ภาษากัศมีร์
ไปยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา
ภาษากัศมีร์ | |
---|---|
कॉशुर کٲشُر เกอศูร์ | |
ออกเสียง | kạ̄šur |
ประเทศที่มีการพูด | อินเดีย (เดลฮี, รัฐชัมมูและกัศมีร์, รัฐปัญจาบ, รัฐอุตรประเทศ); ปากีสถาน (อาซัด กัศมีร์) [1] |
ภูมิภาค | เอเชียใต้ |
จำนวนผู้พูด | 7.1 ล้านคน[2] (ไม่พบวันที่) |
ตระกูลภาษา | |
ระบบการเขียน | อักษรอาหรับแบบเปอร์เซีย, อักษรเทวนาครี |
สถานภาพทางการ | |
ภาษาทางการ | ![]() |
รหัสภาษา | |
ISO 639-1 | ks |
ISO 639-2 | kas |
ISO 639-3 | kas |
ภาษากัศมีร์ หรือ ภาษาแคชเมียร์ เป็นภาษากลุ่มดาร์ดิก ใช้พูดในดินแดนกัศมีร์ จัดอยู่ในตระกูลอินโด-ยุเปียน สาขาอินโด-อารยัน เรียงประโยคแบบประธาน-กริยา-กรรม ในยุคแรกเขียนด้วยอักษรศารทา แล้วเปลี่ยนเป็นอักษรอาหรับแบบเปอร์เซียภายหลัง วรรณกรรมภาษากัศมีร์มีมาก แต่ไม่ได้รับการสืบทอด ผู้พูดภาษานี้ก็ลดจำนวนลง ภาษานี้เพิ่งได้รับการยอมรับให้เป็นภาษาราชการและมีการสอนในโรงเรียนได้ไม่นาน นิตยสารและหนังสือพิมพ์ภาษากัศมีร์มีเพียงฉบับเดียว
เสียง[แก้]
เสียงพยัญชนะ[แก้]
![]() | ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
เสียงสระ[แก้]
Front | Central | Back | |
---|---|---|---|
High | [i]/[i:] | [ɨ]/[ɨ:] | [u]/[u:] |
Upper Mid | [e]/[e:] | [ə] / [əː] | [o]/[o:] |
Low | [a] / [aː] | [ɔ] |