วันหยุดในประเทศอินเดีย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ประเทศอินเดียถือว่าเป็นประเทศหนึ่งที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรมสูง และมีการเฉลิมฉลองเทศกาลและวันหยุดต่าง ๆ อย่างหลากหลาย อย่างไรก็ตามในประเทศอินเดียมีวันหยุดราชการ (national holidays) แค่สามวันเท่านั้น คือ วันสาธารณรัฐ 26 มกราคม, วันเอกราช 15 สิงหาคม และ คานธีชยันตี 2 ตุลาคม[1][2]

รัฐแต่ละรัฐจะมีเทศกาลท้องถิ่นที่แตกต่างกันไปตามศาสนาและภาษาหลักของรัฐนั้น ๆ เทศกาลฮินดูที่เป็นที่นิยมสูง เช่น มกรสังกรานติ, โปงคัล, มหาศิวาราตรี, โอนัม, กฤษณชนมาษฏมี, สรัสวตีบูชา, ทีปาวลี, คเณศจตุรถี, รักษพันธัน, โหลี, ทุรคาบูชา, นวราตรี ส่วนเทศกาลของศาสนาเชน เช่น มหาวีรชนมกัลยานัก และ ปรรยุษาณ เทศกาลของศาสนาซิกข์ เช่น คุรุนานักชยันตี และ วิสาขี เทศกาลมุสลิม เช่น อีดิลฟิฏร์, อีดุลอัฎหา, เมาลิด, มุฮัรรอม เทศกาลในศาสนาพุทธ เช่น อามเพฑกรชยันตี, พุทธชยันตี, วันธรรมจักรปรวรรตัน และ โลซาร์ เทศกาลโซโรอัสเตอร์ปาร์ซี เช่น โนวรูซ และเทศกาลคริสต์ เช่น คริสต์มาส กับ ปัสกา เช่นเดียวกับวันหยุดสังเกตการณ์ เช่นวันศุกร์ศักดิ์สิทธิ์

วันหยุดราชการ[แก้]

วันหยุดราชากร (National holidays) นั้นเป็นวันหยุดที่ปฏิบัติตามในทุกรัฐและยูที ประเทศอินเดียมีวันชาติอยู่ด้วยกันสามวันดังต่อไปนี้

วันที่ ชื่อ ฉลองซึ่ง
26 มกราคม วันสาธารณรัฐ (Republic Day) การประกาศใช้รัฐธรรมนูญอินเดีย[3] (1950)
15 สิงหาคม วันเอกราช (Independence Day) เอกราชจากจักรวรรดิบริเตน (ค.ศ. 1947)
2 ตุลาคม คานธีชยันตี (Gandhi Jayanti) วันเกิดของมหาตมะ คานธี (ค.ศ. 1869)

วันหยุดทางศาสนา[แก้]

วันหยุดฮินดู[แก้]

รายการต่อไปนี้เป็นเทศกาลฮินดูที่มีการเฉลิมฉลองกันทั่วไป และ/หรือได้รับประกาศเป็นวันหยุดราชการในบางรัฐหรือยูทีของอินเดีย

