ข้ามไปเนื้อหา

วันเดมาตรัม

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
วันเดมาตรัม
วันเดมาตรัมเขียนโดยบันกิม จันทระ จัตโตรจีในแบบ Raag Desh ตามทำนองใน All India Radio

เพลงของ อินเดีย
เนื้อร้องบันกิม จันทระ จัตโตรจี, อานันทมฐะ (1882)
ทำนองJadunath Bhattacharya (ต้นฉบับ)
Hemanta Mukherjee (ฉบับภาพยนตร์)
รับไปใช้24 มกราคม 1950; 75 ปีก่อน (1950-01-24)
ตัวอย่างเสียง

วันเดมาตรัม (อักษรเทวนาครี: वंदे मातरम्; เบงกอล: বন্দে মাতরম্‌, Bônde Mātôrôm; แปลว่า ข้าสรรเสริญเจ้า มาตุภูมิ) เป็นบทกวีที่นำมาใช้เป็นเพลงชาติสาธารณรัฐอินเดียใน ค.ศ. 1950 เขียนด้วยภาษาเบงกอลที่แผลงเป็นสันสกฤต[1][2] โดยบันกิม จันทระ จัตโตรจีในคริสต์ทศวรรษ 1870[3][4] และตีพิมพ์ครั้งแรกใน ค.ศ. 1882 เป็นส่วนหนึ่งใน อานันทมฐะ วรรณกรรมเบงกอลของจัตโตรจี[5]

บทกวีนี้มีบทบาทสำคัญต่อขบวนการเอกราชอินเดีย โดยเริ่มมีความสำคัญทางการเมืองเมื่อรพินทรนาถ ฐากุรอ่านในที่ประชุมคองเกรสเมื่อ ค.ศ. 1896[6][7][8] ใน ค.ศ. 1905 เพลงดังกล่าวได้รับความนิยมในหมู่ผู้เคลื่อนไหวทางการเมืองและนักต่อสู้เพื่ออิสรภาพในฐานะเพลงเดินขบวน[8] คองเกรสนำสองท่อนแรกของเพลงนี้ใช้เป็นเพลงชาติอินเดียในเดือนตุลาคม ค.ศ. 1937[9][10][11] เพลงนี้กับ อานันทมฐะ ถูกแบนในสมัยอาณานิคมอังกฤษภายใต้การคุกคามด้วยการจำคุก ทำให้การใช้เพลงนี้เป็นการปฏิวัติ รัฐบาลอินเดียยกเลิกการแบนนี้หลังเป็นเอกราชใน ค.ศ. 1947[12][13]

เมื่อวันที่ 24 มกราคม ค.ศ. 1950 Constituent Assembly of India นำเพลง วันเดมาตรัม เป็นเพลงชาติสาธารณรัฐ ราเชนทระ ปรสาท ประธานาธิบดีอินเดีย กล่าวว่าเพลงนี้ควรได้รับเกียรติเทียบเท่ากับชนะ คณะ มนะ เพลงชาติอินเดีย[14] แม้ว่ารัฐธรรมนูญอินเดียไม่ได้ระบุอ้างอิงถึง "เพลงชาติ"[15][16] รัฐบาลทำหนังสือรับรองที่ศาลสูงเดลีในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 2022 โดยระบุว่า ชนะ คณะ มนะ และ วันเดมาตรัม ควร “ตั้งอยู่บนระดับเดียวกัน” และพลเมืองควรแสดงความเคารพต่อทั้งสองเพลงอย่างเท่าเทียม[17]

สองท่อนแรกของเพลงนี้มีการอ้างถึง "มารดา" และ "มาตุภูมิ" ในเชิงนามธรรม โดยไม่มีนัยทางศาสนาใด ๆ อย่างไรก็ตาม สองท่อนหลังมีการกล่าวถึงเทพีฮินดูอย่างพระแม่ทุรคา[18][19]

ไม่มีกฎเกณฑ์ใดๆ ที่ต้องปฏิบัติตามเมื่ออ่าน "วันเดมาตรัม" ซึ่งต่างจากกรณีเพลงชาติ[20]

