ข้ามไปเนื้อหา

สันนิบาตอาหรับ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
สันนิบาตรัฐอาหรับ

جامعة الدول العربية
ธงชาติสันนิบาตอาหรับ
ธงชาติ
ตราของสันนิบาตอาหรับ
ตรา
รัฐสมาชิกอยู่ในสีเขียวเข้ม; รัฐสมาชิกที่ถูกระงับอยู่ในสีเขียวอ่อน
รัฐสมาชิกอยู่ในสีเขียวเข้ม; รัฐสมาชิกที่ถูกระงับอยู่ในสีเขียวอ่อน
ศูนย์บริหารไคโร ประเทศอียิปต์
ภาษาราชการ
เดมะนิมชาวอาหรับ
ประเภทองค์กรระดับภูมิภาค
สมาชิก
ผู้นำ
อะห์มัด อะบูลฆ็อยฏ์
อะลี อัดดักบาซี
 ซูดาน
สภานิติบัญญัติรัฐสภาอาหรับ
ก่อตั้ง
22 มีนาคม ค.ศ. 1945
พื้นที่
• พื้นที่รวม
13,132,327 ตารางกิโลเมตร (5,070,420 ตารางไมล์) (ที่ 2)
ประชากร
• 2018 ประมาณ
406,700,000[1] (ที่ 3)
27.17 ต่อตารางกิโลเมตร (70.4 ต่อตารางไมล์)
จีดีพี (ราคาตลาด) 2021 (ประมาณ)
• รวม
2.7 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ[2] (ที่ 8)
6,600 ดอลลาร์สหรัฐ
สกุลเงิน
เขตเวลาUTC+0 ถึง +4
เว็บไซต์
www.leagueofarabstates.net
  1. ตั้งแต่ ค.ศ.1979 ถึง 1989 ที่ตูนิส ประเทศตูนิเซีย
  2. สาธารณรัฐอาหรับซีเรียถูกระงับ

สันนิบาตอาหรับ (อาหรับ: الجامعة العربية; อังกฤษ: Arab League) มีชื่อทางการว่า สันนิบาตรัฐอาหรับ (جامعة الدول العربية; League of Arab States) คือองค์การภูมิภาคในโลกอาหรับ ซึ่งกินขอบเขตของแอฟริกาเหนือ แอฟริกาตะวันตก แอฟริกาตะวันออก และเอเชียตะวันตก สันนิบาตอาหรับได้รับการจัดตั้งขึ้นที่ไคโรเมื่อวันที่ 22 มีนาคม ค.ศ. 1945 โดยมีสมาชิกแรกเริ่ม 6 ประเทศ: อียิปต์, อิรัก, ทรานส์จอร์แดน (เปลี่ยนชื่อเป็นจอร์แดนใน ค.ศ. 1949), เลบานอน, ซาอุดีอาระเบีย และซีเรีย[3] ปัจจุบัน สันนิบาตมีสมาชิก 22 ประเทศ

เป้าหมายหลักของสันนิบาตคือ "กระชับความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมาชิกให้แน่นแฟ้นยิ่งขึ้นและประสานความร่วมมือระหว่างกัน เพื่อปกป้องเอกราชและอธิปไตย และพิจารณากิจการและผลประโยชน์ของประเทศอาหรับในแนวทางทั่วไป"[4] แต่องค์กรได้รับความร่วมมือในระดับค่อนข้างต่ำมาตลอดทั้งประวัติศาสตร์[5]

สมาชิก

[แก้]

ตนแรกเริ่มใน ค.ศ. 1945 มีสมาชิกเพียง 6 ประเทศ โดยมีสมาชิกเพิ่มขึ้นในช่วงครึ่งหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 20 ข้อมูลเมื่อ 2020 มีรัฐสมาชิกถึง 22 ประเทศ:

และ 6 รัฐสังเกตการณ์ (หมายเหตุ: รัฐสังเกตการณ์ข้างล่างได้รับเชิญเข้าร่วมการประชุมของสันนิบาติอาหรับ แต่ไม่มีสิทธิลงคะแนน):

อ้างอิง

[แก้]
  1. "World Population Prospects - Population Division - United Nations". population.un.org.
  2. "Report for Selected Countries and Subjects". IMF.
  3. "Arab League". The Columbia Encyclopedia. 2013.
  4. "Pact of the League of Arab States, 22 March 1945". The Avalon Project. Yale Law School. 1998. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 25 July 2008. สืบค้นเมื่อ 15 July 2012.
  5. Barnett, Michael; Solingen, Etel (2007), Johnston, Alastair Iain; Acharya, Amitav (บ.ก.), "Designed to fail or failure of design? The origins and legacy of the Arab League", Crafting Cooperation: Regional International Institutions in Comparative Perspective, Cambridge University Press, pp. 180–220, doi:10.1017/cbo9780511491436.006, ISBN 978-0-521-69942-6
  6. "Armenia invited as observer for Arab League". Azad Hye. 19 January 2005. สืบค้นเมื่อ 20 May 2014.
  7. "Brazil must be a facilitator in the Middle East, says VP". Brazil-Arab News Agency. 14 August 2019. สืบค้นเมื่อ 10 April 2020.
  8. "Nile dam still raging, despite global pause for COVID-19". The Africa Report. 8 April 2020.
  9. "India and the Arab League: Walking the Trade Talk". thediplomat.com. 21 December 2014.
  10. "Arab League Fast Facts". CNN.com. 30 July 2013.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]