ประเทศไซปรัส

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
สาธารณรัฐไซปรัส

Κυπριακή Δημοκρατία (กรีก)
Kıbrıs Cumhuriyeti (ตุรกี)
เพลงชาติὝμνος εἰς τὴν Ἐλευθερίαν
Imnos is tin Eleftherian[a]
"เพลงสรรเสริญแด่เสรีภาพ"
สถานที่ตั้งของไซปรัส (สีเขียวเข้ม) และไซปรัสเหนือ (สีเขียวสว่าง) ประเทศที่อยู่ในกลุ่มสหภาพยุโรป (สีเขียวอ่อน)
สถานที่ตั้งของไซปรัส (สีเขียวเข้ม)
และไซปรัสเหนือ (สีเขียวสว่าง)
ประเทศที่อยู่ในกลุ่มสหภาพยุโรป (สีเขียวอ่อน)
เมืองหลวง
และเมืองใหญ่สุด
นิโคเซีย
35°10′N 33°22′E / 35.167°N 33.367°E / 35.167; 33.367
ภาษาราชการภาษากรีก และภาษาตุรกี
การปกครองรัฐเดี่ยว ระบบประธานาธิบดี สาธารณรัฐรัฐธรรมนูญ
• ประธานาธิบดี
Nikos Christodoulides
• รองประธานาธิบดี
ว่าง
สภานิติบัญญัติสภาผู้แทนราษฎร
เอกราช 
• วันที่
16 สิงหาคม ค.ศ. 1960
พื้นที่
• Total[b]
9,251 ตารางกิโลเมตร (3,572 ตารางไมล์) (162nd)
9
ประชากร
• พ.ศ. 2560 ประมาณ
1,170,125[b][2] (อันดับที่ 158)
• สำมะโนประชากร 2011
838,897[c][3]
123.4[b][4] ต่อตารางกิโลเมตร (319.6 ต่อตารางไมล์) (อันดับที่ 82)
จีดีพี (อำนาจซื้อ) 2562 (ประมาณ)
• รวม
$35.970 พันล้าน[5] (อันดับที่ 126)
$41,572[5] (อันดับที่ 35)
จีดีพี (ราคาตลาด) 2562 (ประมาณ)
• รวม
$24.996 พันล้าน[5] (อันดับที่ 114)
$28,888[5] (อันดับที่ 33)
จีนี (2562)Negative increase 31.1[6]
ปานกลาง
เอชดีไอ (2562)เพิ่มขึ้น 0.887[7]
สูงมาก · อันดับที่ 33
สกุลเงินยูโร (CYP)
เขตเวลาUTC+2 (EET)
• ฤดูร้อน (เวลาออมแสง)
UTC+3 (EEST)
ขับรถด้านซ้ายมือ
รหัสโทรศัพท์357
โดเมนบนสุด.cy

ไซปรัส (อังกฤษ: Cyprus; กรีก: Κύπρος คีโปรส; ตุรกี: Kıbrıs) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐไซปรัส (อังกฤษ: Republic of Cyprus; กรีก: Κυπριακή Δημοκρατία; ตุรกี: Kıbrıs Cumhuriyeti) เป็นเกาะที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 3 ในทะเลเมดิเตอร์เรเนียนทางตะวันออก อยู่ทางใต้ของประเทศตุรกี 44 ไมล์ อยู่ทางตะวันตกของชายฝั่งประเทศซีเรียประมาณ 64 ไมล์ และห่างจากเกาะโรดส์ และเกาะคาร์ปาทอส ทางตะวันออกเฉียงใต้ของกรีซ 240 ไมล์ ไซปรัสเป็นจุดหมายหนึ่งในทะเลเมดิเตอร์เรเนียนที่นักท่องเที่ยวนิยมไปมากที่สุด โดยมีจำนวนนักท่องเที่ยวประมาณ 2.4 ล้านคนต่อปี

ไซปรัสได้รับเอกราชจากการเป็นอาณานิคมจากสหราชอาณาจักร เมื่อปี 1960 และเป็นประเทศสมาชิกในเครือจักรภพในปี 1961

ประวัติศาสตร์[แก้]

เศรษฐกิจ[แก้]

เศรษฐกิจของประเทศไซปรัสมีความหลากหลายและมีอัตราการเจริญเติบโตอย่างต่อเนื่อง ล่าสุดตามประมาณการของกองทุนการเงินระหว่างประเทศ(IMF) ประมาณการไว้ว่า จีดีพีต่อหัวของไซปรัสน่าจะอยู่ที่ประมาณ 28,381 ดอลลาร์สหรัฐ/คน/ปี ซึ่งมากกว่าค่าเฉลี่ยของกลุ่มสหภาพยุโรป

นโยบายสำคัญของรัฐบาลไซปรัส คือ ทำให้ประเทศไซปรัสเป็นฐานสำหรับทำธุรกิจของชาวต่างชาติ และ พยายามผลักดันให้ไซปรัสเข้าเป็นหนึ่งในกลุ่มสหภาพยุโรปให้ได้ และได้เข้าร่วมเป็นสมาชิก ในวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2547

