จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
แผนที่ลงสีแสดงดัชนีการพัฒนามนุษย์ (ข้อมูลใน พ.ศ. 2564 ซึ่งเผยแพร่เมื่อ 8 กันยายน พ.ศ. 2565).
≥ 0.950 | 0.900–0.950 | 0.850–0.899 | 0.800–0.849 | 0.750–0.799 | 0.700–0.749 | 0.650–0.699 | 0.600–0.649 | 0.550–0.599 | 0.500–0.549 | 0.450–0.499 | 0.400–0.449 | ≤ 0.399 | Data unavailable |
แผนที่โลกแสดงดัชนีการพัฒนามนุษย์ (ข้อมูลปี พ.ศ. 2564 ซึ่งเผยแพร่เมื่อ 8 กันยายน พ.ศ. 2565)
สูงมาก | ต่ำ |
สูง | ไม่มีข้อมูล |
ปานกลาง | |
นี่คือ รายการประเทศทั้งหมดเรียงตามดัชนีการพัฒนามนุษย์ ตามที่รวมอยู่ในรายงานการพัฒนามนุษย์ของสำนักงานโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ รายงานฉบับล่าสุดออกเมื่อวันที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2565 สำหรับการประเมินใน พ.ศ. 2564[1]
ดัชนีการพัฒนามนุษย์ (HDI) เป็นการวัดความคาดหมายการคงชีพ การรู้หนังสือ การศึกษา มาตรฐานการครองชีพ และคุณภาพชีวิตสำหรับประเทศทั่วโลกเชิงเปรียบเทียบ โดยเป็นวิธีการมาตรฐานสำหรับวัดความอยู่ดีกินดี โดยเฉพาะอย่างยิ่งสวัสดิภาพเด็ก นอกจากนี้ ดัชนียังใช้แยกแยะว่าประเทศนั้นเป็นประเทศพัฒนาแล้ว กำลังพัฒนา หรือด้อยพัฒนา และยังใช้วัดผลกระทบของนโยบายเศรษฐกิจต่อคุณภาพชีวิต มาห์บับ อุลฮัก นักเศรษฐศาสตร์ชาวปากีสถาน และอมาตยา เซน นักเศรษฐศาสตร์ชาวอินเดีย พัฒนาดัชนีดังกล่าวขึ้นใน พ.ศ. 2533
อันดับใน พ.ศ. 2564[แก้]
= สูงขึ้น
= คงเดิม
= ต่ำลง
การพัฒนาสูงมาก[แก้]
การพัฒนาสูง[แก้]
การพัฒนาปานกลาง[แก้]
การพัฒนาต่ำ[แก้]
แบ่งตามภูมิภาค[แก้]
แอฟริกา[แก้]
10 อันดับสูงสุด
|
10 อันดับต่ำสุด
|
อเมริกาเหนือและหมู่เกาะแคริบเบียน[แก้]
9 อันดับสูงสุด
|
10 อันดับต่ำสุด
|
อเมริกาใต้[แก้]
เอเชีย[แก้]
10 อันดับสูงสุด
|
10 อันดับต่ำสุด
|
ยุโรป[แก้]
10 อันดับสูงสุด
|
10 อันดับต่ำสุด
|
โอเชียเนีย[แก้]
หมายเหตุ[แก้]