economy, & Facts". Encyclopedia Britannica (ภาษาอังกฤษ).
  54. "India Country Profile - National Geographic Kids". Geography (ภาษาอังกฤษ). 2014-03-21.
  55. "India Geography Maps, India Geography, Geographical Map of India". Maps of India (ภาษาอังกฤษ).
  56. "Profile | National Portal of India". www.india.gov.in.
  57. "ข้อมูลพื้นฐาน". Royal Thai Embassy, New Delhi, Republic of India.
  58. "India". HISTORY (ภาษาอังกฤษ).
  59. "India - History". Encyclopedia Britannica (ภาษาอังกฤษ).
  60. "Ancient India". World History Encyclopedia (ภาษาอังกฤษ).
  61. "การเมืองการปกครองอินเดีย". Royal Thai Embassy, New Delhi, Republic of India.
  62. "My Government | National Portal of India". www.india.gov.in.
  63. https://thecommonwealth.org/our-member-countries/india/constitution-politics
  64. "India - Government and politics". Encyclopedia Britannica (ภาษาอังกฤษ).
  65. https://mays.tamu.edu/center-for-international-business-studies/wp-content/uploads/sites/14/2015/10/Indias-Political-System.pdf
  66. "India - Government and politics". Encyclopedia Britannica (ภาษาอังกฤษ).
  67. "MEA | Briefs on Foreign Relations". mea.gov.in.
  68. "No ties with Pakistan at India's cost, relations with New Delhi long-term: Russia". www.timesnownews.com (ภาษาอังกฤษ).
  69. "India and Latin America Trade - Economic Ties Latin America and India". web.archive.org. 2017-05-25.
  70. "Indian Nuclear Weapons Program | India Outside Nuclear Non-Proliferation Treaty | NTI". www.nti.org.
  71. "The Official Home Page of the Indian Army". www.indianarmy.nic.in.
  72. "The Official Home Page of the Indian Army". www.indianarmy.nic.in.
  73. "The world's biggest armies: Ranking the top 10 accross the globe". www.army-technology.com (ภาษาอังกฤษแบบบริติช).
  74. "Largest armies in the world by personnel 2020". Statista (ภาษาอังกฤษ).
  75. Oct 5, TIMESOFINDIA COM / Updated:; 2018; Ist, 15:12. "S400 missile system: Why India wants to buy S-400 defence system from Russia | India News - Times of India". The Times of India (ภาษาอังกฤษ).{{cite web}}: CS1 maint: extra punctuation (ลิงก์) CS1 maint: numeric names: authors list (ลิงก์)
  76. "India". International Monetary Fund. สืบค้นเมื่อ 21 April 2010.
  77. "CIA — The World Factbook — Rank Order — GDP (purchasing power parity)". Cia.gov. 2009-03-05. สืบค้นเมื่อ 2009-03-13.
  78. "India Vision 2020" (PDF). สืบค้นเมื่อ 2009-12-12.
  79. Marketing in the 21st Century: New world marketing - By Bruce David Keillor. Books.google.com. ISBN 9780275992767. สืบค้นเมื่อ 2010-04-05.
  80. Eugene M. Makar (2007). An American's Guide to Doing Business in India.
  81. 81.0 81.1 "Economic survey of India 2007: Policy Brief" (PDF). OECD. สืบค้นเมื่อ 2009-06-21.
  82. 82.0 82.1 "India Stumbles in Rush to a Free Market Economy". New York Times.
  83. "India's Rising Growth Potential" (PDF). Goldman Sachs. 2007. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2011-07-24. สืบค้นเมื่อ 2009-06-21.
  84. "Doing Business in India 2009". World Bank. สืบค้นเมื่อ 2010-06-08.
  85. "India now second fastest growing economy". Australiannews.net. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-11-24. สืบค้นเมื่อ 2010-04-05.
  86. Maurice R. Landes (2009-12-17). "USDA - India". Ers.usda.gov. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-05-20. สืบค้นเมื่อ 2010-04-05.
  87. Marketing in the 21st Century: New world marketing - By Bruce David Keillor. Books.google.com. ISBN 9780275992767. สืบค้นเมื่อ 2010-04-05.
  88. "World GDP Contracted 2% in 2009". สืบค้นเมื่อ 2010-07-02.[ลิงก์เสีย]
  89. "India's fiscal deficit to be highest in the world: Goldman". Rediff.com. 2004-12-31. สืบค้นเมื่อ 2010-04-05.
  90. http://www.business-standard.com/india/news/pmeac-for-including-expense-targets-in-fiscal-discipline/374074/ PMEAC for including expense targets in fiscal discipline
  91. https://tradestat.commerce.gov.in/eidb/default.asp
  92. "Trade Statistics". Mcommerce (ภาษาอังกฤษ).
  93. "Indian Trade Portal". www.indiantradeportal.in.
  94. "India's Total Power Generation Capacity Crosses 300 GW Mark". web.archive.org. 2017-06-16.
  95. "India's carbon emissions fall for first time in four decades". BBC News (ภาษาอังกฤษแบบบริติช). 2020-05-12. สืบค้นเมื่อ 2021-09-25.
  96. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-10-06. สืบค้นเมื่อ 2021-09-25.
