นาคปุระ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
นาคปุระ
เรียงจากด้านบนตามเข็มนาฬิกา: สวามีนารายันมนเทียร, ส้มนาคปุระ, สนามกีฬาสมาคมคริกเก็ตวิทรภะ, มุมมองเมืองของนาคปุระ, พิธีคเณศวิสรชันที่นาคปุระ
สมญา: 
เมืองแห่งส้ม,[1]
หัวใจของอินเดีย[2] เมืองหลวงแห่งเสือของอินเดีย
นาคปุระตั้งอยู่ในรัฐมหาราษฏระ
นาคปุระ
นาคปุระ
สถานที่ตั้งของเมืองนาคปุระในรัฐมหาราษฏระ
พิกัด: 21°9′N 79°5′E / 21.150°N 79.083°E / 21.150; 79.083พิกัดภูมิศาสตร์: 21°9′N 79°5′E / 21.150°N 79.083°E / 21.150; 79.083
ประเทศ อินเดีย
รัฐรัฐมหาราษฏระ
ภูมิภาคVidarbha
อำเภอนาคปุระ
ก่อตั้ง1702[3]
ผู้ก่อตั้งGond King Bakht Buland Shah
การปกครอง
 • ประเภทMayor–Council
 • องค์กรNagpur Municipal Corporation
Nagpur Improvement Trust
Nagpur Metropolitan Region Development Authority Nagpur smart and sustainable city development corporation Ltd.
 • MPNitin Gadkari[4] (BJP)
 • นายกเทศมนตรีNanda Jichkar[5] (BJP)
 • CollectorAshwin Mudgal[6] (IAS)
 • Municipal CommissionerVirendra Singh[7] (IAS)
 • Police CommissionerB. K. Upadhyay[8] (IPS)
พื้นที่[9]
 • นครนาคปุระ227.36 ตร.กม. (87.78 ตร.ไมล์)
ความสูง310 เมตร (1,020 ฟุต)
ประชากร
 (2011)[9]
 • นครนาคปุระ2,405,665 คน
 • อันดับประเทศอินเดีย: ที่ 13
รัฐมหาราษฏระ : ที่ 3
ภูมิภาค Vidarbha: ที่ 1
 • ความหนาแน่น11,000 คน/ตร.กม. (27,000 คน/ตร.ไมล์)
 • รวมปริมณฑล2,497,870 คน
 • อันดับรวมปริมณฑลที่ 13
เดมะนิมNagpurkar, Nagpurian, Nagpurite
เขตเวลาUTC+5:30 (IST)
Pin code440 001 – 440 037[10]
รหัสโทรศัพท์+91-712
ทะเบียนพาหนะMH31 (Nagpur West)
MH49 (Nagpur North)
MH40 (Nagpur Rural)
ภาษาทางการภาษามราฐี
UN/LOCODEIN NAG
HDIสูงมาก[11]
เว็บไซต์www.nagpur.gov.in
www.nmcnagpur.gov.in
www.nitnagpur.org
www.nmrda.org
www.nagpurpolice.gov.in

นาคปุระ (มราฐี: नागपूर) เป็นเมืองใหญ่เป็นอันดับ 3 และเป็นเมืองหลวงฤดูหนาวของรัฐมหาราษฏระ ประเทศอินเดีย[12] เป็นเมืองที่มีประชากรมากเป็นอันดับ 13 ของอินเดีย[13] จากรายงานเศรษฐศาสตร์ออกซฟอร์ด เมืองนาคปุระเป็นเมืองที่เจริญเติบโตเร็วที่สุดอันดับ 5 ของโลกระหว่างปี 2019-2035 โดยมีค่าเฉลี่ยการเจริญเติบโต 8.41%[14]

จากการสำรวจของ เอบีซีนิวส์-อิปซอส เมืองนาคปุระถือเป็นเมืองที่ดีที่สุดของอินเดียในด้านความเป็นอยู่ที่ดี พื้นที่สีเขียว ระบบขนส่งสาธารณะ และบริการทางด้านสุขภาพ จากดัชนีในปี 2013[15][16][17] ยังถือว่าเป็นเมืองที่สะอาดเป็นอันดับ 20 ของอินเดีย และขึ้นอันดับสูงสุดในฝั่งตะวันตก จากการสำรวจของ Swachh Sarvekshan เมื่อปี 2016[18] เมืองยังได้รับรางวัลเมืองดีที่สุดในแง่นวัตกรรมและปฏิบัติที่เป็นเลิศในการสำรวจของ Swachh Sarvekshan ในปี 2018[19]

อ้างอิง[แก้]

  1. "Nagpur is now Orange City, officially". สืบค้นเมื่อ 25 November 2016.
  2. Choudhari, Abhishek (7 March 2013). "Nagpur as the heart of India". The Times of India.
  3. "Scrap dealer holds key to entry into Bakht Buland Shah's grave – Times of India". สืบค้นเมื่อ 25 November 2016.
  4. "Lok Sabha". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 15 กรกฎาคม 2015. สืบค้นเมื่อ 27 กรกฎาคม 2015.
  5. India, Press Trust of (5 September 2014). "BJP's Praveen Datke elected Nagpur Mayor". สืบค้นเมื่อ 25 November 2016 – โดยทาง Business Standard.
  6. "Welcome to Collector Office Nagpur". สืบค้นเมื่อ 17 May 2018.
  7. "Virendra Singh to be New Nagpur Municipal Commissioner". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-03-31. สืบค้นเมื่อ 2019-02-27.
  8. "Nagpur Police Official Site". nagpurpolice.gov.in. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-07-31. สืบค้นเมื่อ 2018-08-01.
  9. 9.0 9.1 "District Census Handbook – Nagpur" (PDF). Census of India. p. 10,28. สืบค้นเมื่อ 7 February 2016.
  10. "Pincodes of Nagpur City". Pincode.nagpuronline.in. สืบค้นเมื่อ 2017-02-25.
  11. "Economic Survey of Maharashtra 2014–15" (PDF). Maharashtra.gov.in. สืบค้นเมื่อ 2017-02-25.
  12. "Maharashtra Population Sex Ratio in Maharashtra Literacy rate data". Census2011.co.in. สืบค้นเมื่อ 25 November 2016.
  13. "India's 100 Biggest Cities, Largest Cities in India". สืบค้นเมื่อ 14 August 2017.
  14. https://timesofindia.indiatimes.com/india/17-of-20-fastest-growing-cities-in-the-world-will-be-from-india/articleshow/66978406.cms
  15. "Nagpur tops in 4 categories, bags ABP News Best City for the year 2013 but lost the position to Delhi and Mumbai later in year 2014 and 2015". ABP News Bureau. Newsbullet.in. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 9 มีนาคม 2013. สืบค้นเมื่อ 9 มีนาคม 2013.
  16. "List of winners at ABP News Best City Awards". ABP News Bureau. Newsbullet.in. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 มีนาคม 2013. สืบค้นเมื่อ 9 มีนาคม 2013.
  17. "Best City Award goes to Nagpur". ABP News Bureau. Newsbullet.in. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 มีนาคม 2013. สืบค้นเมื่อ 9 มีนาคม 2013.
  18. "Nagpur is among top 20 clean cities". Thehitavada.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-12-30. สืบค้นเมื่อ 25 November 2016.
  19. https://timesofindia.indiatimes.com/city/nagpur/nagpur-best-in-innovation-best-practicesapos/articleshow/64196453.cms