เทศกาล เป็นวันหยุดใน
โภคี (Bhogi)/โลหรี (Lohri) อานธรประเทศ, เตลังคานา, ทมิฬนาฑู, มหาราษฏระ (ในชื่อโภคี), ปัญจาบ (ในชื่อโลหรี)
มกรสังกรานติ (Makar Sankranti)/มฆี (Maghi)/มัฆพิหุ (Magh Bihu)/โปงกัล (Pongal) หมู่เกาะอันดามันและนิโคบาร์, อรุณาจัลประเทศ, อัสสัม (as Magh Bihu), คุชราต (as Uttarayan), กรณาฏกะ, โอริศา, อุตตรประเทศ, มหาราษฏระ, อานธรประเทศ, เตลังคานา, พิหาร, เบงกอลตะวันตก (as Makar Sankranti), ปัญจาบ, หรยาณา, หิมาจัลประเทศ (as Maghi), ราชสถาน (as Makar Sankranti), Pongal / Tamilar Thirunaal (ทมิฬนาฑู)
วิษุ (Vishu) เกรละ, ทมิฬนาฑู
วสันตปัญจมี (Vasant Panchami) หรือ สรัสวตีบูชา (Saraswati Puja) เตลังคานา, โอริศา, ตริปุระ, เบงกอลตะวันตก, พิหาร, อุตตรประเทศ, มหาราษฏระ
รัถสัปตมี (Ratha Saptami) มหาราษฏระ, กัว, อานธรประเทศ, เตลังคานา, กรณาฏกะ
มหาศิวราตรี (Maha Shivaratri) อานธรประเทศ, อัสสัม, จัณฑีครห์, พิหาร, ฉัตตีสครห์, คุชราต, หรยาณา, หิมาจัลประเทศ, ปัญจาบ, ชัมมูและกัศมีร์, กรณาฏกะ, เกรละ, มัธยประเทศ, มหาราษฏระ, มณีปุระ, โอริศา, ราชสถาน, อุตตราขัณฑ์, อุตตรประเทศ, เตลังคานา, ทมิฬนาฑู, เบงกอลตะวันตก
โหลี ทุกรัฐและยูที ยกเว้น เกรละ, นาคาแลนด์, มิโซรัม, กัว, ปูดูเชร์รี, ทมิฬนาฑู และบังกาลอร์
ธุลีวันทัน (Dhulivandan) มหาราษฏระ[4]
กุทิปัทวะ (Gudi Padwa)/อุคที (Ugadi)/ปุธันทุ (Puthandu) มหาราษฏระ, กัว, อานธรประเทศ, เตลังคานา, กรณาฏกะ, ปูดูเชร์รี, ทมิฬนาฑู
รามนวมี (Ram Navami) มหาราษฏระ, กรณาฏกะ, เกรละ, อานธรประเทศ, อัสสัม, พิหาร, จัณฑีครห์, เดลี, คุชราต, หรยาณา, หิมาจัลประเทศ, ชัมมูและกัศมีร์, มัธยประเทศ, โอริศา, ปัญจาบ, ราชสถาน, เตลังคานา, อุตตราขัณฑ์, อุตตรประเทศ, เบงกอลตะวันตก
หนุมานชยันตี (Hanuman Jayanti) มหาราษฏระ, โอริศา, กรณาฏกะ, อุตตรประเทศ (as Bada Mangal), อานธรประเทศ และเตลังคานา.
อักษัยตรีติยะ (Akshaya Tritiya)/ปราษุราม (Parashurama) มหาราษฏระ, กัว, อานธรประเทศ, กรณาฏกะ, เกรละ, เตลังคานา, ทมิฬนาฑู, อุตตรประเทศ
รถยาตร (Rath Yatra) โอริศา, คุชราต
นาคปัญชมี (Nag Panchami) ทุกรัฐและยูที ยกเว้น กัว
รักษพันธัน (Raksha Bandhan) อานธรประเทศ, กรณาฏกะ, คุชราต, มัธยประเทศ, เบงกอลตะวันตก, ราชสถาน, อุตตราขัณฑ์, อุตตรประเทศ, ฌารขัณฑ์, พิหาร, หรยาณา, โอริศา, ปัญจาบ, มหาราษฏระ, เตลังคานา