ชาวอินเดียที่นับถือศาสนาอิสลามและซิกข์คัดค้านการร้องเพลงวันเดมาตรัม เนื่องจากในศาสนาอิสลามและศาสนาซิกข์ มาตุภูมิไม่สามารถถือเป็นเทพีได้[21]

ศัพทมูลวิทยา

[แก้]

เนื้อร้อง

[แก้]

วันเดมาตรัมสองบทแรกที่นำไปใช้เป็น "เพลงชาติ" ระบุตามนี้:

อักษรเบงกอล[22] ถอดเสียงแบบหน่วยเสียงเบงกอล           อักษรเทวนาครี ทับศัพท์แบบ IAST[6][23]

বন্দে মাতরম্৷
সুজলাং সুফলাং
মলয়জশীতলাম্
শস্যশ্যামলাং
মাতরম্!
বন্দে মাতরম্৷.

শুভ্র-জ্যোৎস্না
পুলকিত-যামিনীম্
ফুল্লকুসুমিত
দ্রুমদলশোভিনীম্,
সুহাসিনীং
সুমধুরভাষিণীম্
সুখদাং বরদাং
মাতরম্৷৷
বন্দে মাতরম্৷

Bônde mātôrôm
sujôlāng suphôlāng
môlôyôjôshītôlām
shôsyô shyāmôlāng
mātôrôm
bônde mātôrôm

shubhrô jyotsnā
pulôkitô jāminīm
phullô kusumitô
drumôdôlôshobhinīm
suhāsinīng
sumôdhurôbhāshinī
sukhôdāng bôrôdāng
mātôrôm
bônde mātôrôm

वन्दे मातरम्।
सुजलाम् सुफलाम्
मलयजशीतलाम्
शस्यश्यामलाम् मातरम्।
वन्दे मातरम्।

शुभ्रज्योत्स्नाम्
पुलकितयामिनीम्
फुल्लकुसुमित
द्रुमदलशोभिनीम्
सुहासिनीम्
सुमधुर भाषिणीम्
सुखदाम् वरदाम्
मातरम्॥
वन्दे मातरम्।

vande mātaram
sujalāṃ suphalāṃ
malayajaśītalām
śasyaśyāmalāṃ
mātaram
vande mātaram

śubhrajyotsnām
pulakitayāminīm
phullakusumita
drumadalaśobhinīm
suhāsinīṃ
sumadhura bhāṣhiṇīm
sukhadāṃ varadāṃ
mātaram
vande mātaram

เนื้อร้อง

[แก้]

เนื้อร้องต้นฉบับสมบูรณ์ของวันเดมาตรัมปรากฏใน Vande Mataram  – โดยทาง Wikisource.

ภาพวาดหายากเกี่ยวกับเพลงชาติอินเดีย วันเดมาตรัม ตีพิมพ์ใน ค.ศ. 1923
বন্দে মাতরম্ (อักษรเบงกอล) ทับศัพท์อักษรละติน (IAST) वन्दे मातरम् (ทับศัพท์อักษรเทวนาครี)

বন্দে মাতরম্ ৷
সুজলাং সুফলাং
মলয়জশীতলাম্
শস্যশ্যামলাং
মাতরম্ !

শুভ্রজ্যোৎস্না-পুলকিতযামিনীম্
ফুল্লকুসুমিত-দ্রুমদলশোভিনীম্,
সুহাসিনীং সুমধুরভাষিণীম্
সুখদাং বরদাং মাতরম্ ৷৷

সপ্তকোটীকণ্ঠ-কলকল-নিনাদকরালে,
দ্বিসপ্তকোটীভুজৈর্ধৃতখরকরবালে,
অবলা কেন মা এত বলে !
বহুবলধারিণীং
নমামি তারিণীং
রিপুদলবারিণীং
মাতরম্ ৷

তুমি বিদ্যা তুমি ধর্ম্ম[a]
তুমি হৃদি তুমি মর্ম্ম[b]
ত্বং হি প্রাণাঃ শরীরে ৷
বাহুতে তুমি মা শক্তি,
হৃদয়ে তুমি মা ভক্তি,
তোমারই প্রতিমা গড়ি মন্দিরে মন্দিরে ৷

ত্বং হি দুর্গা দশপ্রহরণধারিণী
কমলা কমল-দলবিহারিণী
বাণী বিদ্যাদায়িণী
নমামি ত্বাং
নমামি কমলাম্
অমলাং অতুলাম্,
সুজলাং সুফলাং
মাতরম্

বন্দে মাতরম্
শ্যামলাং সরলাং
সুস্মিতাং ভূষিতাম্
ধরণীং ভরণীম্
মাতরম্ ৷

Bande[c] Mātaram.
Sujalāṃ suphalām
Malayajaśītalām
Śasyaśyāmalām
Mātaram.

