รัฐราชสถาน
รัฐราชสถาน | |
---|---|
![]() ที่ตั้งของรัฐราชสถานในประเทศอินเดีย | |
พิกัดภูมิศาสตร์ (ชัยปุระ): 26°36′N 73°48′E / 26.6°N 73.8°Eพิกัดภูมิศาสตร์: 26°36′N 73°48′E / 26.6°N 73.8°E | |
ประเทศ | ![]() |
ก่อตั้ง | 30 มีนาคม 1949 |
เมืองหลวง | ชัยปุระ |
เมืองใหญ่สุด | ชัยปุระ |
อำเภอ | |
การปกครอง | |
• ราชยปาล | กลราช มิศรา (Kalraj Mishra)[1] |
• มุขยมนตรี | อโศก เกหโลต (Ashok Gehlot) (INC) |
• รองมุขยมนตรี | สจิน ปิโลต (Sachin Pilot) (INC) |
• นิติบัญญัติ | ระบบสภาเดี่ยว (200 ที่นั่ง) |
• โลกสภา | ราชยสภา 10 โลกสภา 25 |
พื้นที่ | |
• ทั้งหมด | 342,239 ตร.กม. (132,139 ตร.ไมล์) |
อันดับพื้นที่ | ที่ 1 |
ประชากร (2011)[2] | |
• ทั้งหมด | 68,548,437 คน |
• อันดับ | ที่ 8 |
• ความหนาแน่น | 200 คน/ตร.กม. (520 คน/ตร.ไมล์) |
เดมะนิม | ชาวราชสถาน (Rajasthani) |
GSDP (2019–20)[3] | |
• รวม | ₹10.20 แลกห์โคร (4.3 ล้านล้านบาท) |
• ต่อประชากร | ₹118,159 (50,000 บาท) |
ภาษา[4] | |
• ทางการ | ภาษาฮินดี |
• ทางการเพิ่มเติม | ภาษาอังกฤษ |
• ของภูมิภาค | ภาษาราชสถาน |
เขตเวลา | UTC+05:30 (IST) |
รหัสไอเอสโอ 3166 | IN-RJ |
ทะเบียนพาหนะ | RJ- |
เอชดีไอ (2017) | ![]() ปานกลาง · ที่ 29 |
การรู้หนังสือ (2011) | 66.1%[6] |
อัตราส่วนเพศ (2011) | 928 ♀/1000 ♂[6] |
เว็บไซต์ | Rajasthan.gov.in |
สัญลักษณ์ของรัฐราชสถาน[7] | |
การแสดง | Ghoomar |
สัตว์ | อูฐ และ Chinkara |
สัตว์ปีก | Godawan |
ดอกไม้ | Rohida |
ต้นไม้ | Khejri |
กีฬา | บาสเกตบอล |
ราชสถาน (ฮินดี: राजस्थान, แปลว่า ดินแดนแห่งราชา;[8] อังกฤษ: Rajasthan) เป็นรัฐหนึ่งทางตอนเหนือของประเทศอินเดีย[9][10][11] มีพื้นที่ 342,239 ตารางกิโลเมตร (132,139 ตารางไมล์) หรือคิดเป็น 10.4 เปอร์เซ็นต์ของพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ทั้งหมดของประเทศอินเดีย และเป็นรัฐที่มีอาณาเขตใหญ่ที่สุดในประเทศอินเดีย และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 7 รัฐราชสถานตั้งอยู่บริเวณทางตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศอินเดีย พื้นที่ของรัฐประกอบด้วยพื้นที่กว้างขวางและอยู่อาศัยไม่ได้ของทะเลทรายธาร์ และมีอาณาเขตติดต่อกับประเทศปากีสถาน ทางแคว้นปัญจาบทางตะวันตกเฉียงเหนือ และแคว้นสินธ์ทางตะวันตก นอกจากนี้รัฐราชสถานยังติดต่อกับรัฐปัญจาบทางเหนือ, รัฐหรยาณาและรัฐอุตตรประเทศทางตะวันออกเฉียงเหนือ รัฐมัธยประเทศทางตะวันออกเฉียงใต้ และรัฐคุชราตทางตะวันตกเฉียงใต้
รัฐราชสถานเป็นที่ตั้งของซากปรักหักพังของอารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ ที่ Kalibanga กับ Balathal, หมู่ไชนมนเทียรทิลวร ศาสนสถานสำคัญของศาสนาเชน บนสถานีบนเขาแห่งเดียวของรัฐ, เขาอาบู ส่วนหนึ่งของเทือกเขาอรวัลลี และอุทยานแห่งชาติ Keoladeo National Park ที่ภารตปุระ แหล่งมรดกโลก[12]