กฤษณะชันมาษฏมี (Krishna Janmashtami) อานธรประเทศ, อัสสัม, พิหาร, จัณฑีครห์, เดลี, คุชราต, หรยาณา, หิมาจัลประเทศ, ชัมมูและกัศมีร์, กรณาฏกะ, เกรละ, มัธยประเทศ, โอริศา, ปัญจาบ, ราชสถาน, ทมิฬนาฑู, อุตตราขัณฑ์, อุตตรประเทศ, มหาราษฏระ, เตลังคานา, เบงกอลตะวันตก
คเณศจตุรถี (Ganesh Chaturthi) อานธรประเทศ, กัว, คุชราต, มัธยประเทศ, มหาราษฏระ, เตลังคานา, โอริศา, ปูดูเชร์รี, ทมิฬนาฑู, กรณาฏกะ, ราชสถาน, ฉัตตีสครห์, พิหาร, อุตตรประเทศ, ปัญจาบ
ราชประพา (Raja Parba) โอริศา
มหาลยะ (Mahalaya) กรณาฏกะ, เบงกอลตะวันตก, อัสสัม, โอริศา
นวราตรี (Navratri)/ทุรคาบูชา (Durga Puja) ทุกรัฐและยูที (2 วัน - อานธรประเทศ, หลัก ๆ ใน เตลังคานา (ต่อจาก Bathukamma), พิหาร, เกรละ, นาคาแลนด์, สิกขิม, ทมิฬนาฑู, มหาราษฏระ, กรณาฏกะ, อุตตราขัณฑ์ และอุตตรประเทศ; 3 วัน - โอริศา, อัสสัม, มัธยประเทศ, เมฆาลัย, ทมิฬนาฑู และ ตริปุระ 6 วัน - in เบงกอลตะวันตก; วันที่ 11: Bhashani Utchhav - โอริศา)
กุมารปุรนิมา (Kumara Purnima) มหาราษฏระ, มัธยประเทศ, โอริศา, ราชสถาน, อุตตรประเทศ, ฉัตตีสครห์, เบงกอลตะวันตก
ทีปาวลี (Diwali) ทุกรัฐและยูที (2 วัน - อัสสัม, เบงกอลตะวันตก, กรณาฏกะ และโอริศา; 5 วัน - คุชราต, มัธยประเทศ, ราชสถาน, อุตตราขัณฑ์ และ อุตตรประเทศ และ เดลี; 6 วัน - มหาราษฏระ)
Vasu Baras – มหาราษฏระ
ธันเตรัส (Dhan Teras) – มหาราษฏระ, คุชราต, อุตตรประเทศ, มัธยประเทศ, พิหาร
นรกจตุรทาษี – ทุกรัฐ ยกเว้น ทมิฬนาฑู
ลักษมีบูชา (Lakshmi Puja) – อุตตรประเทศ, มหาราษฏระ, โอริศา, พิหาร, ฌารขัณฑ์, ปัญจาบ, อัสสัม, มัธยประเทศ, เมฆาลัย, เบงกอลตะวันตก และ ตริปุระ, เตลังคานา
พาลีปรฏิปฑา, โควรรธนปูชา– ทุกรัฐ ยกเว้น ทมิฬนาฑู
ภาอีดูช (Aka, ภาวพีช, ยมทวิติยะ, ภาอีโฝตา) มหาราษฏระ, กัว, อุตตราขัณฑ์, อุตตรประเทศ, เบงกอลตะวันตก, มัธยประเทศ, พิหาร, ปัญจาบ.
เทวัตฐานเอกทาศี (Devotthan Ekadashi) อุตตราขัณฑ์, อุตตรประเทศ, พิหาร และบางส่วนของ ราชสถาน และ มัธยประเทศ
หรตลิกตีช (Hartalika Teej) มหาราษฏระ, พิหาร, มัธยประเทศ, ราชสถาน, อุตตรประเทศ
ชคัทธาตริปูชา เบงกอลตะวันตก
วิศวกรรมบูชา (Vishwakarma Puja) โอริศา, พิหาร, เบงกอลตะวันตก.
นาวขาอี โอริศา
ฉัถบูชา (Chhath Puja) พิหาร, ฌารขัณฑ์, อุตตรประเทศ, ปัญจาบ
พฐุกัมมะ เตลังคานา
โบนาลู เตลังคานา