การแบ่งเขตการปกครอง[แก้]

ประเทศไซปรัสแบ่งเขตการปกครองออกเป็น 6 เขต ได้แก่[8]

แผนที่แสดงการแบ่งเขตการปกครอง/ชื่อเขต
เขตแฟมากุสตา
เขตคีรีเนีย
เขตลาร์นากา
เขตลีมาซอล
เขตนิโคเซีย
เขตแพฟอส
 
เมืองที่ใหญ่ที่สุดในไซปรัส
อันดับ ชื่อ เขต ประชากร
นิโคเซีย
นิโคเซีย
ลีมาซอล
ลีมาซอล
1 นิโคเซีย เขตนิโคเซีย 239,277 ลาร์นากา
ลาร์นากา
แฟมากุสตา
แฟมากุสตา
2 ลีมาซอล เขตลีมาซอล 183,656
3 ลาร์นากา เขตลาร์นากา 143,367
4 แฟมากุสตา เขตแฟมากุสตา 42,526
5 แพฟอส เขตแพฟอส 32,754
6 คีรีเนีย เขตคีรีเนีย 26,701
7 โพรทาราส เขตแฟมากุสตา 20,230
8 มอร์เพา เขตนิโคเซีย 14,833
9 อะราดิบเปา เขตลาร์นากา 13,349
10 ปาราลิมนิ เขตแฟมากุสตา

นโยบายต่างประเทศ[แก้]

ความสัมพันธ์กับราชอาณาจักรไทย[แก้]

ความสัมพันธ์ไซปรัส – ไทย
Map indicating location of ไซปรัส and ไทย

ไซปรัส

ไทย

ไทยและไซปรัสได้สถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างกัน เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม 2523 ปัจจุบัน สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงโรม มีเขตอาณาครอบคลุมไซปรัส โดยเอกอัครราชทูตไทยประจำสาธารณรัฐไซปรัส มีถิ่นพำนัก ณ กรุงโรม (อิตาลี) คนปัจจุบันคือ นายสุรพิทย์ กีรติบุตร และมีนายอีเลียส แพนนาอีเดส เป็นกงสุลกิตติมศักดิ์ไทยประจำไซปรัส ส่วนเอกอัครราชทูตไซปรัสประจำประเทศไทยคนปัจจุบัน คือ นาง มาเรีย ไมเคิล โดยมีถิ่นพำนักอยู่ที่กรุงนิวเดลี, ประเทศอินเดีย และนายปณิธิ วสุรัตน์ เป็นกงสุลกิตติมศักดิ์ไซปรัสประจำไทย

ประชากร[แก้]

ศาสนา[แก้]

ภาษา[แก้]

ใช้ทั้งหมด 2 ภาษาเช่น กรีก และ ตุรกี

การศึกษา[แก้]

ดูเพิ่ม[แก้]

หมายเหตุ[แก้]

  1. The Greek national anthem was adopted in 1966 by a decision of the Council of Ministers.[1]
  2. 2.0 2.1 2.2 Including Northern Cyprus, the UN buffer zone and Akrotiri and Dhekelia.
  3. ไม่รวมนอร์เทิร์นไซปรัส

อ้างอิง[แก้]

  1. "National Anthem". www.presidency.gov.cy. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 13 August 2011. สืบค้นเมื่อ 3 June 2015.
  2. "การประเมินประชากรโลก พ.ศ. 2560". ESA.UN.org (custom data acquired via website). United Nations Department of Economic and Social Affairs, Population Division. สืบค้นเมื่อ 10 September 2017.
  3. "Statistical Service – Population and Social Conditions – Population Census – Announcements – Preliminary Results of the Census of Population, 2011" (ภาษากรีก). Statistical Service of the Ministry of Finance of the Republic of Cyprus. 29 December 2011. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 15 January 2013. สืบค้นเมื่อ 29 January 2012.
  4. United Nations, Department of Economic and Social Affairs, Population Division (2013). "World Population Prospects: The 2012 Revision, DB02: Stock Indicators". New York. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 7 May 2015. สืบค้นเมื่อ 18 June 2015.{{cite web}}: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)
  5. 5.0 5.1 5.2 5.3 "Report for Selected Countries and Subjects". World Economic Outlook Database, October 2018. Washington, D.C.: International Monetary Fund. 12 October 2018. สืบค้นเมื่อ 27 April 2017.
  6. "Gini coefficient of equivalised disposable income – EU-SILC survey". ec.europa.eu. Eurostat. สืบค้นเมื่อ 9 August 2021.
  7. Human Development Report 2020 The Next Frontier: Human Development and the Anthropocene (PDF). United Nations Development Programme. 15 December 2020. pp. 343–346. ISBN 978-92-1-126442-5. สืบค้นเมื่อ 16 December 2020.
  8. "EUROPA – The EU at a glance – Maps – Cyprus". Europa (web portal). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-04-18. สืบค้นเมื่อ 27 March 2009.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

รัฐบาล
การท่องเที่ยว
สิ่งพิมพ์อย่างเป็นทางการ

พิกัดภูมิศาสตร์: 35°N 33°E / 35°N 33°E / 35; 33