ประธานาธิบดีอินเดีย
หน้าตา
ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐอินเดีย | |
---|---|
ภารตเกราษฏรปติ (Bhārat kē Rāṣhṭrapati) | |
การเรียกขาน |
|
จวน |
|
ผู้แต่งตั้ง | คณะผู้เลือกตั้งแห่งอินเดีย |
วาระ | 5 ปี วนได้ |
ตราสารจัดตั้ง | รัฐธรรมนูญอินเดีย |
ตำแหน่งก่อนหน้า | กัฟเวอร์เนอร์เจเนรอล |
ผู้ประเดิมตำแหน่ง | ราเชนทร ปรสัท (1950–1962) |
สถาปนา | 26 มกราคม 1950 |
รอง | รองประธานาธิบดี |
เงินตอบแทน | ₹500,000 (210,000 บาท) (ต่อเดือน)[1] |
เว็บไซต์ | presidentofindia |
ประธานาธิบดีอินเดีย (ไอเอเอสที: Bhārat kē Rāṣhṭrapati ภารตะเกราษฏรปติ) หรือเรียกอย่างเป็นทางการว่า ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐอินเดีย เป็นประมุขของรัฐในทางพิธีการของประเทศอินเดีย และเป็นผู้บัญชาการทหารบกของกองทัพอินเดีย
ประธานาธิบดีได้มาจากการเลือกตั้งทางอ้อมผ่านคณะผู้เลือกตั้งที่ประกอบด้วยรัฐสภาอินเดีย (ทั้งราชยสภา และโลกสภา) กับสภานิติบัญญัติรัฐและดินแดนสหภาพของอินเดียผู้ซึ่งเลือกตั้งมาโดยทางตรง
ถึงแม้ในรัฐธรรมนูญอินเดีย มาตรา 53 ระบุว่าประธานาธิบดีสามารถใช้อำนาจได้โดยตรงหรือผ่านผู้ใต้บังคับบัญชายกเว้นเพียงบางอำนาจเท่านั้น แต่ในทางปฏิบัตินั้นจะใช้อำนาจผ่านทางนายกรัฐมนตรีผ่านความช่วยเหลือของคณะรัฐมนตรี[2]
ดูเพิ่ม
[แก้]- รายชื่อประธานาธิบดีอินเดีย
- รองประธานาธิบดีอินเดีย
- ประธานตุลาการอินเดีย
- นายกรัฐมนตรีอินเดีย
- คู่สมรสของประธานาธิบดีอินเดีย
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "President, Vice President, Governors' salaries hiked to Rs 5 lakh, Rs 4 lakh, Rs 3.5 lakh respectively". Times Now News. Indo-Asian News Service. 1 กุมภาพันธ์ 2018. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2 กุมภาพันธ์ 2018.
- ↑ Constitution of India (PDF). Ministry of Law and Justice, Government of India. 1 ธันวาคม 2007. p. 26. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 9 กันยายน 2014. สืบค้นเมื่อ 27 พฤษภาคม 2013.