รัฐราชสถานก่อตั้งขึ้นในวันที่ 30 มีนาคม 1949 เมื่อราชปุตนะ (Rajputana) ชื่อซึ่งตั้งโดยบริติชราชสำหรับความเป็นเอกราชในภูมิภาค[13] ได้รวมเข้ากับ Dominion of India รัฐราชสถานมีเมืองหลวงและเมืองใหญ่สุดคือชัยปุระ เมืองสำคัญอื่น ๆ เช่น โชทปุระ, โกตา, พิกเนร์, อัชเมร์, ภารตปุระ และอุทัยปุระ
อ้างอิง[แก้]
- ↑ PTI (1 September 2019). "Kalraj Mishra is new governor of Rajasthan, Arif Mohd Khan gets Kerala | India News - Times of India". The Times of India (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 1 September 2019.
- ↑ "Rajasthan Profile" (PDF). Census of India. เก็บ (PDF) จากแหล่งเดิมเมื่อ 16 September 2016. สืบค้นเมื่อ 21 July 2016.
- ↑ "MOSPI Net State Domestic Product, Ministry of Statistics and Programme Implementation, Government of India". สืบค้นเมื่อ 7 April 2020.
- ↑ "Report of the Commissioner for linguistic minorities: 52nd report (July 2014 to June 2015)" (PDF). Commissioner for Linguistic Minorities, Ministry of Minority Affairs, Government of India. pp. 34–35. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม (PDF) เมื่อ 28 December 2017. สืบค้นเมื่อ 16 February 2016.
- ↑ "Sub-national HDI – Area Database – Global Data Lab". hdi.globaldatalab.org (ภาษาอังกฤษ). เก็บ จากแหล่งเดิมเมื่อ 23 September 2018. สืบค้นเมื่อ 13 September 2018.
- ↑ 6.0 6.1 "Census 2011 (Final Data) – Demographic details, Literate Population (Total, Rural & Urban)" (PDF). planningcommission.gov.in. Planning Commission, Government of India. เก็บ (PDF) จากแหล่งเดิมเมื่อ 27 January 2018. สืบค้นเมื่อ 3 October 2018.
- ↑ "Symbols of Rajasthan". Government of Rajasthan. เก็บ จากแหล่งเดิมเมื่อ 14 November 2016. สืบค้นเมื่อ 13 November 2016.
- ↑ Boland-Crewe, Tara; Lea, David (2003). The Territories and States of India (ภาษาอังกฤษ). Routledge. p. 208. ISBN 9781135356255. สืบค้นเมื่อ 26 October 2019.
- ↑ "INTER-STATE COUNCIL SECRETARIAT – Ministry of Home Affairs, Government of India". Ministry of Home Affairs. เก็บ จากแหล่งเดิมเมื่อ 17 February 2017. สืบค้นเมื่อ 1 December 2018.
- ↑ "North Zone Cultural Centre". www.culturenorthindia.com. Ministry of Culture, Government of India. เก็บ จากแหล่งเดิมเมื่อ 19 October 2018. สืบค้นเมื่อ 1 December 2018.
- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อLanguage
- ↑ "World Heritage List". เก็บ จากแหล่งเดิมเมื่อ 30 October 2010. สืบค้นเมื่อ 18 March 2011.
- ↑ R.K. Gupta; S.R. Bakshi (1 January 2008). Studies in Indian History: Rajasthan Through The Ages The Heritage Of Rajputs (Set Of 5 Vols.). Sarup & Sons. pp. 143–. ISBN 978-81-7625-841-8. สืบค้นเมื่อ 15 November 2015.