สาธารณรัฐระบบรัฐสภา

รัฐของโลกแบ่งตามระบอบการปกครอง1
|
2 บางรัฐอาจมีคนนอกเรียกว่าเป็นรัฐอำนาจนิยม บทความนี้กล่าวถึงระบอบการปกครองโดยนิตินัยเท่านั้น

สาธารณรัฐแบบรัฐสภา คือ สาธารณรัฐซึ่งบริหารภายใต้ระบบการปกครองแบบรัฐสภา โดยฝ่ายบริหาร (รัฐบาล) ได้รับความชอบธรรมจากและรับผิดชอบต่อสภานิติบัญญัติ มีสาธารณรัฐแบบรัฐสภาแบบต่าง ๆ ส่วนมากมีการแบ่งแยกชัดเจนระหว่างหัวหน้ารัฐบาลและประมุขแห่งรัฐ โดยหัวหน้ารัฐบาลเป็นผู้ครองอำนาจที่แท้จริง เช่นเดียวกับราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ บ้างรวมบทบาทของประมุขแห่งรัฐและหัวหน้ารัฐบาล เช่นเดียวกับระบบประธานาธิบดี แต่ยังต้องอาศัยอำนาจของรัฐสภา
ประวัติของสาธารณรัฐระบบรัฐสภา[แก้]
ระบอบสาธารณรัฐระบบรัฐสภานั้นเกิดขึ้นครั้งแรก ณ ประเทศฝรั่งเศส[1] ในสมัยสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 3 โดยมีฌูล ทรอชูว์ เป็นนายกรัฐมนตรี ในศตวรรษที 19 ช่วงหลังสงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซีย
รายชื่อประเทศที่ปกครองแบบสาธารณรัฐระบบรัฐสภา[แก้]
แอลเบเนีย
อาร์มีเนีย
ออสเตรีย
บังกลาเทศ
บาร์เบโดส
บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา
บอตสวานา
บัลแกเรีย
โครเอเชีย
เช็กเกีย
ดอมินีกา
เอสโตเนีย
เอธิโอเปีย
ฟีจี
ฟินแลนด์
เยอรมนี
กรีซ
ฮังการี
ไอซ์แลนด์
อินเดีย
อิรัก
ไอร์แลนด์
อิสราเอล
อิตาลี
คิริบาส
คอซอวอ
คีร์กีซสถาน
ลัตเวีย
เลบานอน
มาซิโดเนียเหนือ
มอลตา
หมู่เกาะมาร์แชลล์
มอริเชียส
ไมโครนีเชีย
มอลโดวา
มอนเตเนโกร
พม่า
นาอูรู
เนปาล
ปากีสถาน
ซามัว
ซานมารีโน
เซอร์เบีย
สิงคโปร์
สโลวาเกีย
สโลวีเนีย
โซมาเลีย
แอฟริกาใต้
ซูรินาม
สวิตเซอร์แลนด์
ตรินิแดดและโตเบโก
วานูวาตู
ดูเพิ่ม[แก้]
อ้างอิง[แก้]
- ↑ Arend Lijphart, บ.ก. (1992). Parliamentary versus presidential government. Oxford University Press. ISBN 978-0-19-878044-1.