วันหยุดอิสลาม[แก้]

วันหยุดซิกข์[แก้]

เทศกาล เป็นวันหยุดใน
คุรุโควินทสิงห์คุรปุรับ พิหาร, จัณฑีครห์, หิมาจัลประเทศ, ปัญจาบ, หรยาณา
การสละชีพเพื่อศาสนาซิกข์ของคุรุอรชุน ปัญจาบ
วิสาขี หมู่เกาะอันดามันและนิโคบาร์, อัสสัม, จัณฑีครห์, ฉัตตีสครห์, เดลี, คุชราต, หิมาจัลประเทศ, ชัมมูและกัศมีร์, มัธยประเทศ, มหาราษฏระ, นาคาแลนด์, ปัญจาบ, ราชสถาน, อุตตราขัณฑ์, อุตตรประเทศ, เบงกอลตะวันตก
คุรุนานักคุรปุรับ หมู่เกาะอันดามันและนิโคบาร์, อัสสัม, พิหาร, จัณฑีครห์, ฉัตตีสครห์, เดลี, คุชราต, หิมาจัลประเทศ, ชัมมูและกัศมีร์, มัธยประเทศ, มหาราษฏระ, นาคาแลนด์, ปัญจาบ, หรยาณา, ราชสถาน, อุตตราขัณฑ์, อุตตรประเทศ, เบงกอลตะวันตก, โอริศา, มิโซรัม, อรุณาจัลประเทศ และ ฌารขัณฑ์, ทมิฬนาฑู

วันหยุดคริสต์[แก้]

เทศกาล เป็นวันหยุดใน
วันปีใหม่ ทุกรัฐและยูที
วันอาทิตย์ใบลาน ทุกรัฐและยูที
Maundy Thursday เมฆาลัย, มิโซรัม และกัว
วันศุกร์ศักดิ์สิทธิ์ ทุกรัฐและยูที
อีสเตอร์ ทุกรัฐและยูที
วันเปนเตกอสเต ทุกรัฐและยูที
วันฉลองนักบุญโธมัสอัครทูต เกรละ
วันฉลองนักบุญเทเรซาแห่กัลกัตตา เบงกอลตะวันตก
วันฉลองพระนางมารีย์พรหมจารี กัว และบางส่วนของกรณาฏกะ
All Saints Day กรณาฏกะ
All Souls Day มิโซรัม
วันฉลองนักบุญฟรังซิส ซาเวียร์ กัว
คริสต์มาส ทุกรัฐและยูที
วันเปิดกล่องของขวัญ เตลังคานา
วันฉลองครอบครัวศักดิ์สิทธิ์ เมฆาลัย

วันหยุดพุทธ[แก้]

วันหยุดปาร์ซี (โซโรอัสเตอร์)[แก้]

วันหยุดรวิทาส[แก้]

วันหยุดอัยยาวญี (Ayyavazhi)[แก้]

วันหยุดพื้นเมือง[แก้]

วันที่ วันหยุด เป็นวันหยุดใน
1 มกราคม วันปีใหม่ ส่วนใหญ่ของอินเดีย
13–17 มกราคม Pongal ปูดูเชร์รี, ทมิฬนาฑู
14 มกราคม Uttarayan คุชราต
23 มกราคม สุภาส จันทร โภส ชยันตี โอริศา, ตริปุระ, เบงกอลตะวันตก, ฌารขัณฑ์, อัสสัม
สิงหาคม-กันยายน Onam เกรละ, ปูดูเชร์รี
19 กุมภาพันธ์ ฉัตรปตีศิวาจีมหาราชชยันตี มหาราษฏระ
20 กุมภาพันธ์ อรุณาจัลประเทศ

(statehood day)