Śubhra-jyotsnā-pulakita-yāminī
Phullakusumita-drumadalaśobhinī,
Suhāsinīṃ sumadhurabhāṣinīm
Sukhadāṃ baradāṃ[d] Mātaram.

Saptakoṭīkanṭha-kala-kala-ninādakarāle
Dbisaptakoṭībhujaidhṛtakharakarabāle,[e]
Abalā[f] kena mā eta bale[g]!
Bahubaladhārinīṃ[h]
Namāmi tarinīṃ
Ripudalabārinīṃ[i]
Mātaram.

Tumi bidyā[j] tumi dharma
Tumi hrṛdi tumi marma
Tbaṃ[k] hi prānāḥ śarīre.
Bāhute tumi mā śakti,
Hṛdaye tumi mā bhakti,
Tomārai pratimā gaṛi mandire mandire.

Tbaṃ[l] hi Durgā daśapraharanadhārinī
Kamalā kamala-dalabihārinī
Bānī[m] bidyādāyinī[n]
Namāmi tbaṃ[o]
Namāmi kamalām
Amalāṃ atulām,
Sujalāṃ suphalām
Mātaram

Bande[p] Mātaram
Śyāmalām saralām
Susmitām bhūṣitām
Dharanīṃ bharanīṃ
Mātaram.

वन्दे मातरम्
सुजलां सुफलाम्
मलयजशीतलाम्
शस्यश्यामलाम्
मातरम्।

शुभ्रज्योत्स्नापुलकितयामिनीम्
फुल्लकुसुमितद्रुमदलशोभिनीम्
सुहासिनीं सुमधुर भाषिणीम्
सुखदां वरदां मातरम्॥

सप्त-कोटि-कण्ठ-कल-कल-निनाद-कराले
द्विसप्त-कोटि-भुजैर्धृत-खरकरवाले,
अवला केन मा एत वले
वहुवलधारिणीं
नमामि तारिणीं
रिपुदलवारिणीं
मातरम्॥

तुमि विद्या, तुमि धर्म
तुमि हृदि, तुमि मर्म
त्वम् हि प्राणा: शरीरे
बाहुते तुमि मा शक्ति,
हृदये तुमि मा भक्ति,
तोमारई प्रतिमा गडी मन्दिरे-मन्दिरे॥

त्वम् हि दुर्गा दशप्रहरणधारिणी
कमला कमलदलविहारिणी
वाणी विद्यादायिनी,
नमामि त्वाम्
नमामि कमलाम्
अमलां अतुलाम्
सुजलां सुफलाम्
मातरम्॥

वन्दे मातरम्
श्यामलाम् सरलाम्
सुस्मिताम् भूषिताम्
धरणीं भरणीं
मातरम्॥

คำแปล

[แก้]

ดูเพิ่ม

[แก้]

หมายเหตุ

[แก้]
  1. บางครั้งถอดความเป็น ধর্ম
  2. บางครั้งถอดความเป็น মর্ম
  3. ทับศัพท์ภาษาสันสกฤต "Vande"
  4. สันสกฤต
     "varadāṃ"
  5. ทับศัพท์ภาษาสันสกฤต "Dvisaptakoṭībhujaidhṛtakharakaravāle"
  6. ทับศัพท์ภาษาสันสกฤต "Avalā"
  7. ทับศัพท์ภาษาสันสกฤต "vale"
  8. ทับศัพท์ภาษาสันสกฤต "Vahuvaladhārinīṃ"
  9. ทับศัพท์ภาษาสันสกฤต "Ripudalavārinī"
  10. ทับศัพท์ภาษาสันสกฤต "vidyā"
  11. ทับศัพท์ภาษาสันสกฤต "Tvaṃ"
  12. ทับศัพท์ภาษาสันสกฤต "Tvaṃ"
  13. ทับศัพท์ภาษาสันสกฤต "Vānī"
  14. ทับศัพท์ภาษาสันสกฤต "vidyādāẏinī"
  15. ทับศัพท์ภาษาสันสกฤต "tvaṃ"
  16. ทับศัพท์ภาษาสันสกฤต "Vande"