  97. "2019 ANNUAL RESEARCH: KEY HIGHLIGHTS" (PDF). WTTC. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2019-12-30. สืบค้นเมื่อ 15 March 2019.
  98. "Travel & Tourism Economic Impact 2018 India" (PDF). World Travel and Tourism Council. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2018-03-22. สืบค้นเมื่อ 22 March 2017.
  99. "Indian medical tourism industry to touch $8 billion by 2020: Grant Thornton – The Economic Times". The Economic Times. สืบค้นเมื่อ 16 April 2016.
  100. "Promotion of Medical Tourism". Press Information Bureau. สืบค้นเมื่อ 28 April 2016.
  101. Sanjay Kumar (15 January 2018). "15.2% Growth in Foreign Tourist Arrivals in December, 2017 Over December, 2016; 48.3% Growth in Foreign Tourist Arrivals on e-Tourist visa in December, 2017 Over December, 2016". Press Information Bureau, Government of India, Ministry of Tourism. สืบค้นเมื่อ 7 March 2018.
  102. Team, BS Web (17 January 2018). "India attracted 10 mn foreign tourists in 2017, sports to bring more". Business Standard India. สืบค้นเมื่อ 11 February 2018.
  103. "Performance of Tourism Sector during December, 2016" (PDF). Ministry of Tourism. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2017-03-02. สืบค้นเมื่อ 28 February 2017.
  104. "India's Domestic Tourists increase by 16% crossing 1 Billion Mark". news.biharprabha.com. Indo-Asian News Service. สืบค้นเมื่อ 21 February 2014.
  105. "Tamil Nadu, UP pip Goa as tourist havens".
  106. Bremner, Caroline. "Top 100 City Destinations Ranking" (PDF). Euromonitor International. สืบค้นเมื่อ 30 January 2017.
  107. "Cities having population 1 lakh and above" (PDF). India Census 2011. 31 January 2012.
  108. "Jati: The Caste System in India". Asia Society (ภาษาอังกฤษ).
  109. Sankaran, Sindhuja; Sekerdej, Maciek; von Hecker, Ulrich (2017). "The Role of Indian Caste Identity and Caste Inconsistent Norms on Status Representation". Frontiers in Psychology (ภาษาอังกฤษ). 0. doi:10.3389/fpsyg.2017.00487. ISSN 1664-1078.
  110. "India Population (2021) - Worldometer". www.worldometers.info (ภาษาอังกฤษ).
  111. "India has 79.8% Hindus, 14.2% Muslims, says 2011 census data on religion". Firstpost. 26 August 2016. สืบค้นเมื่อ 14 August 2016.
  112. Smith, Peter (2008). An introduction to the Baha'i faith. Cambridge University Press. p. 94. ISBN 978-0-521-86251-6.
  113. Basu, Durga Das (2013). Introduction to the Constitution of India (21 ed.). LexisNexis. p. 124. ISBN 978-81-803-8918-4.
  114. vadkwan (2017-05-29). "อารยธรรมอินเดีย". สังคมน่ารู้กับครูขวัญ.
  115. "Hindu Gods and Goddesses". dummies (ภาษาอังกฤษ).
  116. "Wayback Machine" (PDF). web.archive.org. 2012-05-14.
  117. "India home to world's largest number of hungry people: report - World - DAWN.COM". web.archive.org. 2015-05-29.
  118. "India tops world hunger list with 194 million people - The Hindu". web.archive.org. 2016-12-02.
  119. "India - New Global Poverty Estimates". web.archive.org. 2012-05-06.
  120. "India ranks fourth in global slavery survey - The Economic Times". web.archive.org. 2017-10-01.
  121. "Wayback Machine" (PDF). web.archive.org. 2017-12-01.
  122. "Poverty headcount ratio at $1.90 a day (2011 PPP) (% of population) | Data". web.archive.org. 2017-02-15.
  123. "Education in India". World Bank. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 6 April 2012. สืบค้นเมื่อ 8 January 2009.
  124. India achieves 27% decline in poverty, Press Trust of India via Sify.com, 12 September 2008
  125. "Gross enrollment ratio by level of education". UNESCO Institute for Statistics. สืบค้นเมื่อ 10 December 2015.
  126. "Global Education". University Analytics. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 December 2015. สืบค้นเมื่อ 10 December 2015.
  127. "Over a quarter of enrollments in rural India are in private schools". The Hindu. สืบค้นเมื่อ 21 August 2014.
  128. "Indian education: Sector outlook" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 24 September 2015. สืบค้นเมื่อ 23 January 2014.
  129. ASER-2018 RURAL, Annual Status of Education Report (Rural) (PDF). India: ASER Centre. 2019. p. 47. ISBN 9789385203015.
  130. Enrollment in schools rises 14% to 23 crore The Times of India (22 January 2013)
  131. Sharath Jeevan & James Townsend, Teachers: A Solution to Education Reform in India Stanford Social Innovation Review (17 July 2013)