วันแรกของ Chithirai, มีนาคม/เมษายน Vishu / Varusha Pirappu หรือ Puthandu
(วันปีใหม่มลยลี (Malayali) และทมิฬ)
เกรละ, ทมิฬนาฑู
วันที่สองของ Chaitra, มีนาคม/เมษายน Cheti Chand
(วันปีใหม่สินธุ์)
คุชราต, อุตตรประเทศ, มหาราษฏระ, ราชสถาน, เดลี, มัธยประเทศ, ฉัตตีสครห์
15 March Kanshi Ram's Jayanti อุตตรประเทศ
22 March วันพิหาร (พิหาร Day) พิหาร
30 March วันราชสถาน (ราชสถาน Day) ราชสถาน
1 April Utkala Dibasa
(วันโอริษา)
โอริศา
14 April อามเภฑกรชยันตี อานธรประเทศ, พิหาร, จัณฑีครห์, คุชราต, หรยาณา, ชัมมูและกัศมีร์, กรณาฏกะ, เกรละ, มหาราษฏระ, โอริศา, ปูดูเชร์รี, ทมิฬนาฑู, เตลังคานา, อุตตราขัณฑ์, อุตตรประเทศ, เบงกอลตะวันตก
14/15 April Puthandu
(วันปีใหม่ทมิฬ)
ทมิฬนาฑู
14/15 April Pohela Boishakh
(วันปีใหม่เบงกอล)
ตริปุระ, เบงกอลตะวันตก
15 April Bihu
(วันปีใหม่อัสสัม)
อัสสัม
15 April Maha Vishuva Sankranti / Pana Sankranti
(วันปีใหม่โอเฑีย)
โอริศา
1 May วันแรงงาน[5][6] เตลังคานา, อัสสัม, พิหาร, กัว, กรณาฏกะ, อานธรประเทศ, เกรละ, มณีปุระ, ปูดูเชร์รี, ทมิฬนาฑู, ตริปุระ, เบงกอลตะวันตก, โอริศา, ราชสถาน, ปัญจาบ
1 พฤษภาคม วันมหาราษฏระ มหาราษฏระ
1 พฤษภาคม วันคุชราต คุชราต
9 พฤษภาคม รพินทรชยันตี เบงกอลตะวันตก
16 พฤษภาคม วันผนวกรวม (Annexation Day) สิกขิม
2 มิถุนายน วันก่อตั้งเตลังคานา เตลังคานา
15 มิถุนายน Maharana Pratap Jayanti ราชสถาน
Purnima แห่งพระอัศวิน วาลมีกิชยันตี หรยาณา, เดลี, ปัญจาบ, หิมาจัลประเทศ, กรณาฏกะ
26 ตุลาคม Accession Day ชัมมูและกัศมีร์
31 ตุลาคม Sardar Patel Jayanti คุชราต
1 พฤศจิกายน กรณาฏกะ Rajyotsava กรณาฏกะ
1 พฤศจิกายน วันก่อตั้งรัฐอันธรประเทศ อานธรประเทศ
1 พฤศจิกายน วันก่อตั้งหรยาณา หรยาณา
1 พฤศจิกายน วันก่อตั้งมัธยประเทศ มัธยประเทศ
1 พฤศจิกายน วันก่อตั้งเกรละ เกรละ
1 พฤศจิกายน วันก่อตั้งฉัตตีสครห์ ฉัตตีสครห์
วันที่สามของKartika Krishna Paksha Kanaka Jayanti กรณาฏกะ
7 ธันวาคม Armed Forces Flag Day กองทัพอินเดีย

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. "National holidays". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 15 September 2015. สืบค้นเมื่อ 14 September 2015.
  2. "National and Public holidays". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 12 September 2015. สืบค้นเมื่อ 14 September 2015.
  3. "Introduction to Constitution of India". Ministry of Law and Justice of India. 29 July 2008. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 22 October 2014. สืบค้นเมื่อ 14 October 2008.
  4. "पुढच्या वर्षी सुट्टयांचा पाऊस; १६ लॉन्ग विकेंड-มหาราษฏระ Times". https://มหาราษฏระtimes.indiatimes.com. 2017-11-08. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-10-18. สืบค้นเมื่อ 2019-10-18. {{cite web}}: ตรวจสอบค่า |url= (help)
  5. "Archived copy". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2 May 2014. สืบค้นเมื่อ 1 May 2014.{{cite web}}: CS1 maint: archived copy as title (ลิงก์)
  6. "Archived copy". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2 May 2014. สืบค้นเมื่อ 1 May 2014.{{cite web}}: CS1 maint: archived copy as title (ลิงก์)