อ้างอิง

[แก้]
  1. "National Identity Elements - National Song - Know India: National Portal of India".
  2. "Vande Mataram". www.mustrad.org.uk. สืบค้นเมื่อ 2021-09-03.
  3. "National Identity Elements - National Song - Know India: National Portal of India". knowindia.gov.in. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 18 August 2017. สืบค้นเมื่อ 2021-07-24.
  4. Staff Reporter (2017-07-14). "Vande Mataram was in Sanskrit, AG clarifies". The Hindu (ภาษาIndian English). ISSN 0971-751X. สืบค้นเมื่อ 2021-07-24.
  5. Sabyasachi Bhattacharya (2003). Bande Mataram, the Biography of a Song. Penguin. pp. 1–8, 73–76, 90–99. ISBN 978-0-14-303055-3.
  6. 6.0 6.1 "National Song of India". Government of India. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 15 January 2013. สืบค้นเมื่อ 29 April 2008.
  7. "National Song". knowindia.gov.in. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 18 August 2017.
  8. 8.0 8.1 Diana L. Eck (2012). India: A Sacred Geography. New York: Random House (Harmony Books). pp. 95–97. ISBN 978-0-385-53190-0.
  9. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ gandhi1939vm
  10. Sabyasachi Bhattacharya (2003). Bande Mataram, the Biography of a Song. Penguin Books. pp. 17–24. ISBN 978-0-14-303055-3.
  11. S. K. BOSE (2015). Bankim Chandra Chatterji. Publications Division Ministry of Information & Broadcasting. pp. 88–92. ISBN 978-81-230-2269-7.
  12. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Chatterji2005p71
  13. Aurobindo Mazumdar (2007). Bande Mataram and Islam. Mittal Publications. pp. 18–22, 30–31. ISBN 978-81-8324-159-5.
  14. "National Symbols | National Portal of India". สืบค้นเมื่อ 23 January 2020.
  15. "HC dismisses plea to declare 'Vande Mataram' as national anthem or song". The Indian Express (ภาษาIndian English). 2019-07-27. สืบค้นเมื่อ 2019-11-01.
  16. "No concept of National Song in Constitution, says SC". Hindustan Times (ภาษาอังกฤษ). 2017-02-17. สืบค้นเมื่อ 2019-11-01.
  17. "Jana Gana & Vande Mataram 'stand on same level': Govt in HC". Times of India (ภาษาอังกฤษ). 2022-11-07. สืบค้นเมื่อ 2022-11-07.
  18. Sabyasachi Bhattacharya (2003). Bande Mataram, the Biography of a Song. Penguin Books. pp. 34–37, 81. ISBN 978-0-14-303055-3.
  19. Sumathi Ramaswamy (2009). The Goddess and the Nation: Mapping Mother India. Duke University Press. pp. 125–142. ISBN 978-0-8223-9153-1.
  20. "No rules on singing, playing of 'Bande Mataram': Government". The Times of India. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 12 February 2017. สืบค้นเมื่อ 2017-02-12.
  21. "Punjab Leader Says Won't Chant 'Bharat Mata Ki Jai' Slogan as Sikhs Don't Worship Women". 23 March 2016.
  22. "Vande Mataram in Bengali script". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2 October 2011. สืบค้นเมื่อ 1 August 2011.
  23. "Vande Mataram in Romanized Sanskrit". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2 October 2011. สืบค้นเมื่อ 31 July 2011.
  • Sabyasachi Bhattacharya, Vande Mataram: The Biography of a Song, Penguin Books, 2003, ISBN 978-0-14-303055-3.

อ่านเพิ่ม

[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]

เสียง

Debate