  132. Educational, Educational Britannica; Publishing, Britannica Educational (2010). The Culture of India (ภาษาอังกฤษ). Britannica Educational Publishing. ISBN 978-1-61530-203-1.
  133. Heehs 2002, pp. 2–5.
  134. "ประวัติศาสตร์ศิลปะอินเดีย". www.baanjomyut.com.
  135. "Art & Culture | National Portal of India". www.india.gov.in.
  136. See Raj Jadhav, pp. 7–13 in Modern Traditions: Contemporary Architecture in India.
  137. "Taj Mahal | Definition, Story, Site, History, & Facts". Encyclopedia Britannica (ภาษาอังกฤษ).
  138. "Taj Mahal UNESCO World Heritage Site". Travel (ภาษาอังกฤษ). 2018-02-21.
  139. "Taj Mahal- The World Heritage Site of India | Taj Mahal Heritage Tour". www.tourmyindia.com.
  140. Tarlo 1996, p. 26
  141. Pulin (editors), Basu Kaushik Ray Ranjan And Nayak; Culture, Project of History of Indian Science, Philosophy, and (2002). India's Interaction with China, Central and West Asia (ภาษาอังกฤษ). Oxford University Press. ISBN 978-0-19-565789-0. {{cite book}}: |last= มีชื่อเรียกทั่วไป (help)
  142. https://kb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6885/17/Chapter3_62-98_.pdf
  143. "Ramayana and Mahabharata: Stories, Similarities and Differences". www.asiahighlights.com.
  144. "อินเดียก่อนพุทธกาล : ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนาในอินเดีย". www.dhammathai.org.
  145. Steward, the (pb) by hi. Books.google.com. ISBN 9788125003250. สืบค้นเมื่อ 2009-06-23.
  146. Chandra, Sanjeev; Smita Chandra (February 7, 2008). "The story of desi cuisine: Timeless desi dishes". The Toronto Star.
  147. "Indian food – Indian Cuisine – its history, origins and influences". Indianfoodsco.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-07-26. สืบค้นเมื่อ 2009-06-23.
  148. Louise Marie M. Cornillez (Spring 1999). "The History of the Spice Trade in India".
  149. "Foreign Influences in Modern Indian Cooking". Mit.edu. 1998-01-20. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-07-21. สืบค้นเมื่อ 2009-06-23.
  150. "History of Indian Food and Cooking". Inmamaskitchen.com. สืบค้นเมื่อ 2009-06-23.
  151. "Bot generated title ->". Veg Voyages. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-06-28. สืบค้นเมื่อ 2009-06-23.
  152. "Asia Food Features". Asiafood.org. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2001-05-25. สืบค้นเมื่อ 2009-06-23.
  153. "Countries With the Spiciest Food". TheTopTens (ภาษาอังกฤษ).
  154. "11 Essential Spices for Indian Cooking". Kitchn (ภาษาอังกฤษ).
  155. "Masala Dabba | Indian Spice Box". Ministry of Curry (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). 2019-08-19.
  156. "อาหารการกินในอินเดีย". www.thaifly.com (ภาษาอังกฤษ).
  157. "Spicy food leads to longer life". The Hindu (ภาษาIndian English). 2017-01-22. ISSN 0971-751X. สืบค้นเมื่อ 2021-09-25.
  158. "7 countries that have the spiciest food in the world". The Times of India (ภาษาอังกฤษ). 2019-05-08.
  159. Sharma, Kaustubha (2018-07-19). "5 States That Offer The Spiciest Food In India". nativeplanet.com (ภาษาอังกฤษ).
  160. Shores, Lori (2007). Teens in India (ภาษาอังกฤษ). Capstone. ISBN 978-0-7565-2063-2.
  161. sidbreakball. "Top 10 most watched sports leagues in the world". www.sportskeeda.com (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน).
  162. "History of Chess in India - Chess Game in India - Origin of Chess in India". www.iloveindia.com.
  163. sharma, By matthew futterman and amol (2009-09-12). "India Aims for Center Court". Wall Street Journal (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). ISSN 0099-9660. สืบค้นเมื่อ 2021-09-25.
  164. Sep 12, Leslie Xavier / TNN /; 2010; Ist, 21:44. "Sushil Kumar wins gold in World Wrestling Championship | More sports News - Times of India". The Times of India (ภาษาอังกฤษ).{{cite web}}: CS1 maint: numeric names: authors list (ลิงก์)
  165. "National holidays". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 15 September 2015. สืบค้นเมื่อ 14 September 2015.
  166. "National and Public holidays". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 12 September 2015. สืบค้นเมื่อ 14 September 2015.

บรรณานุกรม

ภาพรวม

ศัพทมูลวิทยา

ประวัติศาสตร์

ภูมิศาสตร์

ความหลากหลายทางชีวภาพ

การเมือง

ความสัมพันธ์ต่างประเทศและทหาร

เศรษฐกิจ

ประชากรศาสตร์

ศิลปะ

วัฒนธรรม

แหล่งข้อมูลอื่น

รัฐบาล

ข้อมูลทั่วไป

21°N 78°E / 21°N 78°E / 21; 78